คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
จำนง นิยมวิภาต

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 767 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2820/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ฐานะนายจ้างของตัวแทนสัญญาจ้าง-การฟ้องคดีศาลแรงงาน-ความรับผิดตัวแทน
จำเลยเป็นตัวแทนของบริษัท ซ. ซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ต่างประเทศจำเลยได้ทำสัญญาว่าจ้างโจทก์แทนบริษัทดังกล่าวซึ่งเป็นนายจ้างเพื่อส่งโจทก์ไปทำงานที่ต่างประเทศ จำเลยย่อมอยู่ในฐานะเป็นนายจ้างด้วย การที่จำเลยได้รับอนุญาตให้เป็นผู้จัดหาคนงานตามพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2528 หาทำให้ฐานะของจำเลยเปลี่ยนไปโดยไม่เป็นนายจ้างของโจทก์ตามกฎหมายไม่เมื่อบริษัท ซ. ผิดสัญญาไม่สามารถให้จำเลยทำงานต่อไปจนครบกำหนดตามสัญญาและโจทก์มาฟ้องจำเลยซึ่งอยู่ในฐานะเป็นนายจ้างด้วยเพื่อเรียกเงินค่าบริการและค่าใช้จ่ายที่ให้จำเลยไปคืน จึงเป็นคดีพิพาทและหน้าที่ตามสัญญาจ้างแรงงานหรือข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ. 2522 มาตรา 8(1) อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงานกลาง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2747/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การจ้างงาน: การจ่ายเงินเดือนให้ยามรักษาการณ์ของบริษัทที่ถูกยึดทรัพย์ ไม่ถือเป็นการจ้างงาน
คดีมีประเด็นว่าโจทก์เป็นลูกจ้างของจำเลยหรือไม่ ที่โจทก์จำเลยแถลงรับข้อเท็จจริงกันว่า โจทก์ซึ่งเป็นลูกจ้างบริษัท ข. เป็นผู้รักษาทรัพย์สินของบริษัทดังกล่าวเนื่องจากจำเลยนำยึดเพื่อขายทอดตลาดเอาเงินชำระหนี้ และจำเลยได้จ่ายเงินเดือนให้โจทก์เป็นค่ารักษาทรัพย์นั้น เป็นการแถลงรับกันในข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว ซึ่งเป็นข้อเท็จจริงที่เพียงพอจะวินิจฉัยได้แล้วว่า โจทก์เป็นลูกจ้างของจำเลยหรือไม่ แม้โจทก์จะมีพยานมาสืบข้อเท็จจริงอย่างใดก็หาอาจรับฟังนอกเหนือไปจากข้อเท็จจริงที่โจทก์จำเลยแถลงรับกันไม่ ที่ศาลแรงงานกลางสั่งงดสืบพยาน จึงชอบแล้ว
เมื่อเดือนสิงหาคม 2528 จำเลยฟ้องบริษัท ข. ให้ชำระหนี้กรรมการผู้จัดการหลบหนี และบริษัท ข. หยุดกิจการ จำเลยให้โจทก์ซึ่งเป็นยามรักษาการณ์ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป โดยจ่ายเงินเป็นรายเดือนให้ ต่อมาจำเลยนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์ของบริษัท ข. เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2529 เจ้าพนักงานบังคับคดีมอบให้โจทก์เป็นผู้รักษาทรัพย์อีก ดังนี้ จำเลยเพียงแต่ตกลงให้โจทก์รับทำหน้าที่เฉพาะอย่าง คือ การดูแลทรัพย์สินของบริษัท ข. มิให้สูญหายหรือเสียหาย ซึ่งหน้าที่ดังกล่าวไม่ใช่งานของจำเลยโดยตรง ทั้งโจทก์มิได้อยู่ในการบังคับบัญชาของจำเลย เมื่อมีการยึดทรัพย์สินของบริษัท ข. ขายทอดตลาดเจ้าพนักงานบังคับคดีมอบให้โจทก์เป็นผู้รักษาทรัพย์ก็เป็นการมอบตามอำนาจและหน้าที่ แม้จำเลยจะให้เงินเดือนแก่โจทก์จำนวนเดิมก็ตามยังถือไม่ได้ว่าจำเลยได้จ้างโจทก์ โจทก์จึงไม่ใช่ลูกจ้างของจำเลย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2747/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การจ้างงาน: การจ่ายเงินเดือนให้ยามรักษาการณ์ของบริษัทลูกหนี้ ไม่ถือเป็นการจ้างงาน
คดีมีประเด็นว่าโจทก์เป็นลูกจ้างของจำเลยหรือไม่ ที่โจทก์จำเลยแถลงรับข้อเท็จจริงกันว่า โจทก์ซึ่งเป็นลูกจ้างบริษัท ข. เป็นผู้รักษาทรัพย์สินของบริษัทดังกล่าวเนื่องจากจำเลยนำยึดเพื่อขายทอดตลาดเอาเงินชำระหนี้ และจำเลยได้จ่ายเงินเดือนให้โจทก์เป็นค่ารักษาทรัพย์นั้น เป็นการแถลงรับกันในข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว ซึ่งเป็นข้อเท็จจริงที่เพียงพอจะวินิจฉัยได้แล้วว่า โจทก์เป็นลูกจ้างของจำเลยหรือไม่ แม้โจทก์จะมีพยานมาสืบข้อเท็จจริงอย่างใดก็หาอาจรับฟังนอกเหนือไปจากข้อเท็จจริงที่โจทก์จำเลยแถลงรับกันไม่ ที่ศาลแรงงานกลางสั่งงดสืบพยาน จึงชอบแล้ว
เมื่อเดือนสิงหาคม 2528 จำเลยฟ้องบริษัท ข. ให้ชำระหนี้กรรมการผู้จัดการหลบหนี และบริษัท ข. หยุดกิจการ จำเลยให้โจทก์ซึ่งเป็นยามรักษาการณ์ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป โดยจ่ายเงินเป็นรายเดือนให้ ต่อมาจำเลยนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์ของบริษัท ข. เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2529 เจ้าพนักงานบังคับคดีมอบให้โจทก์เป็นผู้รักษาทรัพย์อีก ดังนี้ จำเลยเพียงแต่ตกลงให้โจทก์รับทำหน้าที่เฉพาะอย่าง คือ การดูแลทรัพย์สินของบริษัท ข. มิให้สูญหายหรือเสียหาย ซึ่งหน้าที่ดังกล่าวไม่ใช่งานของจำเลยโดยตรง ทั้งโจทก์มิได้อยู่ในการบังคับบัญชาของจำเลย เมื่อมีการยึดทรัพย์ส่ินของบริษัท ข. ขายทอดตลาดเจ้าพนักงานบังคับคดีมอบให้โจทก์เป็นผู้รักษาทรัพย์ก็เป็นการมอบตามอำนาจและหน้าที่ แม้จำเลยจะให้เงินเดือนแก่โจทก์จำนวนเดิมก็ตามยังถือไม่ได้ว่าจำเลยได้จ้างโจทก์ โจทก์จึงไม่ใช่ลูกจ้างของจำเลย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2747/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การพิสูจน์ความสัมพันธ์นายจ้าง-ลูกจ้าง ต้องพิจารณาจากการกระทำและเจตนา ไม่ใช่แค่การจ่ายเงินเดือน
คดีมีประเด็นว่าโจทก์เป็นลูกจ้างของจำเลยหรือไม่ ที่โจทก์จำเลยแถลงรับข้อเท็จจริงกันว่า โจทก์ซึ่งเป็นลูกจ้างของบริษัท ข.เป็นผู้รักษาทรัพย์สินของบริษัทดังกล่าวเนื่องจากจำเลยนำยึดเพื่อขายทอดตลาดเอาเงินชำระหนี้และจำเลยได้จ่ายเงินเดือนให้โจทก์เป็นค่ารักษาทรัพย์นั้น เป็นการแถลงรับกันในข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว ซึ่งเป็นข้อเท็จจริงที่เพียงพอจะวินิจฉัยได้แล้วว่า โจทก์เป็นลูกจ้างของจำเลยหรือไม่ แม้โจทก์จะมีพยานมาสืบข้อเท็จจริงอย่างใดก็หาอาจรับฟังนอกเหนือไปจากข้อเท็จจริงที่โจทก์จำเลยแถลงรับกันไม่ ที่ศาลแรงงานกลางสั่งงดสืบพยานจึงชอบแล้ว เมื่อเดือนสิงหาคม 2528 จำเลยฟ้องบริษัท ข. ให้ชำระหนี้กรรมการผู้จัดการหลบหนี และบริษัท ข. หยุดกิจการ จำเลยให้โจทก์ซึ่งเป็นยามรักษาการณ์ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป โดยจ่ายเงินเป็นรายเดือนให้ ต่อมาจำเลยนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์ของบริษัท ข. เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2529 เจ้าพนักงานบังคับคดีมอบให้โจทก์เป็นผู้รักษาทรัพย์อีก ดังนี้จำเลยเพียงแต่ตกลงให้โจทก์รับหน้าที่เฉพาะอย่าง คือ การดูแลทรัพย์สินของบริษัท ข.มิให้สูญหายหรือเสียหาย ซึ่งหน้าที่ดังกล่าวไม่ใช่งานของจำเลยโดยตรง ทั้งโจทก์มิได้อยู่ในการบังคับบัญชาของจำเลย เมื่อมีการยึดทรัพย์สินของบริษัท ข. ขายทอดตลาด เจ้าพนักงานบังคับคดีมอบให้โจทก์เป็นผู้รักษาทรัพย์ก็เป็นการมอบตามอำนาจและหน้าที่แม้จำเลยจะให้เงินเดือนแก่โจทก์จำนวนเดิมก็ตาม ยังถือไม่ได้ว่าจำเลยได้จ้างโจทก์ โจทก์จึงไม่ใช่ลูกจ้างของจำเลย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2746/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างลูกจ้างเนื่องจากฝ่าฝืนระเบียบบริษัทและเบียดเบียนลูกค้า ถือเป็นเหตุร้ายแรง ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
จำเลยประกอบธุรกิจธนาคาร ได้มีคำสั่งห้ามพนักงานมีส่วนเกี่ยวพันกับลูกค้าในลักษณะที่อาจจะให้เป็นที่ครหา การกู้ยืมเงินลูกค้า การเรียกร้อง หรือแสวงหาผลประโยชน์หรือสิ่งตอบแทนจากลูกค้า ซึ่งการกระทำเหล่านี้เป็นการเบียดเบียนลูกค้าของธนาคาร โจทก์เป็นพนักงานสินเชื่อทำหน้าที่หัวหน้าหน่วย การที่ค. ภริยาโจทก์ขอยืมเงินจาก อ. ลูกค้าของจำเลยประจำหน่วยนั้น และในการกู้ยืมนี้ โจทก์ได้ทำสัญญาค้ำประกันไว้แก่ อ. ด้วย เป็นการรู้เห็นเป็นใจ ความประพฤติของโจทก์เช่นนี้ถือได้ว่าเป็นการเบียดเบียนลูกค้าในทำนองเดียวกัน โดยอาศัยอำนาจหน้าที่ และเป็นการฝ่าฝืนคำสั่งของจำเลยอันเป็นกรณีร้ายแรง จำเลยเลิกจ้างด้วยเหตุดังกล่าว จึงไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย.(ที่มา-ส่งเสริมฯ)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2746/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างลูกจ้างเนื่องจากเบียดเบียนลูกค้าและฝ่าฝืนคำสั่งนายจ้าง ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าเป็นการเลิกจ้างชอบธรรมไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
จำเลยประกอบธุรกิจธนาคาร ได้มีคำสั่งห้ามพนักงานมีส่วนเกี่ยวพันกับลูกค้าในลักษณะที่อาจจะให้เป็นที่ครหา การกู้ยืมเงินลูกค้า การเรียกร้อง หรือแสวงหาผลประโยชน์หรือสิ่งตอบแทนจากลูกค้า ซึ่งการกระทำเหล่านี้เป็นการเบียดเบียนลูกค้าของธนาคาร โจทก์เป็นพนักงานสินเชื่อทำหน้าที่หัวหน้าหน่วย การที่ค.ภริยาโจทก์ขอยืมเงินจากอ. ลูกค้าของจำเลยประจำหน่วยนั้น และในการกู้ยืมนี้ โจทก์ได้ทำสัญญาค้ำประกันไว้แก่อ. ด้วย เป็นการรู้เห็นเป็นใจ ความประพฤติของโจทก์เช่นนี้ถือได้ว่าเป็นการเบียดเบียนลูกค้าในทำนองเดียวกัน โดยอาศัยอำนาจหน้าที่ และเป็นการฝ่าฝืนคำสั่งของจำเลยอันเป็นกรณีร้ายยแรง จำเลยเลิกจ้างด้วยเหตุดังกล่าว จึงไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย.(ที่มา-ส่งเสริมฯ)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2746/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างลูกจ้างฐานกระทำผิดวินัยร้ายแรงจากการเบียดเบียนลูกค้าและฝ่าฝืนคำสั่งนายจ้าง
จำเลยประกอบธุรกิจธนาคาร ได้มีคำสั่งห้ามพนักงานมีส่วนเกี่ยวพันกับลูกค้าในลักษณะที่อาจจะให้เป็นที่ครหา การกู้ยืมเงินลูกค้า การเรียกร้องหรือแสวงหาผลประโยชน์หรือสิ่งตอบแทนจากลูกค้า ซึ่งการกระทำเหล่านี้เป็นการเบียดเบียนลูกค้าของธนาคารโจทก์เป็นพนักงานสินเชื่อทำหน้าที่หัวหน้าฝ่าย การที่ ด. ภริยาโจทก์ขอยืมเงินจาก อ. ลูกค้าของจำเลยประจำหน่วยนั้นและในการกู้ยืมนี้โจทก์ได้ทำสัญญาค้ำประกันไว้แก่ อ. ด้วยเป็นการรู้เห็นเป็นใจ ความประพฤติของโจทก์เช่นนี้ ถือได้ว่าเป็นการเบียดเบียนลูกค้าในทำนองเดียวกันโดยอาศัยอำนาจหน้าที่ และเป็นการฝ่าฝืนคำสั่งของจำเลยอันเป็นกรณีร้ายแรง จำเลยเลิกจ้างด้วยเหตุดังกล่าวจึงไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2590/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การริบรถยนต์ที่ใช้เป็นพาหนะหลังกระทำความผิด ต้องพิจารณาว่ามีส่วนในการกระทำความผิดโดยตรงหรือไม่
ยานพาหนะใดเป็นทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำความผิดซึ่งศาลจะพึงสั่งริบตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33(1) หรือไม่ ต้องพิจารณาตามพฤติการณ์ของการกระทำความผิดเป็นเรื่อง ๆ ไป จำเลยนำรถยนต์กระบะสองแถวของกลางมาเพื่อใช้เป็นพาหนะบรรทุกน้ำมันที่ลักมาหลบหนีไปเท่านั้น จำเลยมิได้ใช้รถยนต์กระบะสองแถวในการกระทำความผิดฐานลักทรัพย์ตามฟ้องแต่อย่างใด รถยนต์กระบะสองแถวของกลางจึงมิใช่ทรัพย์สินอันพึงริบ.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2590/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การริบทรัพย์สินจากการกระทำความผิด: รถยนต์ที่ใช้เป็นพาหนะหลบหนีไม่ใช่ทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำความผิดโดยตรง
ยานพาหนะใดเป็นทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำความผิดซึ่งศาลจะพึงริบตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33(1) หรือไม่ ต้องพิจารณาตามพฤติการณ์ของการกระทำความผิดเป็นเรื่อง ๆ ไป จำเลยนำรถยนต์กระบะสองแถวของกลางมาเพื่อใช้เป็นพาหนะบรรทุกน้ำมันที่ลักมาหลบหนีไปเท่านั้น จำเลยมิได้ใช้รถยนต์กระบะสองแถวในการกระทำความผิดฐานลักทรัพย์ตามฟ้องแต่อย่างใด รถยนต์กระบะสองแถวของกลางจึงมิใช่ทรัพย์สินอันพึงริบ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2485/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ฟ้องซ้ำคดีเลิกจ้าง: การอ้างเหตุเลิกจ้างที่แตกต่างกันไม่ทำให้คดีไม่เป็นฟ้องซ้ำ หากประเด็นพิจารณาหลักยังคงเดิม
ฟ้องโจทก์คดีนี้และคดีก่อนมีมูลมาจากการเลิกจ้างตามคำสั่งเลิกจ้างฉบับเดียวกัน เป็นแต่เพียงโจทก์กล่าวอ้างในฟ้องคดีก่อนว่าการที่จำเลยเลิกจ้างโจทก์เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม ส่วนคดีนี้โจทก์กล่าวอ้างว่าเป็นการเลิกจ้างที่ถูกปรักปรำและถูกบีบคั้นของจำเลย ซึ่งไม่ว่าโจทก์จะกล่าวอ้างถึงเหตุแห่งการเลิกจ้างอย่างในคดีก่อนหรือคดีนี้ก็ตาม คดีทั้งสองก็มีประเด็นที่ศาลจะต้องวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกันว่ามีเหตุสมควรที่จำเลยจะเลิกจ้างได้หรือไม่ เมื่อคดีก่อนคำพิพากษาถึงที่สุดแล้วฟ้องโจทก์คดีนี้จึงเป็นฟ้องซ้ำ
of 77