พบผลลัพธ์ทั้งหมด 767 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4670/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งศาลอนุญาตให้ทายาทเข้ามาเป็นคู่ความแทนที่โจทก์ผู้มรณะ เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา ห้ามอุทธรณ์
คำสั่งของศาลชั้นต้นที่อนุญาตให้ผู้ร้องเข้ามาเป็นคู่ความ แทนที่โจทก์ผู้มรณะ ในระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้นนั้น เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณาต้องห้ามมิให้อุทธรณ์คำสั่งนั้นในระหว่าง พิจารณาของศาลชั้นต้น ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 226
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4670/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งศาลอนุญาตให้ผู้ร้องเป็นคู่ความแทนที่โจทก์ผู้มรณะเป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา ต้องห้ามอุทธรณ์จนกว่ามีคำพิพากษา
คำสั่งของศาลชั้นต้นที่อนุญาตให้ผู้ร้องเข้ามาเป็นคู่ความแทนที่โจทก์ผู้มรณะในระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้นนั้นเป็นคำสั่งระหว่างพิจารณาต้องห้ามมิให้อุทธรณ์คำสั่งนั้นในระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา226.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4251/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้าง: การกระทำที่ไม่ถึงขั้นร้ายแรงตามระเบียบข้อบังคับของบริษัท และต้องจ่ายค่าชดเชย
โจทก์เป็นผู้นำเรียกร้องให้จำเลยชี้แจงกรณี ด.ลูกจ้างคนหนึ่งของจำเลยถูกตำรวจจับกุมในข้อหาลักทรัพย์ของจำเลย กับนัดแนะให้ลูกจ้างรวมตัวกันเพื่อกระทำการอย่างหนึ่ง เมื่อจำเลยให้ตำรวจชี้แจงในเรื่องดังกล่าวแล้ว โจทก์ยังไม่พอใจได้นัดแนะให้ลูกจ้างคอยฟังรายละเอียดในตอนเย็นวันนั้น เมื่อการกระทำของโจทก์ดังกล่าวศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยยังไม่ได้รับความเสียหาย กรณีจึงยังไม่เข้าเหตุตามระเบียบข้อบังคับของจำเลยที่ว่าลูกจ้างได้ทำให้ทรัพย์สินของบริษัทเสียหาย ซึ่งจำเลยถือเป็นเหตุที่ร้ายแรง ถือไม่ได้ว่าเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับหรือระเบียบเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยกรณีร้ายแรงตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 47 และยังไม่เป็นความผิดอย่างร้ายแรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 583 จำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุดังกล่าว จึงต้องจ่ายค่าชดเชยและสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4251/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างกรณีปลุกระดมและฝ่าฝืนระเบียบ หากนายจ้างไม่เสียหาย ไม่ถือเป็นเหตุร้ายแรง ต้องจ่ายค่าชดเชย
โจทก์เป็นผู้นำเรียกร้องให้จำเลยชี้แจง กรณีด.ลูกจ้างคนหนึ่งของจำเลยถูกตำรวจจับกุมในข้อหาลักทรัพย์ของจำเลยกับนัดแนะให้ลูกจ้างรวมตัวกันเพื่อกระทำการอย่างหนึ่งเมื่อจำเลยให้ตำรวจชี้แจงในเรื่องดังกล่าวแล้วโจทก์ยังไม่พอใจได้นัดแนะให้ลูกจ้างคอยฟังรายละเอียดในตอนเย็นวันนั้นเมื่อการกระทำของโจทก์ดังกล่าวศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยยังไม่ได้รับความเสียหายกรณีจึงยังไม่เข้าเหตุตามระเบียบข้อบังคับของจำเลยที่ว่าลูกจ้างได้ทำให้ทรัพย์สินของบริษัทเสียหายซึ่งจำเลยถือเป็นเหตุที่ร้ายแรงถือไม่ได้ว่าเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับหรือระเบียบเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยกรณีร้ายแรงตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานข้อ47และยังไม่เป็นความผิดอย่างร้ายแรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา583จำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุดังกล่าวจึงต้องจ่ายค่าชดเชยและสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4251/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างที่เกี่ยวข้องกับการเรียกร้องกรณีลักทรัพย์และการรวมตัวของลูกจ้าง นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยหากไม่มีความเสียหาย
โจทก์เป็นผู้นำเรียกร้องให้จำเลยชี้แจงกรณีด.ลูกจ้างคนหนึ่งของจำเลยถูกตำรวจจับกุมในข้อหาลักทรัพย์ของจำเลย กับนัดแนะให้ลูกจ้างรวมตัวกันเพื่อกระทำการอย่างหนึ่ง เมื่อจำเลยให้ตำรวจชี้แจงในเรื่องดังกล่าวแล้ว โจทก์ยังไม่พอใจได้นัดแนะให้ลูกจ้างคอยฟังรายละเอียดในตอนเย็นวันนั้น เมื่อการกระทำของโจทก์ดังกล่าวศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยยังไม่ได้รับความเสียหาย กรณีจึงยังไม่เข้าเหตุตามระเบียบข้อบังคับของจำเลยที่ว่าลูกจ้างได้ทำให้ทรัพย์สินของบริษัทเสียหายซึ่งจำเลยถือเป็นเหตุที่ร้ายแรง ถือไม่ได้ว่าเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับหรือระเบียบเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยกรณีร้ายแรงตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 47 และยังไม่เป็นความผิดอย่างร้ายแรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 583 จำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุดังกล่าว จึงต้องจ่ายค่าชดเชยและสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4190/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบของกลาง (ธนบัตร) ที่ได้จากผู้ต้องหาที่รับสารภาพว่าใช้ในการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทั้งสี่กับพวกร่วมกันมีกัญชาไว้ในความครอบครองเพื่อจำหน่ายและยึดได้ธนบัตรจาก จำเลยที่1จากจำเลยที่3และจากจำเลยที่4ซึ่งเป็นธนบัตรที่จำเลยรับมาเพื่อใช้ในการหาซื้อกัญชาและใช้เป็นค่าขนย้ายกัญชาเป็นของกลางเมื่อจำเลยที่3ที่4ให้การรับสารภาพตามฟ้องจึงต้องฟังว่าธนบัตรของกลางที่ยึดได้จากจำเลยที่3และที่4เป็นทรัพย์สินที่ได้ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ในการกระทำความผิดซึ่งศาลมีอำนาจริบได้ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา33การที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าธนบัตรของกลางที่ยึดได้จากจำเลยที่3ที่4มิใช่เป็นทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำผิดหรือได้มาจากการกระทำผิดนั้นเป็นการฟังข้อเท็จจริงที่ผิดไปจากคำรับสารภาพของจำเลยไม่ชอบด้วยวิธีพิจารณา การที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้โจทก์แยกฟ้องจำเลยที่1ซึ่งให้การปฏิเสธเป็นคดีใหม่เป็นการสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา176และมีผลทำให้คำขอของโจทก์ในคดีนี้ที่ให้ริบธนบัตรของกลางที่ยึดได้จากจำเลยที่1สิ้นสภาพไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4190/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบเงินที่ได้จากการกระทำผิดยาเสพติด: ศาลฎีกาชี้ว่าเงินที่ใช้ซื้อยาเสพติดหรือค่าขนส่งเป็นทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำผิดและต้องริบ
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทั้งสี่กับพวกร่วมกันมีกัญชาไว้ในความครอบครองเพื่อจำหน่าย และยึดได้ธนบัตรจากจำเลยที่ 1 จากจำเลยที่ 3 และจากจำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นธนบัตรที่จำเลยรับมาเพื่อใช้ในการหาซื้อกัญชา และใช้เป็นค่าขนย้ายกัญชาเป็นของกลางเมื่อจำเลยที่ 3 ที่ 4 ให้การรับสารภาพตามฟ้อง จึงต้องฟังว่าธนบัตรของกลางที่ยึดได้จากจำเลยที่ 3 และที่ 4 เป็นทรัพย์สินที่ได้ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ในการกระทำความผิด ซึ่งศาลมีอำนาจริบได้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 การที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าธนบัตรของกลางที่ยึดได้จากจำเลยที่ 3ที่ 4 มิใช่เป็นทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำผิด หรือได้มาจากการกระทำผิด นั้น เป็นการฟังข้อเท็จจริงที่ผิดไปจากคำรับสารภาพของจำเลย ไม่ชอบด้วยวิธีพิจารณา
การที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้โจทก์แยกฟ้องจำเลยที่ 1 ซึ่งให้การปฏิเสธเป็นคดีใหม่ เป็นการสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 176 และมีผลทำให้คำขอของโจทก์ในคดีนี้ที่ให้ริบธนบัตรของกลางที่ยึดได้จากจำเลยที่ 1 สิ้นสภาพไป
การที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้โจทก์แยกฟ้องจำเลยที่ 1 ซึ่งให้การปฏิเสธเป็นคดีใหม่ เป็นการสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 176 และมีผลทำให้คำขอของโจทก์ในคดีนี้ที่ให้ริบธนบัตรของกลางที่ยึดได้จากจำเลยที่ 1 สิ้นสภาพไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4190/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบเงินที่ได้จากการกระทำผิดยาเสพติด: ศาลฎีกาวินิจฉัยให้ริบเงินจากจำเลยที่รับสารภาพ โดยอาศัยคำรับสารภาพเป็นหลัก
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทั้งสี่กับพวกร่วมกันมีกัญชาไว้ในความครอบครองเพื่อจำหน่าย และยึดได้ธนบัตรจากจำเลยที่ 1 จากจำเลยที่ 3 และจากจำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นธนบัตรที่จำเลยรับมาเพื่อใช้ในการหาซื้อกัญชา และใช้เป็นค่าขนย้ายกัญชาเป็นของกลางเมื่อจำเลยที่ 3 ที่ 4 ให้การรับสารภาพตามฟ้อง จึงต้องฟังว่าธนบัตรของกลางที่ยึดได้จากจำเลยที่ 3 และที่ 4 เป็นทรัพย์สินที่ได้ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ในการกระทำความผิด ซึ่งศาลมีอำนาจริบได้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 การที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าธนบัตรของกลางที่ยึดได้จากจำเลยที่ 3 ที่ 4 มิใช่เป็นทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำผิด หรือได้มาจากการกระทำผิด นั้น เป็นการฟังข้อเท็จจริงที่ผิดไปจากคำรับสารภาพของจำเลย ไม่ชอบด้วยวิธีพิจารณา
การที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้โจทก์แยกฟ้องจำเลยที่ 1 ซึ่งให้การปฏิเสธเป็นคดีใหม่ เป็นการสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 176 และมีผลทำให้คำขอของโจทก์ในคดีนี้ที่ให้ริบธนบัตรของกลางที่ยึดได้จากจำเลยที่ 1 สิ้นสภาพไป
การที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้โจทก์แยกฟ้องจำเลยที่ 1 ซึ่งให้การปฏิเสธเป็นคดีใหม่ เป็นการสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 176 และมีผลทำให้คำขอของโจทก์ในคดีนี้ที่ให้ริบธนบัตรของกลางที่ยึดได้จากจำเลยที่ 1 สิ้นสภาพไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4047/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินโบนัสปกติไม่ถือเป็นค่าจ้างสำหรับการคำนวณเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน จำเลยต้องคืนเงินพร้อมดอกเบี้ย
เงินโบนัสปกติมิใช่เงินที่โจทก์จ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นการตอบแทนการทำงาน ไม่ถือว่าเป็นค่าจ้างอันจะนำมาคำนวณเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน กรมแรงงานจำเลยเรียกเก็บ จึงเป็นการเรียกเก็บ โดยมิชอบ แต่โจทก์ก็จำต้องชำระเพื่อไม่ให้ต้องจ่ายเงินเพิ่ม จึงทำให้โจทก์ขาดประโยชน์อันควรได้จากเงินที่ได้ชำระให้จำเลย ไปตามคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ต้องถือว่าจำเลย เมื่อจะต้องคืนเงินดังกล่าว จึงต้องเสียดอกเบี้ย นับแต่วันที่รับเงินไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3985-3987/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมการสหภาพแรงงาน: ความคุ้มกันตามกฎหมาย แม้ยังมิได้จดทะเบียน
ที่ประชุมใหญ่ของสหภาพแรงงานได้เลือกตั้งผู้ใดเป็นกรรมการสหภาพแรงงานแม้จะยังมิได้มีการแจ้งจดทะเบียนต่อนายทะเบียนก็ตามผู้นั้นย่อมได้ชื่อว่าเป็นกรรมการสหภาพแรงงานตามความหมายของพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ.2518มาตรา121แล้วความคุ้มกันประการใดที่มาตราดังกล่าวบัญญัติไว้เพื่อปกป้องกรรมการสหภาพแรงงานความคุ้มกันนั้นๆย่อมตกแก่กรรมการสหภาพแรงงานผู้ได้รับเลือกตั้งนั้นทุกอย่างทุกประการ.