พบผลลัพธ์ทั้งหมด 767 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2020/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การงดบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 293 ต้องเป็นทรัพย์สินของลูกหนี้เอง
คำร้องขอให้งดการขายทอดตลาดทรัพย์สินที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษานำยึดไว้โดยเหตุที่ลูกหนี้และเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาสามารถหักกลบลบหนี้กันได้นั้น ทรัพย์สินที่ถูกยึดจะต้องเป็นของลูกหนี้ตามคำพิพากษาผู้ยื่นคำร้องเท่านั้น การที่โจทก์นำยึดทรัพย์จำนองของจำเลยที่ 3 เพื่อขายทอดตลาดเอาเงินใช้หนี้ตามคำพิพากษา แม้จำเลยที่ 1 จะเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษาร่วมกับจำเลยที่ 3 แต่ทรัพย์ที่ยึดก็มิใช่ทรัพย์ของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 จึงไม่อาจขอให้งดการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 293 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2020/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การงดบังคับคดีต้องเป็นทรัพย์สินของลูกหนี้ การหักกลบลบหนี้ต้องเป็นทรัพย์ของตนเอง
คำร้องขอให้งดการขายทอดตลาดทรัพย์สินที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษานำยึดไว้โดยเหตุที่ลูกหนี้และเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาสามารถหักกลบลบหนี้กันได้นั้นทรัพย์สินที่ถูกยึดจะต้องเป็นของลูกหนี้ตามคำพิพากษาผู้ยื่นคำร้องเท่านั้น การที่โจทก์นำยึดทรัพย์จำนองของจำเลยที่ 3 เพื่อขายทอดตลาดเอาเงินใช้หนี้ตามคำพิพากษาแม้จำเลยที่ 1 จะเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษาร่วมกับจำเลยที่ 3 แต่ทรัพย์ที่ยึดก็มิใช่ทรัพย์ของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 จึงไม่อาจขอให้งดการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 293 ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1975/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องเรียกค่าจ้างจากผู้รับเหมา: 2 ปี ตาม ป.พ.พ. มาตรา 165(7) และการนับอายุความละเมิด
โจทก์เป็นผู้รับเหมาทำการก่อสร้างให้จำเลย โจทก์ใช้สิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างในผลงานก่อสร้างจากจำเลย ถือได้ว่าโจทก์เป็นผู้ค้าฟ้องเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างในกิจการนั้น จึงต้องใช้สิทธิฟ้องร้องในอายุความ 2 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (7)
ในกรณีมีมติคณะรัฐมนตรีให้ปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างตามดัชนีราคาสินค้าที่สูงขึ้นโดยให้คำนวณ ณ วันที่มีการส่งมอบงานเป็นเกณฑ์เงินเพิ่มปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างจึงมิใช่ค่าตอบแทนที่มีข้อผูกพันกันตามสัญญาจ้างเหมาทำการก่อสร้างที่โจทก์กับจำเลยตกลงทำกันไว้แต่เดิม หากแต่เป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างหรือสินจ้างที่เพิ่มขึ้นจากผลงานที่โจทก์พึงได้รับตามมติคณะรัฐมนตรี การฟ้องเรียกร้องเงินเพิ่มค่างานจึงเสมือนฟ้องเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างจากผู้ว่าจ้าง ซึ่งอยู่ในบังคับอายุความ 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (7)
จำเลยมีหนังสือไปถึงสำนักงบประมาณขอให้พิจารณาให้ความเห็นชอบในการจ่ายเงินเพิ่มค่างานสำหรับงานงวดสุดท้ายให้โจทก์หนังสือดังกล่าวเป็นเพียงหนังสือที่จำเลยติดต่อหารือไปยังสำนักงบประมาณเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ ไม่ปรากฏว่าจำเลยยอมจะชำระเงินเพิ่มค่างานให้ตามหนังสือนั้นและจำเลยมิได้มีหนังสือดังกล่าวไปถึงโจทก์ จึงไม่เป็นการรับสภาพหนี้อันเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลง
โจทก์มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระเงินเพิ่มค่างานนับแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป แม้การหน่วงเหนี่ยวไม่ชำระเงินเพิ่มค่างานอาจเป็นการละเมิดต่อโจทก์ แต่คดีโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับความเสียหายอันเกิดจากการหน่วงเหนี่ยวไม่ยอมชำระเงินเพิ่มค่างาน โจทก์ก็อาจบังคับสิทธิเรียกร้องเอาแก่จำเลยที่ 2 ได้ทันทีอายุความต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป หาใช่ตราบใดที่โจทก์ยังไม่ได้รับชำระเงินเพิ่มตราบนั้นการละเมิดยังคงมีอยู่ต่อเนื่องกันตลอดไปไม่โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยที่ 2 เมื่อเกิน 1 ปีแล้ว คดีโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448
ในกรณีมีมติคณะรัฐมนตรีให้ปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างตามดัชนีราคาสินค้าที่สูงขึ้นโดยให้คำนวณ ณ วันที่มีการส่งมอบงานเป็นเกณฑ์เงินเพิ่มปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างจึงมิใช่ค่าตอบแทนที่มีข้อผูกพันกันตามสัญญาจ้างเหมาทำการก่อสร้างที่โจทก์กับจำเลยตกลงทำกันไว้แต่เดิม หากแต่เป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างหรือสินจ้างที่เพิ่มขึ้นจากผลงานที่โจทก์พึงได้รับตามมติคณะรัฐมนตรี การฟ้องเรียกร้องเงินเพิ่มค่างานจึงเสมือนฟ้องเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างจากผู้ว่าจ้าง ซึ่งอยู่ในบังคับอายุความ 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (7)
จำเลยมีหนังสือไปถึงสำนักงบประมาณขอให้พิจารณาให้ความเห็นชอบในการจ่ายเงินเพิ่มค่างานสำหรับงานงวดสุดท้ายให้โจทก์หนังสือดังกล่าวเป็นเพียงหนังสือที่จำเลยติดต่อหารือไปยังสำนักงบประมาณเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ ไม่ปรากฏว่าจำเลยยอมจะชำระเงินเพิ่มค่างานให้ตามหนังสือนั้นและจำเลยมิได้มีหนังสือดังกล่าวไปถึงโจทก์ จึงไม่เป็นการรับสภาพหนี้อันเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลง
โจทก์มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระเงินเพิ่มค่างานนับแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป แม้การหน่วงเหนี่ยวไม่ชำระเงินเพิ่มค่างานอาจเป็นการละเมิดต่อโจทก์ แต่คดีโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับความเสียหายอันเกิดจากการหน่วงเหนี่ยวไม่ยอมชำระเงินเพิ่มค่างาน โจทก์ก็อาจบังคับสิทธิเรียกร้องเอาแก่จำเลยที่ 2 ได้ทันทีอายุความต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป หาใช่ตราบใดที่โจทก์ยังไม่ได้รับชำระเงินเพิ่มตราบนั้นการละเมิดยังคงมีอยู่ต่อเนื่องกันตลอดไปไม่โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยที่ 2 เมื่อเกิน 1 ปีแล้ว คดีโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1975/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องเรียกร้องค่าจ้างเหมาและผลกระทบจากมติคณะรัฐมนตรีปรับราคาค่างาน
โจทก์เป็นผู้รับเหมาทำการก่อสร้างให้จำเลย โจทก์ใช้สิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างในผลงานก่อสร้างจากจำเลยถือได้ว่าโจทก์เป็นผู้ค้าฟ้องเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างในกิจการนั้น จึงต้องใช้สิทธิฟ้องร้องในอายุความ 2 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(7) ในกรณีมีมติคณะรัฐมนตรีให้ปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างตามดัชนีราคาสินค้าที่สูงขึ้นโดยให้คำนวณ ณ วันที่มีการส่งมอบงานเป็นเกณฑ์ เงินเพิ่มปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างจึงมิใช่ค่าตอบแทนที่มีข้อผูกพันกันตามสัญญาจ้างเหมาทำการก่อสร้างที่โจทก์กับจำเลยตกลงทำกันไว้แต่เดิม หากแต่เป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างหรือสินจ้างที่เพิ่มขึ้นจากผลงานที่โจทก์พึงได้รับตามมติคณะรัฐมนตรี การฟ้องเรียกร้องเงินเพิ่มค่างานจึงเสมือนเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างจากผู้ว่าจ้าง ซึ่งอยู่ในบังคับอายุความ 2 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(7) จำเลยมีหนังสือไปถึงสำนักงบประมาณขอให้พิจารณาให้ความเห็นชอบในการจ่ายเงินเพิ่มค่างานสำหรับงวดสุดท้ายให้โจทก์หนังสือดังกล่าวเป็นเพียงหนังสือที่จำเลยติดต่อหารือไปยังสำนักงบประมาณเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ ไม่ปรากฏว่าจำเลยยอมจะชำระเงินเพิ่มค่างานให้ตามหนังสือนั้นและจำเลยมิได้มีหนังสือดังกล่าวไปถึงโจทก์ จึงไม่เป็นการรับสภาพหนี้อันเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลง โจทก์มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระเงินเพิ่มค่างานนับแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป แม้การหน่วงเหนี่ยวไม่ชำระเงินเพิ่มค่างานอาจเป็นการละเมิดต่อโจทก์ แต่คดีโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับความเสียหายอันเกิดจากการหน่วงเหนี่ยวไม่ยอมชำระเงินเพิ่มค่างานโจทก์ก็อาจบังคับสิทธิเรียกร้องเอาแก่จำเลยที่ 2 ได้ทันทีอายุความต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไปหาใช่ตราบใดที่โจทก์ยังไม่ได้รับชำระเงินเพิ่มตราบนั้น การละเมิดยังคงมีอยู่ต่อเนื่องกันตลอดไปไม่ โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยที่ 2เมื่อเกิน 1 ปีแล้ว คดีโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1975/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องเรียกร้องค่าจ้างจากผู้รับเหมา: 2 ปี ตามมาตรา 165(7) และการนับอายุความละเมิด
โจทก์เป็นผู้รับเหมาทำการก่อสร้างให้จำเลย โจทก์ใช้สิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างในผลงานก่อสร้างจากจำเลยถือได้ว่าโจทก์เป็นผู้ค้าฟ้องเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างในกิจการนั้น จึงต้องใช้สิทธิฟ้องร้องในอายุความ 2 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(7)
ในกรณีมีมติคณะรัฐมนตรีให้ปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างตามดัชนีราคาสินค้าที่สูงขึ้นโดยให้คำนวณ ณ วันที่มีการส่งมอบงานเป็นเกณฑ์เงินเพิ่มปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างจึงมิใช่ค่าตอบแทนที่มีข้อผูกพันกันตามสัญญาจ้างเหมาทำการก่อสร้างที่โจทก์กับจำเลยตกลงทำกันไว้แต่เดิม หากแต่เป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างหรือสินจ้างที่เพิ่มขึ้นจากผลงานที่โจทก์พึงได้รับตามมติคณะรัฐมนตรี การฟ้องเรียกร้องเงินเพิ่มค่างานจึงเสมือนฟ้องเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างจากผู้ว่าจ้าง ซึ่งอยู่ในบังคับอายุความ 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(7)
จำเลยมีหนังสือไปถึงสำนักงบประมาณขอให้พิจารณาให้ความเห็นชอบในการจ่ายเงินเพิ่มค่างานสำหรับงานงวดสุดท้ายให้โจทก์หนังสือดังกล่าวเป็นเพียงหนังสือที่จำเลยติดต่อหารือไปยังสำนักงบประมาณเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ ไม่ปรากฏว่าจำเลยยอมจะชำระเงินเพิ่มค่างานให้ตามหนังสือนั้นและจำเลยมิได้มีหนังสือดังกล่าวไปถึงโจทก์ จึงไม่เป็นการรับสภาพหนี้อันเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลง
โจทก์มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระเงินเพิ่มค่างานนับแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป แม้การหน่วงเหนี่ยวไม่ชำระเงินเพิ่มค่างานอาจเป็นการละเมิดต่อโจทก์ แต่คดีโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับความเสียหายอันเกิดจากการหน่วงเหนี่ยวไม่ยอมชำระเงินเพิ่มค่างาน โจทก์ก็อาจบังคับสิทธิเรียกร้องเอาแก่จำเลยที่ 2 ได้ทันทีอายุความต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป หาใช่ตราบใดที่โจทก์ยังไม่ได้รับชำระเงินเพิ่มตราบนั้นการละเมิดยังคงมีอยู่ต่อเนื่องกันตลอดไปไม่โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยที่ 2 เมื่อเกิน 1 ปีแล้ว คดีโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448.
ในกรณีมีมติคณะรัฐมนตรีให้ปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างตามดัชนีราคาสินค้าที่สูงขึ้นโดยให้คำนวณ ณ วันที่มีการส่งมอบงานเป็นเกณฑ์เงินเพิ่มปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างจึงมิใช่ค่าตอบแทนที่มีข้อผูกพันกันตามสัญญาจ้างเหมาทำการก่อสร้างที่โจทก์กับจำเลยตกลงทำกันไว้แต่เดิม หากแต่เป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างหรือสินจ้างที่เพิ่มขึ้นจากผลงานที่โจทก์พึงได้รับตามมติคณะรัฐมนตรี การฟ้องเรียกร้องเงินเพิ่มค่างานจึงเสมือนฟ้องเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างจากผู้ว่าจ้าง ซึ่งอยู่ในบังคับอายุความ 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(7)
จำเลยมีหนังสือไปถึงสำนักงบประมาณขอให้พิจารณาให้ความเห็นชอบในการจ่ายเงินเพิ่มค่างานสำหรับงานงวดสุดท้ายให้โจทก์หนังสือดังกล่าวเป็นเพียงหนังสือที่จำเลยติดต่อหารือไปยังสำนักงบประมาณเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ ไม่ปรากฏว่าจำเลยยอมจะชำระเงินเพิ่มค่างานให้ตามหนังสือนั้นและจำเลยมิได้มีหนังสือดังกล่าวไปถึงโจทก์ จึงไม่เป็นการรับสภาพหนี้อันเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลง
โจทก์มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระเงินเพิ่มค่างานนับแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป แม้การหน่วงเหนี่ยวไม่ชำระเงินเพิ่มค่างานอาจเป็นการละเมิดต่อโจทก์ แต่คดีโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับความเสียหายอันเกิดจากการหน่วงเหนี่ยวไม่ยอมชำระเงินเพิ่มค่างาน โจทก์ก็อาจบังคับสิทธิเรียกร้องเอาแก่จำเลยที่ 2 ได้ทันทีอายุความต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป หาใช่ตราบใดที่โจทก์ยังไม่ได้รับชำระเงินเพิ่มตราบนั้นการละเมิดยังคงมีอยู่ต่อเนื่องกันตลอดไปไม่โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยที่ 2 เมื่อเกิน 1 ปีแล้ว คดีโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1957/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในเครื่องหมายการค้า: การแย่งสิทธิเนื่องจากใช้ก่อนและการจดทะเบียนในต่างประเทศ
บทบัญญัติมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พุทธศักราช2474 บัญญัติไว้ตอนต้นว่า 'ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้' ซึ่งรับกับมาตรา 41 (1) ที่ให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนเครื่องหมายการค้าที่ได้จดทะเบียนไว้แล้วได้ หากผู้มีส่วนได้เสียได้ยื่นคำร้องและแสดงได้ว่าตนมีสิทธิในเครื่องหมายการค้านั้นดีกว่าผู้ได้จดทะเบียนเป็นเจ้าของ ฉะนั้นเมื่อจำเลยเป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าพิพาทที่แท้จริงและได้ส่งสินค้าซึ่งมีเครื่องหมายการค้าพิพาทเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทยเป็นเวลานาน ก่อนที่โจทก์จะได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทดังกล่าว แม้จำเลยจะยังไม่ได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทในประเทศไทยจำเลยก็มีอำนาจฟ้องขอให้ศาลเพิกถอนทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทของโจทก์ได้ตามมาตรา 41 (1)
การที่โนตารีปับลิกรับรองการมีอยู่ของหนังสือรับรองการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทของจำเลยในประเทศต่าง ๆ ซึ่งมีนายทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่เกี่ยวข้องรับรองความถูกต้องไว้แล้วนั้น เทียบเคียงได้กับกรณีการเป็นพยานในหนังสือมอบอำนาจที่ได้ทำในเมืองต่างประเทศตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 47 วรรคสาม คือไม่จำต้องมีเจ้าพนักงานสถานกงสุลไทยหรือสถานทูตไทยรับรองอีกชั้นว่าผู้รับรองเอกสารดังกล่าวเป็นโนตารีปับลิกจริง ดังนั้นเมื่อไม่ปรากฏเหตุอันควรสงสัยเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของบุคคลที่ลงลายมือชื่อรับรองในฐานะโนตารีปับลิกดังกล่าว ทั้งโจทก์ก็มิได้นำสืบหักล้างหรือโต้แย้งอย่างใดแล้วศาลก็รับฟังข้อเท็จจริงเป็นยุติตามหนังสือรับรองการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทนั้นได้.
การที่โนตารีปับลิกรับรองการมีอยู่ของหนังสือรับรองการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทของจำเลยในประเทศต่าง ๆ ซึ่งมีนายทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่เกี่ยวข้องรับรองความถูกต้องไว้แล้วนั้น เทียบเคียงได้กับกรณีการเป็นพยานในหนังสือมอบอำนาจที่ได้ทำในเมืองต่างประเทศตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 47 วรรคสาม คือไม่จำต้องมีเจ้าพนักงานสถานกงสุลไทยหรือสถานทูตไทยรับรองอีกชั้นว่าผู้รับรองเอกสารดังกล่าวเป็นโนตารีปับลิกจริง ดังนั้นเมื่อไม่ปรากฏเหตุอันควรสงสัยเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของบุคคลที่ลงลายมือชื่อรับรองในฐานะโนตารีปับลิกดังกล่าว ทั้งโจทก์ก็มิได้นำสืบหักล้างหรือโต้แย้งอย่างใดแล้วศาลก็รับฟังข้อเท็จจริงเป็นยุติตามหนังสือรับรองการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทนั้นได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1957/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในเครื่องหมายการค้า: การแย่งสิทธิจากผู้ใช้ก่อน & การรับรองเอกสารจากต่างประเทศ
บทบัญญัติมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พุทธศักราช2474 บัญญัติไว้ตอนต้นว่า 'ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้' ซึ่งรับกับมาตรา 41(1) ที่ให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนเครื่องหมายการค้าที่ได้จดทะเบียนไว้แล้วได้ หากผู้มีส่วนได้เสียได้ยื่นคำร้องและแสดงได้ว่าตนมีสิทธิในเครื่องหมายการค้านั้นดีกว่าผู้ได้จดทะเบียนเป็นเจ้าของ ฉะนั้นเมื่อจำเลยเป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าพิพาทที่แท้จริงและได้ส่งสินค้าซึ่งมีเครื่องหมายการค้าพิพาทเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทยเป็นเวลานาน ก่อนที่โจทก์จะได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทดังกล่าว แม้จำเลยจะยังไม่ได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทในประเทศไทยจำเลยก็มีอำนาจฟ้องขอให้ศาลเพิกถอนทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทของโจทก์ได้ตามมาตรา 41(1)
การที่โนตารีปับลิกรับรองการมีอยู่ของหนังสือรับรองการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทของจำเลยในประเทศต่าง ๆ ซึ่งมีนายทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่เกี่ยวข้องรับรองความถูกต้องไว้แล้วนั้น เทียบเคียงได้กับกรณีการเป็นพยานในหนังสือมอบอำนาจที่ได้ทำในเมืองต่างประเทศตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 47 วรรคสาม คือไม่จำต้องมีเจ้าพนักงานสถานกงสุลไทยหรือสถานทูตไทยรับรองอีกชั้นว่าผู้รับรองเอกสารดังกล่าวเป็นโนตารีปับลิกจริง ดังนั้นเมื่อไม่ปรากฏเหตุอันควรสงสัยเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของบุคคลที่ลงลายมือชื่อรับรองในฐานะโนตารีปับลิกดังกล่าว ทั้งโจทก์ก็มิได้นำสืบหักล้างหรือโต้แย้งอย่างใดแล้วศาลก็รับฟังข้อเท็จจริงเป็นยุติตามหนังสือรับรองการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทนั้นได้.
การที่โนตารีปับลิกรับรองการมีอยู่ของหนังสือรับรองการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทของจำเลยในประเทศต่าง ๆ ซึ่งมีนายทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่เกี่ยวข้องรับรองความถูกต้องไว้แล้วนั้น เทียบเคียงได้กับกรณีการเป็นพยานในหนังสือมอบอำนาจที่ได้ทำในเมืองต่างประเทศตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 47 วรรคสาม คือไม่จำต้องมีเจ้าพนักงานสถานกงสุลไทยหรือสถานทูตไทยรับรองอีกชั้นว่าผู้รับรองเอกสารดังกล่าวเป็นโนตารีปับลิกจริง ดังนั้นเมื่อไม่ปรากฏเหตุอันควรสงสัยเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของบุคคลที่ลงลายมือชื่อรับรองในฐานะโนตารีปับลิกดังกล่าว ทั้งโจทก์ก็มิได้นำสืบหักล้างหรือโต้แย้งอย่างใดแล้วศาลก็รับฟังข้อเท็จจริงเป็นยุติตามหนังสือรับรองการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทนั้นได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1957/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในเครื่องหมายการค้า: ผู้ใช้ก่อนมีสิทธิเหนือผู้จดทะเบียนภายใต้ พ.ร.บ.เครื่องหมายการค้า
บทบัญญัติมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้าพุทธศักราช 2474 บัญญัติไว้ตอนต้นว่า "ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้" ซึ่งรับกับมาตรา 41(1) ที่ให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนเครื่องหมายการค้าที่ได้จดทะเบียนไว้แล้วได้ หากผู้มีส่วนได้เสียได้ยื่นคำร้องและแสดงได้ว่าตนมีสิทธิในเครื่องหมายการค้านั้นดีกว่าผู้ได้จดทะเบียนเป็นเจ้าของ ฉะนั้นเมื่อจำเลยเป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าพิพาทที่แท้จริงและได้ส่งสินค้าซึ่งมีเครื่องหมายการค้าพิพาทเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทยเป็นเวลานานก่อนที่โจทก์จะได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทดังกล่าวแม้จำเลยจะยังไม่ได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทในประเทศไทยจำเลยก็มีอำนาจฟ้องขอให้ศาลเพิกถอนทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทของโจทก์ได้ตามมาตรา 41(1) การที่โนตารีปับลิก รับรองการมีอยู่ของหนังสือรับรองการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทของจำเลยในประเทศต่าง ๆซึ่งมีนายทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่เกี่ยวข้องรับรองความถูกต้องไว้แล้วนั้น เทียบเคียงได้กับกรณีการเป็นพยานในหนังสือมอบอำนาจที่ได้ทำในเมืองต่างประเทศตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 47 วรรคสาม คือไม่จำต้องมีเจ้าพนักงานสถานกงสุลไทยหรือสถานทูตไทยรับรองอีกชั้นว่าผู้รับรองเอกสารดังกล่าวเป็นโนตารีปับลิกจริง ดังนั้น เมื่อไม่ปรากฏเหตุอันควรสงสัยเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของบุคคลที่ลงลายมือชื่อรับรองในฐานะโนตารีปับลิก ดังกล่าว ทั้งโจทก์ก็มิได้นำสืบหักล้างหรือโต้แย้งอย่างใดแล้ว ศาลก็รับฟังข้อเท็จจริงเป็นยุติตามหนังสือรับรองการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1950/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องแบ่งแยกกรรมสิทธิ์ร่วม: การครอบครองปรปักษ์ การยกสิทธิ และการโต้แย้งสิทธิ
โจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์มีชื่อในโฉนดร่วมกับจำเลยและผู้มีชื่อตามที่ระบุไว้ในคำฟ้องโดยโจทก์ได้รับการยกให้จากมารดา และโจทก์ได้เข้าครอบครองที่พิพาทปรากฏเขตตามแผนที่สังเขปท้ายฟ้องเป็นส่วนสัดมากกว่า 10 ปี จำเลยไม่ยอมแย่งกรรมสิทธิ์ในที่ดินส่วนที่โจทก์ครอบครองให้โจทก์ดังนี้เป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
แม้ฟ้องโจทก์จะบรรยายว่า โฉนดที่พิพาทมีชื่อโจทก์จำเลยล. และ ท. ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกัน แต่ในทางพิจารณาได้ความว่ามีชื่อ ร. ในโฉนดที่พิพาทด้วย ก็ไม่ถือว่าข้อเท็จจริงที่ได้ความในทางพิจารณาแตกต่างไปจากฟ้องเพราะ ร. ซึ่งมีชื่อในโฉนดที่พิพาทด้วยเป็นที่จำเลยได้รับมรดกที่พิพาทจากบิดามารดาเช่นเดียวกับจำเลยแต่บวชเป็นพระภิกษุ ไม่เคยครอบครองที่พิพาทและได้ยกกรรมสิทธิ์ส่วนของตนให้จำเลยก่อนโจทก์ฟ้องแล้ว ดังนั้นจึงหาเกี่ยวกับที่พิพาทในส่วนที่โจทก์ได้รับการยกให้และครอบครองมากกว่า 10 ปีไม่จึงไม่ทำให้ฟ้องเสียไปแต่อย่างใด เมื่อจำเลยคัดค้านการแบ่งแยกโฉนดพิพาท ย่อมเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง.
แม้ฟ้องโจทก์จะบรรยายว่า โฉนดที่พิพาทมีชื่อโจทก์จำเลยล. และ ท. ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกัน แต่ในทางพิจารณาได้ความว่ามีชื่อ ร. ในโฉนดที่พิพาทด้วย ก็ไม่ถือว่าข้อเท็จจริงที่ได้ความในทางพิจารณาแตกต่างไปจากฟ้องเพราะ ร. ซึ่งมีชื่อในโฉนดที่พิพาทด้วยเป็นที่จำเลยได้รับมรดกที่พิพาทจากบิดามารดาเช่นเดียวกับจำเลยแต่บวชเป็นพระภิกษุ ไม่เคยครอบครองที่พิพาทและได้ยกกรรมสิทธิ์ส่วนของตนให้จำเลยก่อนโจทก์ฟ้องแล้ว ดังนั้นจึงหาเกี่ยวกับที่พิพาทในส่วนที่โจทก์ได้รับการยกให้และครอบครองมากกว่า 10 ปีไม่จึงไม่ทำให้ฟ้องเสียไปแต่อย่างใด เมื่อจำเลยคัดค้านการแบ่งแยกโฉนดพิพาท ย่อมเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1950/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องแบ่งกรรมสิทธิ์ร่วม การครอบครองปรปักษ์ และผลของการคัดค้านการแบ่งแยกโฉนด
โจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์มีชื่อในโฉนดร่วมกับจำเลยและผู้มีชื่อตามที่ระบุไว้ในคำฟ้องโดยโจทก์ได้รับการยกให้จากมารดา และโจทก์ได้เข้าครอบครองที่พิพาทปรากฏเขตตามแผนที่สังเขปท้ายฟ้องเป็นส่วนสัดมากกว่า 10 ปี จำเลยไม่ยอมแย่งกรรมสิทธิ์ในที่ดินส่วนที่โจทก์ครอบครองให้โจทก์ดังนี้ เป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
แม้ฟ้องโจทก์จะบรรยายว่า โฉนดที่พิพาทมีชื่อโจทก์จำเลยล. และ ท. ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกัน แต่ในทางพิจารณาได้ความว่ามีชื่อ ร. ในโฉนดที่พิพาทด้วย ก็ไม่ถือว่าข้อเท็จจริงที่ได้ความในทางพิจารณาแตกต่างไปจากฟ้องเพราะ ร. ซึ่งมีชื่อในโฉนดที่พิพาทด้วยเป็นที่จำเลยได้รับมรดกที่พิพาทจากบิดามารดาเช่นเดียวกับจำเลยแต่บวชเป็นพระภิกษุ ไม่เคยครอบครองที่พิพาทและได้ยกกรรมสิทธิ์ส่วนของตนให้จำเลยก่อนโจทก์ฟ้องแล้ว ดังนั้นจึงหาเกี่ยวกับที่พิพาทในส่วนที่โจทก์ได้รับการยกให้และครอบครองมากกว่า 10 ปีไม่จึงไม่ทำให้ฟ้องเสียไปแต่อย่างใด เมื่อจำเลยคัดค้านการแบ่งแยกโฉนดพิพาท ย่อมเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
แม้ฟ้องโจทก์จะบรรยายว่า โฉนดที่พิพาทมีชื่อโจทก์จำเลยล. และ ท. ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกัน แต่ในทางพิจารณาได้ความว่ามีชื่อ ร. ในโฉนดที่พิพาทด้วย ก็ไม่ถือว่าข้อเท็จจริงที่ได้ความในทางพิจารณาแตกต่างไปจากฟ้องเพราะ ร. ซึ่งมีชื่อในโฉนดที่พิพาทด้วยเป็นที่จำเลยได้รับมรดกที่พิพาทจากบิดามารดาเช่นเดียวกับจำเลยแต่บวชเป็นพระภิกษุ ไม่เคยครอบครองที่พิพาทและได้ยกกรรมสิทธิ์ส่วนของตนให้จำเลยก่อนโจทก์ฟ้องแล้ว ดังนั้นจึงหาเกี่ยวกับที่พิพาทในส่วนที่โจทก์ได้รับการยกให้และครอบครองมากกว่า 10 ปีไม่จึงไม่ทำให้ฟ้องเสียไปแต่อย่างใด เมื่อจำเลยคัดค้านการแบ่งแยกโฉนดพิพาท ย่อมเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง