พบผลลัพธ์ทั้งหมด 451 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2557/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดจากหนี้สินล้นพ้นตัว แม้มีทรัพย์สินส่วนตัวของคู่สมรส
จำเลยเป็นหนี้โจทก์ตามคำพิพากษาคดีแพ่ง จำนวน 200,000 บาทพร้อมดอกเบี้ย เมื่อครบกำหนดตามคำบังคับแล้ว จำเลยไม่ได้ชำระหนี้ศาลออกหมายบังคับคดี ปรากฏว่าจำเลยมีเงินฝากในบัญชีกระแสรายวันและบัญชีออมทรัพย์เหลือประมาณ 400 บาท และ 200 บาทตามลำดับ และไม่มีทรัพย์สินอื่นใดที่จะพึงยึดมาชำระหนี้ได้ จึงต้องด้วยข้อสันนิษฐานตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483มาตรา 8(5) ว่าจำเลยมีหนี้สินล้นพ้นแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2557/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การล้มละลาย: การพิสูจน์หนี้สินล้นพ้นตัวจากทรัพย์สินที่มีอยู่จริงและข้อสันนิษฐานตามกฎหมาย
จำเลยเป็นหนี้โจทก์ตามคำพิพากษาคดีแพ่ง จำนวน200,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย เมื่อครบกำหนดตามคำบังคับแล้วจำเลยไม่ได้ชำระหนี้ ศาลออกหมายบังคับคดี ปรากฏว่าจำเลยมีเงินฝากในบัญชีกระแสรายวันและบัญชีออมทรัพย์เหลือประมาณ 400 บาท และ 200 บาท ตามลำดับ และไม่มีทรัพย์สินอื่นใดที่จะพึง ยึดมาชำระหนี้ได้ จึงต้องด้วยข้อสันนิษฐานตาพ.ร.บ. ล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 8(5) ว่า จำเลยมีหนี้สินล้นพ้นตัว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2557/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย จากการมีหนี้สินล้นพ้นตัว และไม่มีทรัพย์สินเพียงพอชำระหนี้
จำเลยเป็นหนี้โจทก์ตามคำพิพากษาคดีแพ่ง จำนวน 200,000 บาทพร้อมดอกเบี้ย เมื่อครบกำหนดตามคำบังคับแล้ว จำเลยไม่ได้ชำระหนี้ศาลออกหมายบังคับคดี ปรากฏว่า จำเลยมีเงินฝากในบัญชีกระแสรายวันและบัญชีออมทรัพย์เหลือประมาณ 400 บาท และ 200 บาทตามลำดับ และไม่มีทรัพย์สินอื่นใดที่จะพึงยึดมาชำระหนี้ได้ จึงต้องด้วยข้อสันนิษฐานตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483มาตรา 8(5) ว่าจำเลยมีหนี้สินล้นพ้นตัว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2552/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข่มขืนใจเอาทรัพย์สินโดยอาศัยอำนาจหน้าที่และความกลัวของผู้ถูกกระทำ แม้ไม่มีการใช้กำลังโดยตรง
จำเลยทั้งสามนั่งเรือไปที่แพดูดดำแร่ ซึ่งอยู่ห่างจากชายฝั่งทะเลประมาณ 1 กิโลเมตร จำเลยที่ 1 ที่ 3 ขึ้นไปบนแพดูดดำแร่ จำเลยที่ 3 ซึ่งแต่งกายและแสดงตนว่าเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ มีอาวุธปืนติดตัวมองเห็นได้บอก ว. ให้ตักแร่ให้ ว. กับพวกกลัว ตักแร่ให้ 1 ถุง น้ำหนัก 20 กิโลกรัมราคาประมาณ 1,200 บาท โดยไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 3 ได้ใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้ายอย่างใด การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดฐานปล้นทรัพย์แต่ตามพฤติการณ์เห็นได้ว่าจำเลยได้อาศัยการที่จำเลยที่ 3เป็นเจ้าพนักงานตำรวจ มีอาวุธปืนติดตัว ประกอบกับที่เกิดเหตุอยู่ในท้องทะเล ไม่มีผู้ใดจะรู้เห็นหรือช่วยเหลือได้ทันถ้าขัดขืนเป็นการบังคับ ว. กับพวกอยู่ในทีแล้ว ถือได้ว่าเป็นการร่วมกันข่มขืนใจให้ ว. ต้องตักแร่ให้ โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย และเสรีภาพของ ว. กับพวก เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309 วรรคสอง ส่วนจำเลยที่ 2 มาด้วยกับจำเลยที่ 1, ที่ 3 แม้ขณะเกิดเหตุจะนั่งอยู่ในเรือแต่ก็อยู่ติดกับแพดูดดำแร่เห็นกันชัดเจน แสดงว่าแบ่งหน้าที่กันทำ เมื่อได้แร่แล้วก็กลับไปพร้อมกัน ถือว่าจำเลยที่ 2 ร่วมกระทำผิดกับจำเลยที่ 1 ที่ 3 ด้วย เรือพร้อมเครื่องยนต์ของกลางจำเลยทั้งสามใช้เป็นยานพาหนะไปมาเท่านั้น การกระทำผิดเกิดขึ้นที่บนแพ ไม่เกี่ยวกับเรือและเครื่องยนต์ การที่จำเลยได้แร่มาแล้วบรรทุกเรือไปเป็นเรื่องใช้ยานพาหนะตามปกติ ไม่ใช่ทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำผิดอันจะพึงริบตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33(1).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2552/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข่มขืนใจตักแร่ - ความผิดฐานร่วมกันข่มขืนใจและเรือไม่ใช่ทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำผิด
จำเลยทั้งสามนั่งเรือไปที่แพดูดดำแร่ ซึ่งอยู่ห่างจากชายฝั่งทะเลประมาณ 1 กิโลเมตร จำเลยที่ 1 ที่ 3 ขึ้นไปบนแพดูดดำแร่ จำเลยที่ 3 ซึ่งแต่งกายและแสดงตนว่าเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ มีอาวุธปืนติดตัวมองเห็น ได้บอก ว.ให้ตักแร่ให้ ว. กับพวกกลัว ตักแร่ให้ 1 ถุง น้ำหนัก 20กิโลกรัม ราคาประมาณ 1,200 บาท ไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 3 ได้ใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้ายอย่างใด การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดฐานปล้นทรัพย์ แต่ตามพฤติการณ์ย่อมเห็นได้ว่าจำเลยได้อาศัยการที่จำเลยที่ 3 เป็นเจ้าพนักงานตำรวจ มีอาวุธปืนติดตัวประกอบกับที่เกิดเหตุอยู่ในท้องทะเล ไม่มีผู้ใดจะรู้เห็นหรือช่วยเหลือได้ทันถ้าขัดขืน เป็นการบังคับ ว. กับพวกอยู่ในทีแล้ว ถือได้ว่าเป็นการร่วมกันข่มขืนใจให้ ว. ต้องตักแร่ให้ โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกายและเสรีภาพของ ว. กับพวก เป็นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 309วรรคสอง แล้ว สำหรับจำเลยที่ 2 มาด้วยกับจำเลยที่ 1 ที่ 3ขณะเกิดเหตุแม้จะนั่งอยู่ในเรือ แต่ก็อยู่ติดกับแพดูดดำแร่เห็นกันชัดเจน แสดงว่าแบ่งหน้าที่กันทำ เมื่อได้แร่แล้วก็กลับไปพร้อมกัน ถือว่าจำเลยที่ 2 ร่วมกระทำผิดกับจำเลยที่ 1 ที่ 3 ด้วย.
เรือพร้อมเครื่องยนต์ ของกลางจำเลยทั้งสามใช้เป็นยานพาหนะไปมาเท่านั้น เป็นเรื่องใช้ยานพาหนะตามปกติไม่ใช่ทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำผิดอันจะพึง ริบตามป.อ. มาตรา 33(1).
เรือพร้อมเครื่องยนต์ ของกลางจำเลยทั้งสามใช้เป็นยานพาหนะไปมาเท่านั้น เป็นเรื่องใช้ยานพาหนะตามปกติไม่ใช่ทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำผิดอันจะพึง ริบตามป.อ. มาตรา 33(1).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2552/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข่มขืนใจเอาทรัพย์สินโดยอาศัยตำแหน่งเจ้าพนักงาน และความผิดฐานปล้นทรัพย์ ศาลฎีกาตัดสินแย้ง
จำเลยทั้งสามนั่งเรือไปที่แพดูดดำแร่ ซึ่งอยู่ห่างจากชายฝั่งทะเลประมาณ 1 กิโลเมตร จำเลยที่ 1 ที่ 3 ขึ้นไปบนแพดูดดำแร่ จำเลยที่ 3 ซึ่งแต่งกายและแสดงตนว่าเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ มีอาวุธปืนติดตัวมองเห็นได้บอก ว. ให้ตักแร่ให้ ว. กับพวกกลัว ตักแร่ให้ 1 ถุง น้ำหนัก 20 กิโลกรัมราคาประมาณ 1,200 บาท โดยไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 3 ได้ใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้ายอย่างใด การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดฐานปล้นทรัพย์แต่ตามพฤติการณ์เห็นได้ว่าจำเลยได้อาศัยการที่จำเลยที่ 3เป็นเจ้าพนักงานตำรวจ มีอาวุธปืนติดตัว ประกอบกับที่เกิดเหตุอยู่ในท้องทะเล ไม่มีผู้ใดจะรู้เห็นหรือช่วยเหลือได้ทันถ้าขัดขืนเป็นการบังคับ ว. กับพวกอยู่ในทีแล้ว ถือได้ว่าเป็นการร่วมกันข่มขืนใจให้ ว. ต้องตักแร่ให้ โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย และเสรีภาพของ ว. กับพวก เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309 วรรคสอง ส่วนจำเลยที่ 2 มาด้วยกับจำเลยที่ 1, ที่ 3 แม้ขณะเกิดเหตุจะนั่งอยู่ในเรือแต่ก็อยู่ติดกับแพดูดดำแร่เห็นกันชัดเจน แสดงว่าแบ่งหน้าที่กันทำ เมื่อได้แร่แล้วก็กลับไปพร้อมกัน ถือว่าจำเลยที่ 2 ร่วมกระทำผิดกับจำเลยที่ 1 ที่ 3 ด้วย
เรือพร้อมเครื่องยนต์ของกลางจำเลยทั้งสามใช้เป็นยานพาหนะไปมาเท่านั้น การกระทำผิดเกิดขึ้นที่บนแพ ไม่เกี่ยวกับเรือและเครื่องยนต์ การที่จำเลยได้แร่มาแล้วบรรทุกเรือไปเป็นเรื่องใช้ยานพาหนะตามปกติ ไม่ใช่ทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำผิดอันจะพึงริบตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33(1).
เรือพร้อมเครื่องยนต์ของกลางจำเลยทั้งสามใช้เป็นยานพาหนะไปมาเท่านั้น การกระทำผิดเกิดขึ้นที่บนแพ ไม่เกี่ยวกับเรือและเครื่องยนต์ การที่จำเลยได้แร่มาแล้วบรรทุกเรือไปเป็นเรื่องใช้ยานพาหนะตามปกติ ไม่ใช่ทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำผิดอันจะพึงริบตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33(1).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2399/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค่าจ้างว่าความ: การรับสภาพหนี้ด้วยเช็คและการฟ้องแย้งที่ไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นหลัก
เมื่อมีข้อตกลงกันว่า ถ้า โจทก์ฟ้องคดีให้จำเลยได้เงินจำนวน10 ล้านบาท จำเลยจะต้อง จ่ายเงินค่าจ้างว่าความให้แก่โจทก์จำนวน1 ล้านบาท ภายหลังที่คดีเสร็จเด็ดขาดแล้ว สิทธิเรียกร้องในค่าว่าจ้างว่าความของโจทก์ก็ย่อมเริ่มนับแต่วันที่จำเลยได้รับเงินจำนวนดังกล่าวเป็นต้นไป เมื่อนับถึง วันยื่นฟ้องเลยระยะเวลา2 ปี คดีของโจทก์ย่อมขาดอายุความ แม้ก่อนหน้านั้นจำเลยได้ ชำระค่าจ้างว่าความให้โจทก์เป็นเช็ค ซึ่ง เป็นการรับสภาพหนี้ อายุความย่อมสะดุดหยุดลงและเริ่มต้นนับกันใหม่นับแต่วันที่ระบุในเช็คอันเป็นวันที่โจทก์สามารถบังคับตาม สิทธิเรียกร้องได้ เป็นต้นไปแต่ เมื่อนับถึง วันฟ้องก็ล่วงเลยระยะเวลา 2 ปี คดีโจทก์จึงขาดอายุความ
ฟ้องเดิมของโจทก์เป็นเรื่องที่ขอให้ศาลบังคับจำเลยชำระค่าจ้างว่าความที่ค้าง เมื่อจำเลยให้การปฏิเสธ คดีจึงมีประเด็นเพียงว่า จำเลยยังคงค้างชำระค่าจ้างว่าความอยู่จริงหรือไม่ การที่จำเลยฟ้องแย้งขอเรียกทรัพย์คืนโดย อ้างเหตุเนรคุณเป็นคนละเรื่องคนละประเด็น แตกต่าง ไปจากฟ้องเดิมของโจทก์ที่ขอบังคับตาม สัญญาจ้างว่าความ หาได้ เกี่ยวข้องกับสิทธิและหน้าที่ตาม สัญญาที่โจทก์อ้างความผูกพันอันจำเลยจะต้อง รับผิดไม่ หากจำเลยเห็นว่าเงินที่มอบให้โจทก์ไปนั้นความจริงเป็นการให้โดย เสน่หา และการกระทำของโจทก์เป็นการประพฤติเนรคุณ อันเป็นต้นเหตุให้จำเลยมีสิทธิถอนคืนการให้ได้ แล้ว ก็ชอบที่จำเลยจะไปว่ากล่าวเป็นคดีอีกเรื่องหนึ่งต่างหากฟ้องแย้งของจำเลยจึงไม่อาจรับไว้พิจารณารวมกับฟ้องเดิมได้
ฟ้องเดิมของโจทก์เป็นเรื่องที่ขอให้ศาลบังคับจำเลยชำระค่าจ้างว่าความที่ค้าง เมื่อจำเลยให้การปฏิเสธ คดีจึงมีประเด็นเพียงว่า จำเลยยังคงค้างชำระค่าจ้างว่าความอยู่จริงหรือไม่ การที่จำเลยฟ้องแย้งขอเรียกทรัพย์คืนโดย อ้างเหตุเนรคุณเป็นคนละเรื่องคนละประเด็น แตกต่าง ไปจากฟ้องเดิมของโจทก์ที่ขอบังคับตาม สัญญาจ้างว่าความ หาได้ เกี่ยวข้องกับสิทธิและหน้าที่ตาม สัญญาที่โจทก์อ้างความผูกพันอันจำเลยจะต้อง รับผิดไม่ หากจำเลยเห็นว่าเงินที่มอบให้โจทก์ไปนั้นความจริงเป็นการให้โดย เสน่หา และการกระทำของโจทก์เป็นการประพฤติเนรคุณ อันเป็นต้นเหตุให้จำเลยมีสิทธิถอนคืนการให้ได้ แล้ว ก็ชอบที่จำเลยจะไปว่ากล่าวเป็นคดีอีกเรื่องหนึ่งต่างหากฟ้องแย้งของจำเลยจึงไม่อาจรับไว้พิจารณารวมกับฟ้องเดิมได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2399/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องค่าจ้างว่าความ & ฟ้องแย้งเหตุเนรคุณไม่เกี่ยวเนื่องกับฟ้องเดิม
เมื่อมีข้อตกลงกันว่า ถ้าโจทก์ฟ้องคดีให้จำเลยได้เงินจำนวน10 ล้านบาท จำเลยจะต้องจ่ายเงินค่าจ้างว่าความให้แก่โจทก์จำนวน1 ล้านบาท ภายหลังที่คดีเสร็จเด็ดขาดแล้ว สิทธิเรียกร้องในค่าจ้างว่าความของโจทก์ก็ย่อมเริ่มนับตั้งแต่วันที่จำเลยได้รับเงินจำนวนดังกล่าวเป็นต้นไป เมื่อนับถึงวันยื่นฟ้องเลยระยะเวลา 2 ปีคดีของโจทก์ย่อมขาดอายุความ แม้ก่อนหน้านั้นจำเลยได้ชำระค่าจ้างว่าความให้โจทก์เป็นเช็คซึ่งเป็นการรับสภาพหนี้ อายุความย่อมสะดุดหยุดลงและเริ่มต้นนับกันใหม่นับตั้งแต่วันที่ระบุในเช็คอันเป็นวันที่โจทก์สามารถบังคับตามสิทธิเรียกร้องได้เป็นต้นไปแต่เมื่อนับถึงวันฟ้องก็ล่วงเลยระยะเวลา 2 ปี คดีโจทก์จึงขาดอายุความ ฟ้องเดิมของโจทก์เป็นเรื่องที่ขอให้ศาลบังคับจำเลยชำระค่าจ้างว่าความที่ค้าง เมื่อจำเลยให้การปฏิเสธ คดีจึงมีประเด็นเพียงว่าจำเลยยังคงค้างชำระค่าจ้างว่าความอยู่จริงหรือไม่ การที่จำเลยฟ้องแย้งขอเรียกทรัพย์คืนโดยอ้างเหตุเนรคุณเป็นคนละเรื่องคนละประเด็นแตกต่างไปจากฟ้องเดิมของโจทก์ที่ขอบังคับตามสัญญาจ้างว่าความ หาได้เกี่ยวข้องกับสิทธิและหน้าที่ตามสัญญาที่โจทก์อ้างความผูกพันอันจำเลยจะต้องรับผิดไม่ หากจำเลยเห็นว่าเงินที่มอบให้โจทก์ไปนั้นความจริงเป็นการให้โดยเสน่หา และการกระทำของโจทก์เป็นการประพฤติเนรคุณ อันเป็นต้นเหตุให้จำเลยมีสิทธิถอนคืนการให้ได้แล้ว ก็ชอบที่จำเลยจะไปว่ากล่าวเป็นคดีอีกเรื่องหนึ่งต่างหาก ฟ้องแย้งของจำเลยจึงไม่อาจรับไว้พิจารณารวมกับฟ้องเดิมได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2399/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค่าจ้างว่าความ และการฟ้องแย้งที่ไม่เกี่ยวเนื่องกับฟ้องเดิม
เมื่อมีข้อตกลงกันว่า ถ้า โจทก์ฟ้องคดีให้จำเลยได้เงินจำนวน10 ล้านบาท จำเลยจะต้อง จ่ายเงินค่าจ้างว่าความให้แก่โจทก์จำนวน1 ล้านบาท ภายหลังที่คดีเสร็จเด็ดขาดแล้ว สิทธิเรียกร้องในค่าว่าจ้างว่าความของโจทก์ก็ย่อมเริ่มนับแต่วันที่จำเลยได้รับเงินจำนวนดังกล่าวเป็นต้นไป เมื่อนับถึง วันยื่นฟ้องเลยระยะเวลา2 ปี คดีของโจทก์ย่อมขาดอายุความ แม้ก่อนหน้านั้นจำเลยได้ ชำระค่าจ้างว่าความให้โจทก์เป็นเช็ค ซึ่ง เป็นการรับสภาพหนี้ อายุความย่อมสะดุดหยุดลงและเริ่มต้นนับกันใหม่นับแต่วันที่ระบุในเช็คอันเป็นวันที่โจทก์สามารถบังคับตาม สิทธิเรียกร้องได้ เป็นต้นไปแต่ เมื่อนับถึง วันฟ้องก็ล่วงเลยระยะเวลา 2 ปี คดีโจทก์จึงขาดอายุความ ฟ้องเดิมของโจทก์เป็นเรื่องที่ขอให้ศาลบังคับจำเลยชำระค่าจ้างว่าความที่ค้าง เมื่อจำเลยให้การปฏิเสธ คดีจึงมีประเด็นเพียงว่า จำเลยยังคงค้างชำระค่าจ้างว่าความอยู่จริงหรือไม่ การที่จำเลยฟ้องแย้งขอเรียกทรัพย์คืนโดย อ้างเหตุเนรคุณเป็นคนละเรื่องคนละประเด็น แตกต่าง ไปจากฟ้องเดิมของโจทก์ที่ขอบังคับตาม สัญญาจ้างว่าความ หาได้ เกี่ยวข้องกับสิทธิและหน้าที่ตาม สัญญาที่โจทก์อ้างความผูกพันอันจำเลยจะต้อง รับผิดไม่ หากจำเลยเห็นว่าเงินที่มอบให้โจทก์ไปนั้นความจริงเป็นการให้โดย เสน่หา และการกระทำของโจทก์เป็นการประพฤติเนรคุณ อันเป็นต้นเหตุให้จำเลยมีสิทธิถอนคืนการให้ได้ แล้ว ก็ชอบที่จำเลยจะไปว่ากล่าวเป็นคดีอีกเรื่องหนึ่งต่างหากฟ้องแย้งของจำเลยจึงไม่อาจรับไว้พิจารณารวมกับฟ้องเดิมได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2376-2378/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจบอกเลิกสัญญาได้ หากสิทธิในสัญญามีภาระเกินกว่าประโยชน์ที่จะได้รับ
การที่ผู้ร้องกับพวกทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน และสัญญาว่าจ้างปลูกสร้างอาคารกับจำเลยที่ 1 ผู้ร้องกับพวกคงค้างชำระเงินตามสัญญาดังกล่าวเป็นเงิน 506,370 บาท จำเลยที่ 1 ยังไม่ได้โอนที่ดินให้ผู้ร้องกับพวก แต่ กลับนำที่ดินตาม สัญญาดังกล่าวและที่ดินอื่นรวม 31 โฉนด ไปจำนองบริษัท ส. จำกัด ในวงเงิน8,000,000 บาท ต่อมาศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์จำเลยที่ 1 เด็ดขาด บริษัท ส. จำกัด ยื่นขอรับชำระหนี้ในฐานะเจ้าหนี้มีประกัน โดย ขอให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ขายทอดตลาดที่ดินที่จำนองและขอรับชำระหนี้สำหรับหนี้จำนวนที่ขาดจากยอดหนี้10,589,687.88 บาท ตาม พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483มาตรา 96(3) ดังนี้ เมื่อสิทธิตาม สัญญาที่จำเลยที่ 1 จะได้รับเงินจากผู้ร้องกับพวกเป็นเงินจำนวนน้อยเมื่อเทียบกับความยุ่งยากหรือภาระที่จะต้อง ปฏิบัติให้เป็นไปตาม สัญญา จึงเป็นกรณีที่สิทธิตาม สัญญามีภาระเกินควรกว่าประโยชน์ที่จะพึงได้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ผู้คัดค้านมีอำนาจที่จะไม่ยอมรับทรัพย์สินหรือสิทธิตาม สัญญานั้นโดย บอกเลิกสัญญาที่ทำขึ้นระหว่างจำเลยที่ 1 กับผู้ร้องกับพวกได้ ตาม พระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ. 2483 มาตรา 122