คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
สีนวล คงลาภ

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 502 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1033/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิลูกจ้างได้รับค่าจ้างวันหยุดพักผ่อนประจำปี แม้ไม่ได้ใช้สิทธิลาพักผ่อน นายจ้างต้องจ่ายตามส่วน
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 45 กำหนดเพียงว่า ถ้านายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างประจำโดยลูกจ้างมิได้มีความผิดตามข้อ 47 ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างแก่ลูกจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีตามส่วนที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับ โดยมิได้กำหนดเงื่อนไขไว้ว่าถ้าลูกจ้างไม่ใช้สิทธิขอลาหยุดแล้วจะไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างดังกล่าว จำเลยจึงต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีที่โจทก์มิได้ใช้สิทธิลาพักให้แก่โจทก์จำเลยจะอ้างว่าโจทก์ไม่ใช้สิทธิของโจทก์เองไม่ได้ เพราะจำเลยมิได้กำหนดไว้ล่วงหน้าให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีในช่วงใด.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 973/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การกระทำไม่เป็นความผิดฐานฉ้อโกงและทำลายเอกสาร เนื่องจากไม่มีเจตนาทุจริตและเอกสารไม่ใช่ของผู้เสียหาย
โจทก์ยินยอมให้จำเลยที่ 1 กู้เงินมาตั้งแต่แรก การที่จำเลยที่ 1 ให้คำรับรองว่า จำเลยที่ 2 ที่ 3 จะเปลี่ยน น.ส.3 ให้โจทก์และจะค้ำประกันการกู้ยืมเงินของจำเลยที่ 1 เป็นเหตุการณ์ในภายหน้าที่จำเลยที่ 1 รับจะดำเนินการดังกล่าวให้ หากโจทก์ไม่พอใจในหลักประกัน แม้ต่อมาจำเลยที่ 2 ที่ 3 ไม่เปลี่ยนน.ส.3 และไม่ยอมค้ำประกันจำเลยที่ 1 ก็เป็นเรื่องที่จำเลยที่1 ไม่ปฏิบัติตามคำรับรองที่ให้ไว้แก่โจทก์เท่านั้น จำเลยที่1 ไม่มีความผิดฐานฉ้อโกง
ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 188 จะต้องเป็นการทำให้เสียหาย ทำลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย หรือทำให้สูญหาย หรือไร้ประโยชน์ซึ่งพินัยกรรมหรือเอกสารใดของผู้อื่น โจทก์บรรยายฟ้องว่า น.ส.3ที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 เอาไปจากโจทก์ เป็นของจำเลยที่ 2 และที่3 เองจึงมิใช่เป็นการเอาไปเสียซึ่งเอกสารของผู้อื่น การกระทำของจำเลยที่ 2 และที่ 3 จึงไม่เป็นความผิดตามบทบัญญัติดังกล่าว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 973/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การกระทำไม่เข้าข่ายฉ้อโกงและทำลายเอกสาร เนื่องจากความยินยอมเริ่มแรกและเอกสารเป็นของผู้กระทำ
โจทก์ยินยอมให้จำเลยที่ 1 กู้เงินมาตั้งแต่แรก การที่จำเลยที่ 1 ให้คำรับรองว่า จำเลยที่ 2 ที่ 3 จะเปลี่ยน น.ส.3 ให้โจทก์และจะค้ำประกันการกู้ยืมเงินของจำเลยที่ 1 เป็นเหตุการณ์ในภายหน้าที่จำเลยที่ 1 รับจะดำเนินการดังกล่าวให้ หากโจทก์ไม่พอใจในหลักประกัน แม้ต่อมาจำเลยที่ 2 ที่ 3 ไม่เปลี่ยนน.ส.3 และไม่ยอมค้ำประกันจำเลยที่ 1 ก็เป็นเรื่องที่จำเลยที่1 ไม่ปฏิบัติตามคำรับรองที่ให้ไว้แก่โจทก์เท่านั้น จำเลยที่1 ไม่มีความผิดฐานฉ้อโกง
ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 188 จะต้องเป็นการทำให้เสียหาย ทำลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย หรือทำให้สูญหาย หรือไร้ประโยชน์ซึ่งพินัยกรรมหรือเอกสารใดของผู้อื่น โจทก์บรรยายฟ้องว่า น.ส.3ที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 เอาไปจากโจทก์ เป็นของจำเลยที่ 2 และที่3 เองจึงมิใช่เป็นการเอาไปเสียซึ่งเอกสารของผู้อื่น การกระทำของจำเลยที่ 2 และที่ 3 จึงไม่เป็นความผิดตามบทบัญญัติดังกล่าว.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 959/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การพิจารณาความผิดฐานพยายามฆ่าโดยไตร่ตรองไว้ก่อน และความผิดฐานมีอาวุธปืนโดยไม่ได้รับอนุญาต
ผู้เสียหายกับจำเลยทั้งสองไม่เคยมีสาเหตุโกรธเคืองกัน และไม่ปรากฏว่าผู้เสียหายมีเรื่องขัดแย้งกับผู้อื่นอย่างร้ายแรงอันจะทำให้เห็นได้ว่าจำเลยทั้งสองถูกจ้างวานมาฆ่าผู้เสียหาย ดังนี้ การที่จำเลยทั้งสองร่วมกันใช้อาวุธปืนยิงผู้เสียหายที่ใต้ถุนบ้านของผู้เสียหายโดยไม่ปรากฏว่าจำเลยทั้งสองได้วางแผนมาก่อนหรือมาซุ่มรอเพื่อจะดักฆ่าผู้เสียหายนั้น จะถือว่าเป็นการกระทำโดยไตร่ตรองไว้ก่อนยังไม่ถนัด เพราะจำเลยทั้งสองอาจคิดฆ่าผู้เสียหายในขณะเดินผ่านที่เกิดเหตุก็เป็นได้
คดีไม่ได้ความว่าจำเลยทั้งสองไม่เคยได้รับใบอนุญาตให้มีอาวุธปืนไว้ในครอบครองตามกฎหมาย คงได้ความเพียงว่าจำเลยทั้งสองไม่เคยได้รับใบอนุญาตให้พกพาอาวุธปืนเท่านั้น เมื่อไม่ได้อาวุธปืนมาเป็นของกลางจะฟังว่าจำเลยทั้งสองมีความผิดฐานมีอาวุธปืนโดยไม่ได้รับอนุญาตหาได้ไม่ แต่เมื่อจำเลยที่ 1เป็นผู้ใช้อาวุธปืนยิงผู้เสียหายแล้วพาอาวุธปืนนั้นไป จำเลยที่ 1 จึงต้องมีความผิดฐานพาอาวุธปืนไปในหมู่บ้านหรือทางสาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ส่วนจำเลยที่ 2 เมื่อข้อเท็จจริงไม่ได้ความว่ามีส่วนร่วมใน การพาอาวุธปืน จึงไม่มีความผิดในฐานนี้ด้วย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 959/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การพยายามฆ่าโดยไม่มีเจตนาไตร่ตรอง และความผิดฐานพาอาวุธปืนโดยไม่ได้รับอนุญาต
ผู้เสียหายกับจำเลยทั้งสองไม่เคยมีสาเหตุโกรธเคืองกัน และไม่ปรากฏว่าผู้เสียหายมีเรื่องขัดแย้งกับผู้อื่นอย่างร้ายแรงอันจะทำให้เห็นได้ว่าจำเลยทั้งสองถูกจ้างวานมาฆ่าผู้เสียหายดังนี้ การที่จำเลยทั้งสองร่วมกันใช้อาวุธปืนยิงผู้เสียหายที่ใต้ถุนบ้านของผู้เสียหายโดยไม่ปรากฏว่าจำเลยทั้งสองได้วางแผนมาก่อนหรือมาซุ่มรอเพื่อจะดักฆ่าผู้เสียหายนั้น จะถือว่าเป็นการกระทำโดยไตร่ตรองไว้ก่อนยังไม่ถนัด เพราะจำเลยทั้งสองอาจคิดฆ่าผู้เสียหายในขณะเดินผ่านที่เกิดเหตุก็เป็นได้ คดีไม่ได้ความว่าจำเลยทั้งสองไม่เคยได้รับใบอนุญาตให้มีอาวุธปืนไว้ในครอบครองตามกฎหมาย คงได้ความเพียงว่าจำเลยทั้งสองไม่เคยได้รับใบอนุญาตให้พกพาอาวุธปืนเท่านั้น เมื่อไม่ได้อาวุธปืนมาเป็นของกลางจะฟังว่าจำเลยทั้งสองมีความผิดฐานมีอาวุธปืนโดยไม่ได้รับอนุญาตหาได้ไม่แต่เมื่อจำเลยที่ 1เป็นผู้ใช้อาวุธปืนยิงผู้เสียหายแล้วพาอาวุธปืนนั้นไป จำเลยที่ 1 จึงต้องมีความผิดฐานพาอาวุธปืนไปในหมู่บ้านหรือทางสาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ส่วนจำเลยที่ 2 เมื่อข้อเท็จจริงไม่ได้ความว่ามีส่วนร่วมในการพาอาวุธปืน จึงไม่มีความผิดในฐานนี้ด้วย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 959/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฆ่าโดยไม่มีเจตนาไตร่ตรองไว้ก่อน และความผิดฐานมีอาวุธปืน
ผู้เสียหายกับจำเลยทั้งสองไม่เคยมีสาเหตุโกรธเคืองกัน และไม่ปรากฏว่าผู้เสียหายมีเรื่องขัดแย้งกับผู้อื่นอย่างร้ายแรงอันจะทำให้เห็นได้ว่าจำเลยทั้งสองถูกจ้างวานมาฆ่าผู้เสียหาย ดังนี้ การที่จำเลยทั้งสองร่วมกันใช้อาวุธปืนยิงผู้เสียหายที่ใต้ถุนบ้านของผู้เสียหายโดยไม่ปรากฏว่าจำเลยทั้งสองได้วางแผนมาก่อนหรือมาซุ่มรอเพื่อจะดักฆ่าผู้เสียหายนั้น จะถือว่าเป็นการกระทำโดยไตร่ตรองไว้ก่อนยังไม่ถนัดเพราะจำเลยทั้งสองอาจคิดฆ่าผู้เสียหายในขณะเดินผ่านที่เกิดเหตุก็เป็นได้
คดีไม่ได้ความว่าจำเลยทั้งสองไม่เคยได้รับใบอนุญาตให้มีอาวุธปืนไว้ในครอบครองตามกฎหมาย คงได้ความเพียงว่าจำเลยทั้งสองไม่เคยได้รับใบอนุญาตให้พกพาอาวุธปืนเท่านั้น เมื่อไม่ได้อาวุธปืนมาเป็นของกลางจะฟังว่าจำเลยทั้งสองมีความผิดฐานมีอาวุธปืนโดยไม่ได้รับอนุญาตหาได้ไม่ แต่เมื่อจำเลยที่ 1เป็นผู้ใช้อาวุธปืนยิงผู้เสียหายแล้วพาอาวุธปืนนั้นไป จำเลยที่ 1 จึงต้องมีความผิดฐานพาอาวุธปืนไปในหมู่บ้านหรือทางสาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ส่วนจำเลยที่ 2 เมื่อข้อเท็จจริงไม่ได้ความว่ามีส่วนร่วมในการพาอาวุธปืน จึงไม่มีความผิดในฐานนี้ด้วย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 794/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ค่าเสียหาย และสิทธิวันหยุดพักผ่อนประจำปี เมื่อศาลสั่งกลับเข้าทำงาน
ศาลแรงงานกลางพิพากษาว่านายจ้างเลิกจ้างโจทก์อันเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมให้นายจ้างรับโจทก์กลับเข้าทำงาน และจ่ายค่าเสียหายให้โจทก์วันละ 70 บาท นับแต่วันเลิกจ้างจนถึง วันรับโจทก์กลับเข้าทำงาน การกำหนดค่าเสียหายดังกล่าว เป็นเรื่องค่าเสียหายทั่วไป หาใช่เป็นการกำหนดให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้โจทก์ อันพึงต้องอยู่บังคับของประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำไม่ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 45หมายความว่า ได้มีการเลิกจ้างโดยไม่มีสภาพการจ้างอยู่ต่อไปอีกลูกจ้างจึงจะมีสิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจำปีจากนายจ้างได้ แต่กรณีศาลแรงงานพิพากษาให้นายจ้างรับโจทก์กลับเข้าทำงานในตำแหน่งหน้าที่และอัตราค่าจ้างไม่ต่ำกว่าเดิมนั้นโจทก์กับนายจ้างกลับมีสภาพการเป็นลูกจ้างและนายจ้างกันต่อไปทั้งนายจ้างก็ยังมีสิทธิกำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้โจทก์หยุดได้ตามข้อ 10 โจทก์จึงหมดสิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจำปีตามข้อ 32(3) และข้อ 45

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 794/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างไม่เป็นธรรมและการเรียกร้องค่าจ้างวันหยุดพักผ่อนประจำปีหลังกลับเข้าทำงาน
ศาลแรงงานกลางพิพากษาว่านายจ้างเลิกจ้างโจทก์อันเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมให้นายจ้างรับโจทก์กลับเข้าทำงาน และจ่ายค่าเสียหายให้โจทก์วันละ 70 บาท นับแต่วันเลิกจ้างจนถึงวันรับโจทก์กลับเข้าทำงาน การกำหนดค่าเสียหายดังกล่าวเป็นเรื่องค่าเสียหายทั่วไป หาใช่เป็นการกำหนดให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่โจทก์อันพึงต้องอยู่ในบังคับของประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำไม่
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 45 หมายความว่าได้มีการเลิกจ้างโดยไม่มีสภาพการจ้างอยู่ต่อไปอีก ลูกจ้างจึงจะมีสิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจำปีจากนายจ้างได้ แต่กรณีศาลแรงงานพิพากษาให้นายจ้างรับโจทก์กลับเข้าทำงานในตำแหน่งหน้าที่และอัตราค่าจ้างไม่ต่ำกว่าเดิมนั้น โจทก์กับนายจ้างกลับมีสภาพการเป็นลูกจ้างและนายจ้างกันต่อไปทั้งนายจ้างก็ยังมีสิทธิกำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้โจทก์หยุดได้ตามข้อ 10 โจทก์จึงหมดสิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจำปีตามข้อ 32(3) และข้อ 45.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 794/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างไม่เป็นธรรมและการจ่ายค่าเสียหาย/ค่าจ้างวันหยุดพักผ่อนประจำปีเมื่อมีการกลับเข้าทำงาน
ศาลแรงงานกลางพิพากษาว่านายจ้างเลิกจ้างโจทก์อันเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมให้นายจ้างรับโจทก์กลับเข้าทำงาน และจ่ายค่าเสียหายให้โจทก์วันละ 70 บาท นับแต่วันเลิกจ้างจนถึงวันรับโจทก์กลับเข้าทำงาน การกำหนดค่าเสียหายดังกล่าวเป็นเรื่องค่าเสียหายทั่วไป หาใช่เป็นการกำหนดให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่โจทก์อันพึงต้องอยู่ในบังคับของประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำไม่
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 45 หมายความว่าได้มีการเลิกจ้างโดยไม่มีสภาพการจ้างอยู่ต่อไปอีก ลูกจ้างจึงจะมีสิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจำปีจากนายจ้างได้ แต่กรณีศาลแรงงานพิพากษาให้นายจ้างรับโจทก์กลับเข้าทำงานในตำแหน่งหน้าที่และอัตราค่าจ้างไม่ต่ำกว่าเดิมนั้น โจทก์กับนายจ้างกลับมีสภาพการเป็นลูกจ้างและนายจ้างกันต่อไป ทั้งนายจ้างก็ยังมีสิทธิกำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้โจทก์หยุดได้ตามข้อ 10 โจทก์จึงหมดสิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจำปีตามข้อ 32 (3) และข้อ 45

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 792/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การคำนวณสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าสำหรับลูกจ้างรายวัน โดยหักวันหยุดประจำสัปดาห์
โจทก์เป็นลูกจ้างของจำเลย ได้รับค่าจ้างเป็นรายวัน กำหนดจ่ายค่าจ้างในวันที่ 1 และ 16 ของเดือน วันทำงานตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันเสาร์ วันอาทิตย์เป็นวันหยุดประจำสัปดาห์ จำเลยเลิกจ้างโจทก์เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2529 แม้วันที่ 16 พฤศจิกายน 2529จะเป็นวันหยุดประจำสัปดาห์และมีการจ่ายสินจ้างในวันที่ 17 ก็ตามการเลิกจ้างก็ย่อมมีผลในวันที่ 16 ธันวาคม 2529 ซึ่งเป็นวันถึงกำหนดจ่ายสินจ้างคราวถัดไปและต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าถึงงวดวันที่ 16 ธันวาคม 2529 รวมเป็น 29 วัน แต่โดยที่ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว มีวันหยุดประจำสัปดาห์ 4 วัน จำเลยจึงต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าแก่โจทก์ 25 วัน
of 51