คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
สีนวล คงลาภ

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 502 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3254/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างลูกจ้างเนื่องจากละทิ้งหน้าที่โดยไม่แจ้งล่วงหน้า แม้มีสิทธิปฏิเสธงานล่วงเวลา
นายจ้างกำหนดให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลา โดยกรมแรงงานมีคำสั่งอนุมัติแล้ว นายจ้างจึงประกาศกำหนดให้ลูกจ้างปฏิบัติงานตอนกลางคืนเวลา 20 นาฬิกา ถึง 8 นาฬิกาของวันรุ่งขึ้น หากลูกจ้างไม่มาปฏิบัติงานและไม่แจ้งล่วงหน้า ให้ถือว่าลูกจ้างผู้นั้นขาดงานและละทิ้งหน้าที่ ดังนี้ลูกจ้างมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามประกาศ เมื่อลูกจ้างไม่ปฏิบัติงานล่วงเวลาโดยไม่แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบล่วงหน้าย่อมผิดข้อบังคับ ลูกจ้างจะอ้างว่าเป็นสิทธิที่จะไม่ปฏิบัติงานล่วงเวลาหาได้ไม่ และการละทิ้งหน้าที่เป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหายประมาณ 600,000 บาท ถือว่าลูกจ้างกระทำผิดเป็นกรณีร้ายแรงและเป็นการจงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3254/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ลูกจ้างมีหน้าที่ปฏิบัติตามประกาศนายจ้างเรื่องการทำงานล่วงเวลา หากไม่แจ้งลาถือเป็นการละทิ้งหน้าที่และอาจถูกเลิกจ้างได้
นายจ้างกำหนดให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลา โดยกรมแรงงานมีคำสั่งอนุมัติแล้ว นายจ้างจึงประกาศกำหนดให้ลูกจ้างปฏิบัติงานตอนกลางคืนเวลา 20 นาฬิกา ถึง 8 นาฬิกาของวันรุ่งขึ้น หากลูกจ้างไม่มาปฏิบัติงานและไม่แจ้งล่วงหน้า ให้ถือว่าลูกจ้างผู้นั้นขาดงานและละทิ้งหน้าที่ ดังนี้ลูกจ้างมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามประกาศ เมื่อลูกจ้างไม่ปฏิบัติงานล่วงเวลาโดยไม่แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบล่วงหน้าย่อมผิดข้อบังคับ ลูกจ้างจะอ้างว่าเป็นสิทธิที่จะไม่ปฏิบัติงานล่วงเวลาหาได้ไม่ และการละทิ้งหน้าที่เป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหายประมาณ 600,000 บาท ถือว่าลูกจ้างกระทำผิดเป็นกรณีร้ายแรงและเป็นการจงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3254/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ลูกจ้างมีหน้าที่ปฏิบัติตามข้อบังคับนายจ้าง หากไม่แจ้งลาหยุดงานล่วงหน้า และการละทิ้งหน้าที่ทำให้เกิดความเสียหาย นายจ้างมีสิทธิเลิกจ้างได้
นายจ้างกำหนดให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลา โดยกรมแรงงานมีคำสั่งอนุมัติแล้ว นายจ้างจึงประกาศกำหนดให้ลูกจ้างปฏิบัติงานตอนกลางคืนเวลา 20 นาฬิกา ถึง 8 นาฬิกาของวันรุ่งขึ้นหากลูกจ้างไม่มาปฏิบัติงานและไม่แจ้งล่วงหน้า ให้ถือว่าลูกจ้างผู้นั้นขาดงานและละทิ้งหน้าที่ ดังนี้ลูกจ้างมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามประกาศ เมื่อลูกจ้างไม่ปฏิบัติงานล่วงเวลาโดยไม่แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบล่วงหน้าย่อมผิดข้อบังคับลูกจ้างจะอ้างว่าเป็นสิทธิที่จะไม่ปฏิบัติงานล่วงเวลาหาได้ไม่ และการละทิ้งหน้าที่เป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหายประมาณ 600,000 บาทถือว่าลูกจ้างกระทำผิดเป็นกรณีร้ายแรงและเป็นการจงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3189/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม: เหตุเพียงพอต่อการเลิกจ้าง แม้มิได้เกิดจากผิดวินัย
การเลิกจ้างไม่เป็นธรรมตาม พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงาน ฯมาตรา 49 นั้น แม้ลูกจ้างไม่ได้กระทำผิดทางวินัยประการใดหากมีสาะหตุอันเกิดแต่ฝ่ายลูกจ้างหรือฝ่ายนายจ้างเพียงพอแก่การเลิกจ้างแล้ว ก็มิใช่การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3189/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม: นายจ้างมีเหตุเพียงพอ แม้มิใช่ความผิดทางวินัย
การเลิกจ้างไม่เป็นธรรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานฯมาตรา 49 นั้น แม้ลูกจ้างไม่ได้กระทำผิดทางวินัยประการใดหากมีสาเหตุอันเกิดแต่ฝ่ายลูกจ้างหรือฝ่ายนายจ้างเพียงพอแก่การเลิกจ้างแล้ว ก็มิใช่การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3189/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม: เหตุเพียงพอต่อการเลิกจ้าง แม้ไม่มีความผิดทางวินัย
การเลิกจ้างไม่เป็นธรรมตาม พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงาน ฯมาตรา 49 นั้น แม้ลูกจ้างไม่ได้กระทำผิดทางวินัยประการใดหากมีสาเหตุอันเกิดแต่ฝ่ายลูกจ้างหรือฝ่ายนายจ้างเพียงพอแก่การเลิกจ้างแล้ว ก็มิใช่การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3188/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาด: โจทก์ผู้ชนะคดีไม่ถูกจำกัดสิทธิในการสู้ราคา
การขายทอดตลาดทรัพย์ที่ยึดซึ่งเป็นของจำเลยผู้เป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษานั้น เจ้าพนักงานบังคับคดีเป็นผู้ขายตามคำสั่งศาล โจทก์ซึ่งเป็นผู้ชนะคดีมิใช่เป็นผู้ขาย จึงไม่ต้องห้ามมิให้เข้าสู้ราคาตามมาตรา 512 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3188/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การขายทอดตลาดบังคับคดี: เจ้าหนี้ผู้ชนะคดีมีสิทธิสู้ราคาได้เนื่องจากมิใช่ผู้ขาย
การขายทอดตลาดทรัพย์ที่ยึดซึ่งเป็นของจำเลยผู้เป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษานั้น เจ้าพนักงานบังคับคดีเป็นผู้ขายตามคำสั่งศาล โจทก์ซึ่งเป็นผู้ชนะคดีมิใช่เป็นผู้ขาย จึงไม่ต้องห้ามมิให้เข้าสู้ราคาตามมาตรา 512 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3188/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การขายทอดตลาดบังคับคดี: ผู้ชนะคดีมีสิทธิสู้ราคาได้ เพราะมิใช่ผู้ขาย
การขายทอดตลาดทรัพย์ที่ยึดซึ่งเป็นของจำเลยผู้เป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษานั้น เจ้าพนักงานบังคับคดีเป็นผู้ขายตามคำสั่งศาลโจทก์ซึ่งเป็นผู้ชนะคดีมิใช่เป็นผู้ขาย จึงไม่ต้องห้ามมิให้เข้าสู้ราคาตามมาตรา 512 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3042/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความค่าจ้างและการรับสภาพหนี้: ศาลฎีกาวินิจฉัยอายุความเริ่มนับจากวันสิ้นเดือน และการเบิกความต่อศาลไม่ถือเป็นการรับสภาพหนี้
โจทก์บรรยายฟ้องว่า กำหนดจ่ายค่าจ้างทุกวันสิ้นเดือนหมายความว่าหากไม่จ่ายค่าจ้างของเดือนใด นับแต่วันสิ้นเดือนนั้นโจทก์อาจบังคับตามสิทธิเรียกร้องให้จำเลยจ่ายค่าจ้างได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 169 อายุความเรียกร้องค่าจ้างมีกำหนด 2 ปี ตามมาตรา 165(9) โจทก์ฟ้องเรียกค่าจ้างค้างจ่ายเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2531 ค่าจ้างค้างจ่ายเดือนสุดท้ายที่โจทก์อาจบังคับตามสิทธิเรียกร้องได้ย้อนหลังไป 2 ปี คือค่าจ้างเดือนมีนาคม 2529 ค่าจ้างนอกจากนั้นขาดอายุความ พ. กรรมการบริษัทจำเลยเบิกความต่อศาลแรงงานกลางว่า จำเลยค้างค่าจ้างโจทก์ตั้งแต่ปลายปี 2527 เป็นเพียงการเบิกความในฐานะพยานจำเลย จึงไม่ใช่เป็นการรับสภาพหนี้อันจะทำให้อายุความสะดุดหยุดลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 172
of 51