คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
สีนวล คงลาภ

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 502 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2841/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เวลาพักงาน: นายจ้างต้องจัดเวลาพักให้ลูกจ้างไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อวัน การกำหนดเวลาพักน้อยกว่าถือเป็นการขัดกฎหมาย
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 6 และข้อ 2 นายจ้างจะต้องให้ลูกจ้างมีเวลาพักในระหว่างการทำงานไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชั่วโมง โดยจะให้มีเวลาพักเป็นหลายครั้งก็ได้ แต่เมื่อรวมเวลาพักแล้วจะต้องเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง และเวลาพักจะต้องเป็นระยะเวลาที่อยู่ในระหว่างการทำงานด้วย การที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานระหว่างเวลา 8.00 นาฬิกา - 16.00 นาฬิกา และระหว่างเวลา 16.00 นาฬิกา ถึง 24.00 นาฬิกาโดยให้มีเวลาพักกะละครึ่งชั่วโมง จึงเป็นการกำหนดเวลาพักที่ขัดต่อประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าว
กรณีดังกล่าวแม้ลูกจ้างทำงานในช่วงเวลาพักก็เป็นการทำงานในเวลาทำงานปกติ หาใช่นอกเวลาทำงานปกติอันจะทำให้ลูกจ้างมีสิทธิเรียกร้องค่าล่วงเวลาไม่ ลูกจ้างจึงมีสิทธิเรียกร้องได้แต่เพียงค่าจ้างโดยคำนวณเฉลี่ยจากค่าจ้างของแต่ละเดือนเท่านั้น.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2841/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เวลาพักงานตามประกาศกระทรวงมหาดไทย: การกำหนดเวลาพักต้องไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อวัน และเป็นช่วงเวลาที่อยู่ในระหว่างการทำงาน
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 6 และข้อ2 นายจ้างจะต้องให้ลูกจ้างมีเวลาพักในระหว่างการทำงานไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชั่วโมง โดยจะให้มีเวลาพักเป็นหลายครั้งก็ได้ แต่เมื่อรวมเวลาพักแล้วจะต้องเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง และเวลาพักจะต้องเป็นระยะเวลาที่อยู่ในระหว่างการทำงานด้วย การที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานระหว่างเวลา 8.00 นาฬิกา -16.00 นาฬิกา และระหว่างเวลา 16.00 นาฬิกา ถึง24.00 นาฬิกาโดยให้มีเวลาพักกะละครึ่งชั่วโมง จึงเป็นการกำหนดเวลาพักที่ขัดต่อประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าว
กรณีดังกล่าวแม้ลูกจ้างทำงานในช่วงเวลาพักก็เป็นการทำงานในเวลาทำงานปกติ หาใช่นอกเวลาทำงานปกติอันจะทำให้ลูกจ้างมีสิทธิเรียกร้องค่าล่วงเวลาไม่ ลูกจ้างจึงมีสิทธิเรียกร้องได้แต่เพียงค่าจ้างโดยคำนวณเฉลี่ยจากค่าจ้างของแต่ละเดือนเท่านั้น.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2841/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เวลาพักงาน: นายจ้างต้องจัดเวลาพักระหว่างวันทำงานอย่างน้อย 1 ชั่วโมง การทำงานช่วงพักเป็นเวลาทำงานปกติ ไม่ใช่เวลาล่วงเวลา
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 6และข้อ 2 นายจ้างจะต้องให้ลูกจ้างมีเวลาพักในระหว่างการทำงานไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชั่วโมง โดยจะให้มีเวลาพักเป็นหลายครั้งก็ได้แต่เมื่อรวมเวลาพักแล้วจะต้องเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง และเวลาพักจะต้องเป็นระยะเวลาที่อยู่ในระหว่างการทำงานด้วย การที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานระหว่างเวลา 8.00 นาฬิกาถึง 16.00 นาฬิกาและระหว่างเวลา 16.00 นาฬิกา ถึง 24.00 นาฬิกา โดยให้มีเวลาพักเพียงกะละ ครึ่งชั่วโมง จึงเป็นการกำหนดเวลาพักที่ขัดต่อประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าว กรณีดังกล่าวแม้ลูกจ้างทำงานในช่วงเวลาพักก็เป็นการทำงานในเวลาทำงานปกติ หาใช่นอกเวลาทำงานปกติอันจะทำให้ลูกจ้างมีสิทธิเรียกร้องค่าล่วงเวลาไม่ ลูกจ้างจึงมีสิทธิเรียกร้องได้แต่เพียงค่าจ้างโดยคำนวณเฉลี่ยจากค่าจ้างของแต่ละเดือนเท่านั้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2834/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การขาดนัดพิจารณาคดีและการสืบพยานฝ่ายเดียว ศาลชอบด้วยกฎหมายเมื่อจำเลยไม่มาศาล
เมื่อจำเลยขาดนัดพิจารณา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 202 กำหนดให้ศาลพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวส่วนความในมาตรา 205 นั้น หมายความเฉพาะกรณีที่จำเลยมาศาลในระหว่างการพิจารณาฝ่ายเดียวอยู่เท่านั้น เมื่อโจทก์นำพยานเข้าสืบเสร็จในวันเดียวกันโดยจำเลยไม่มาศาล ต้องถือว่าเสร็จการพิจารณาแล้ว ไม่มีทางที่จะเลื่อนคดีไปเพื่อให้จำเลยได้มีโอกาสซักค้านพยานโจทก์ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2834/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การขาดนัดพิจารณาคดี: ศาลพิจารณาฝ่ายเดียวได้ตามกฎหมาย เมื่อจำเลยไม่มาศาลและพยานโจทก์ให้การเสร็จสิ้น
เมื่อจำเลยขาดนัดพิจารณา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 202 กำหนดให้ศาลพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียว ส่วนความในมาตรา 205 นั้น หมายความเฉพาะกรณีที่จำเลยมาศาลในระหว่างการพิจารณาฝ่ายเดียวอยู่เท่านั้นเมื่อโจทก์นำพยานเข้าสืบเสร็จในวันเดียวกันโดยจำเลยไม่มาศาล ต้องถือว่าเสร็จการพิจารณาแล้ว ไม่มีทางที่จะเลื่อนคดีไปเพื่อให้จำเลยได้มีโอกาสซักค้านพยานโจทก์ได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2750/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ คำรับสารภาพโดยสมัครใจเป็นหลักฐานสำคัญในการพิสูจน์ความผิดฐานลักทรัพย์
จำเลยให้การรับสารภาพชั้นจับกุมชั้นสอบสวนและนำชี้ที่เกิดเหตุประกอบคำรับสารภาพด้วยความสมัครใจ ทั้งยังรับต่อผู้เสียหายว่าได้เอาทรัพย์ของผู้เสียหายไปจริงซึ่งจำเลยมิได้นำสืบปฏิเสธคำรับในข้อนี้ พยานหลักฐานโจทก์ประกอบกันรับฟังลงโทษจำเลยฐานลักทรัพย์ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2750/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ คำรับสารภาพและพยานหลักฐานประกอบยืนยันความผิดฐานลักทรัพย์ ศาลฎีกามีคำพิพากษายืนตามคำรับสารภาพ
จำเลยให้การรับสารภาพชั้นจับกุมชั้นสอบสวนและนำชี้ที่เกิดเหตุประกอบคำรับสารภาพด้วยความสมัครใจ ทั้งยังรับต่อผู้เสียหายว่าได้เอาทรัพย์ของผู้เสียหายไปจริงซึ่งจำเลยมิได้นำสืบปฏิเสธคำรับในข้อนี้ พยานหลักฐานโจทก์ประกอบกันรับฟังลงโทษจำเลยฐานลักทรัพย์ได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2750/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ คำรับสารภาพและการรับรองความเสียหายของผู้ต้องหาเป็นหลักฐานสำคัญในการพิสูจน์ความผิดฐานลักทรัพย์
จำเลยให้การรับสารภาพชั้นจับกุมชั้นสอบสวนและนำชี้ที่เกิดเหตุประกอบคำรับสารภาพด้วยความสมัครใจ ทั้งยังรับต่อผู้เสียหายว่าได้เอาทรัพย์ของผู้เสียหายไปจริงซึ่งจำเลยมิได้นำสืบปฏิเสธคำรับในข้อนี้ พยานหลักฐานโจทก์ประกอบกันรับฟังลงโทษจำเลยฐานลักทรัพย์ได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2746/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างลูกจ้างเนื่องจากฝ่าฝืนระเบียบบริษัทและเบียดเบียนลูกค้า ถือเป็นเหตุร้ายแรง ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
จำเลยประกอบธุรกิจธนาคาร ได้มีคำสั่งห้ามพนักงานมีส่วนเกี่ยวพันกับลูกค้าในลักษณะที่อาจจะให้เป็นที่ครหา การกู้ยืมเงินลูกค้า การเรียกร้อง หรือแสวงหาผลประโยชน์หรือสิ่งตอบแทนจากลูกค้า ซึ่งการกระทำเหล่านี้เป็นการเบียดเบียนลูกค้าของธนาคาร โจทก์เป็นพนักงานสินเชื่อทำหน้าที่หัวหน้าหน่วย การที่ค. ภริยาโจทก์ขอยืมเงินจาก อ. ลูกค้าของจำเลยประจำหน่วยนั้น และในการกู้ยืมนี้ โจทก์ได้ทำสัญญาค้ำประกันไว้แก่ อ. ด้วย เป็นการรู้เห็นเป็นใจ ความประพฤติของโจทก์เช่นนี้ถือได้ว่าเป็นการเบียดเบียนลูกค้าในทำนองเดียวกัน โดยอาศัยอำนาจหน้าที่ และเป็นการฝ่าฝืนคำสั่งของจำเลยอันเป็นกรณีร้ายแรง จำเลยเลิกจ้างด้วยเหตุดังกล่าว จึงไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย.(ที่มา-ส่งเสริมฯ)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2746/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างลูกจ้างเนื่องจากเบียดเบียนลูกค้าและฝ่าฝืนคำสั่งนายจ้าง ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าเป็นการเลิกจ้างชอบธรรมไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
จำเลยประกอบธุรกิจธนาคาร ได้มีคำสั่งห้ามพนักงานมีส่วนเกี่ยวพันกับลูกค้าในลักษณะที่อาจจะให้เป็นที่ครหา การกู้ยืมเงินลูกค้า การเรียกร้อง หรือแสวงหาผลประโยชน์หรือสิ่งตอบแทนจากลูกค้า ซึ่งการกระทำเหล่านี้เป็นการเบียดเบียนลูกค้าของธนาคาร โจทก์เป็นพนักงานสินเชื่อทำหน้าที่หัวหน้าหน่วย การที่ค.ภริยาโจทก์ขอยืมเงินจากอ. ลูกค้าของจำเลยประจำหน่วยนั้น และในการกู้ยืมนี้ โจทก์ได้ทำสัญญาค้ำประกันไว้แก่อ. ด้วย เป็นการรู้เห็นเป็นใจ ความประพฤติของโจทก์เช่นนี้ถือได้ว่าเป็นการเบียดเบียนลูกค้าในทำนองเดียวกัน โดยอาศัยอำนาจหน้าที่ และเป็นการฝ่าฝืนคำสั่งของจำเลยอันเป็นกรณีร้ายยแรง จำเลยเลิกจ้างด้วยเหตุดังกล่าว จึงไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย.(ที่มา-ส่งเสริมฯ)
of 51