พบผลลัพธ์ทั้งหมด 976 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2177/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบเรือยนต์และอวนรุนที่ใช้ทำการประมงในเขตห้าม ตาม พ.ร.บ.การประมง พ.ศ. 2490
พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 มาตรา 4(3) บัญญัติให้เรือที่ใช้ ทำการประมงเป็นเครื่องมือทำการประมง และได้มีประกาศกระทรวงเกษตร กำหนดเขตห้ามใช้เครื่องมืออวนลากและอวนรุนที่ใช้กับเรือยนต์ทำการประมงในเขตที่ระบุไว้ เมื่อจำเลยใช้เรือยนต์ของกลางทำการประมงในเขตดังกล่าวโดยใช้กับอวนรุน เรือยนต์ดังกล่าวจึงเป็นเครื่องมือทำการประมงที่ห้ามใช้ทำการประมงตาม พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 มาตรา 32 (2) ซึ่งต้องริบตามมาตรา 70
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2164/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสละเจตนาครอบครองปรปักษ์และการยอมรับสิทธิเจ้าของเดิม ทำให้ไม่สามารถอ้างสิทธิครอบครองปรปักษ์ได้อีก
ระหว่างที่ผู้ร้องครอบครองปรปักษ์ที่พิพาท ผู้คัดค้านได้ ไปแจ้งความที่สถานีตำรวจ ในที่สุดผู้ร้องยอมให้ผู้คัดค้านเข้าทำนาในที่พิพาทต่อไป ซึ่ง แสดงว่าผู้ร้องตัดสินใจไม่เข้าเกี่ยวข้องกับที่ดินพิพาท พฤติการณ์ของผู้ร้องแสดงว่าได้ สละเจตนาครอบครองโดย ปรปักษ์และยอมรับสิทธิของผู้คัดค้านซึ่ง มีชื่อ ในโฉนดที่ดินพิพาทแล้ว ผู้ร้องจะมาอ้างสิทธิครอบครองโดย ปรปักษ์อีกหาได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2135/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลอุทธรณ์แก้ไขจำนวนหนี้: ข้อผิดพลาดเล็กน้อย vs. จำนวนหนี้ที่ต่างกัน
คำร้องของโจทก์ที่โต้เถียงว่า จำนวนหนี้ที่จำเลยทั้งสองค้างชำระถึงวันฟ้องมีมากกว่าจำนวนหนี้ที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยและขอให้ศาลอุทธรณ์แก้ไขจำนวนเงินเพิ่มจากเดิมถึงสองหมื่นบาทเศษมิใช่ข้อผิดพลาดหรือผิดหลงเล็กน้อย ตามความหมายของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 143 วรรคแรก ศาลอุทธรณ์ที่พิพากษาคดีไม่มีอำนาจที่จะแก้ไขได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2135/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขจำนวนหนี้ตามคำพิพากษา: ข้อผิดพลาดเล็กน้อยตาม ป.วิ.พ. มาตรา 143
คำร้องของโจทก์ที่โต้เถียงจำนวนหนี้ที่จำเลยทั้งสองจะต้องชำระตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ว่า จำนวนหนี้ที่จำเลยทั้งสองค้างชำระถึงวันฟ้องมีมากกว่าจำนวนหนี้ที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัย โดยขอให้แก้ไขจำนวนเงินจาก 1,542,827.30 บาท เป็น 1,563,767.08 บาท เพิ่มจากเดิมถึงสองหมื่นบาทเศษนั้น มิใช่ข้อผิดพลาดหรือผิดหลงเล็กน้อยตามความหมายของ ป.วิ.พ. มาตรา 143 วรรคแรก ศาลอุทธรณ์จึงไม่อาจที่จะแก้ไขให้ตามคำร้องดังกล่าวได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2135/2533 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจแก้ไขคำพิพากษา ศาลอุทธรณ์จำกัดเฉพาะข้อผิดพลาดเล็กน้อย
คำร้องของโจทก์ที่โต้เถียงว่า จำนวนหนี้ที่จำเลยทั้งสองค้างชำระถึงวันฟ้องมีมากกว่าจำนวนหนี้ที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยและขอให้ศาลอุทธรณ์แก้ไขจำนวนเงินเพิ่มจากเดิมถึงสองหมื่นบาทเศษมิใช่ข้อผิดพลาดหรือผิดหลงเล็กน้อย ตามความหมายของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 143 วรรคแรก ศาลอุทธรณ์ที่พิพากษาคดีไม่มีอำนาจที่จะแก้ไขได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2135/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขจำนวนหนี้ตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ไม่ใช่ข้อผิดพลาดเล็กน้อยที่แก้ไขได้ตามมาตรา 143 วรรคแรก
โจทก์ยื่นคำร้องขอให้ศาลอุทธรณ์แก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อยเกี่ยวกับจำนวนหนี้ที่จำเลยทั้งสองค้างชำระถึงวันฟ้องว่ามีมากกว่าจำนวนหนี้ที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัย โดยขอให้แก้ไขจำนวนเงินเพิ่มจากเดิมถึงสองหมื่นบาทเศษ ดังนี้ ข้อที่โจทก์ขอแก้ไขมิใช่ข้อผิดพลาดหรือผิดหลงเล็กน้อยตามความหมายของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 143 วรรคแรก ศาลอุทธรณ์จึงไม่มีอำนาจแก้ไข
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2133/2533 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดชอบในการดำเนินคดี: จำเลยมีหน้าที่ติดตามและตรวจสอบการดำเนินคดีของตนเอง
จำเลยที่ 1 ยื่นคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ อ้างว่า จำเลยที่ 1ไม่ได้จงใจขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา เพราะจำเลยที่ 1เข้าใจผิดว่า จำเลยที่ 2 ได้มอบหมายให้ทนายความประจำตัวของจำเลยที่ 2 ดำเนินคดีโดยยื่นคำให้การและดำเนินกระบวนพิจารณาต่าง ๆ แทนจำเลยที่ 1 และทนายความของจำเลยที่ 2 ก็เข้าใจว่าจำเลยที่ 1 ได้มอบหมายให้ทนายความของจำเลยที่ 1 ยื่นคำให้การและดำเนินกระบวนพิจารณาเอง แม้เหตุผลตามคำร้องจะเป็นความจริงก็ไม่อาจกล่าวได้ว่าจำเลยที่ 1 ไม่จงใจขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา เพราะจำเลยที่ 1 มีหน้าที่ต้องเอาใจใส่ในการต่อสู้คดีของจำเลยที่ 1 เอง จำเลยที่ 1 จะอ้างความเข้าใจผิดมาเป็นข้อแก้ตัวว่ามิได้จงใจขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณาหาได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2133/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดชอบในการดำเนินคดีและการขาดนัดยื่นคำให้การ
จำเลยที่ 1 ยื่นคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ อ้างว่า จำเลยที่ 1ไม่ได้จงใจขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา เพราะจำเลยที่ 1เข้าใจผิดว่า จำเลยที่ 2 ได้มอบหมายให้ทนายความประจำตัวของจำเลยที่ 2 ดำเนินคดีโดยยื่นคำให้การและดำเนินกระบวนพิจารณาต่าง ๆ แทนจำเลยที่ 1 และทนายความของจำเลยที่ 2 ก็เข้าใจว่าจำเลยที่ 1 ได้มอบหมายให้ทนายความของจำเลยที่ 1 ยื่นคำให้การและดำเนินกระบวนพิจารณาเอง แม้เหตุผลตามคำร้องจะเป็นความจริงก็ไม่อาจกล่าวได้ว่าจำเลยที่ 1 ไม่จงใจขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา เพราะจำเลยที่ 1 มีหน้าที่ต้องเอาใจใส่ในการต่อสู้คดีของจำเลยที่ 1 เอง จำเลยที่ 1 จะอ้างความเข้าใจผิดมาเป็นข้อแก้ตัวว่ามิได้จงใจขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณาหาได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2133/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา จำเลยต้องมีความรับผิดชอบในการติดตามคดีด้วยตนเอง แม้จะเข้าใจผิดเรื่องการมอบหมายทนาย
คำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ของจำเลยที่ 1 ที่ว่า การขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณาของจำเลยที่ 1 เกิดจากความเข้าใจผิดของจำเลยทั้งสอง โดย จำเลยที่ 1 เข้าใจผิดว่า จำเลยที่ 2 ได้ มอบหมายให้ทนายความประจำตัวของจำเลยที่ 2 ยื่นคำให้การและ ดำเนินกระบวนพิจารณาต่าง ๆ แทนจำเลยที่ 1 ด้วย และทนายความ ของจำเลยที่ 2 ก็เข้าใจว่า จำเลยที่ 1 ได้ มอบหมายให้ทนายความ ประจำบริษัทของจำเลยที่ 1 ยื่นคำให้การและดำเนิน กระบวนพิจารณา ของจำเลยที่ 1เอง เหตุผลดังกล่าวแม้จะเป็นความจริงก็ไม่อาจ กล่าวอ้างได้ ว่าจำเลยที่ 1 ไม่จงใจขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัด พิจารณา เพราะจำเลยที่ 1 มีหน้าที่ต้อง เอาใจใส่ในการต่อสู้ คดี ของจำเลยที่ 1 เอง จำเลยที่ 1 จะอ้างความเข้าใจผิดมาเป็น ข้อแก้ตัวว่ามิได้จงใจขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณาหาได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2133/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความเข้าใจผิดในกระบวนการยุติธรรม: จำเลยมีหน้าที่ดูแลคดีของตนเอง แม้เกิดจากความเข้าใจผิด
คำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ของจำเลยที่ 1 ที่ว่าการขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณาของจำเลยที่ 1 เกิดจากความเข้าใจผิดของจำเลยทั้งสอง โดยจำเลยที่ 1 เข้าใจผิดว่า จำเลยที่ 2 ได้มอบหมายให้ทนายความประจำตัวของจำเลยที่ 2 ยื่นคำให้การและดำเนินกระบวนพิจารณาต่าง ๆ แทนจำเลยที่ 1 ด้วย และทนายความของจำเลยที่ 2 ก็เข้าใจว่า จำเลยที่ 1 ได้มอบหมายให้ทนายความประจำบริษัทของจำเลยที่ 1 ยื่นคำให้การและดำเนินกระบวนพิจารณาของจำเลยที่ 1 เอง เหตุผลดังกล่าวแม้จะเป็นความจริงก็ไม่อาจกล่าวอ้างได้ว่าจำเลยที่ 1 ไม่จงใจขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา เพราะจำเลยที่ 1 มีหน้าที่ต้องเอาใจใส่ในการต่อสู้คดีของจำเลยที่ 1 เองจำเลยที่ 1 จะอ้างความเข้าใจผิดมาเป็นข้อแก้ตัวว่ามิได้จงใจขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณาหาได้ไม่