พบผลลัพธ์ทั้งหมด 976 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4111/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำแถลงการณ์ในคดีแพ่งไม่เป็นหมิ่นประมาทหากทำเพื่อประโยชน์แก่คดี และฟ้องที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ทนายความของคู่ความได้ทำคำแถลงการณ์ปิดคดียื่นต่อศาลอันเป็นการแสดงความคิดเห็นหรือข้อความในกระบวนพิจารณาคดีในศาลเพื่อประโยชน์แก่คดีของตนโดยมิได้มุ่งประสงค์ที่จะหมิ่นประมาทบุคคลอื่นจึงไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 331 ฟ้องโจทก์หยิบยกเพียงแต่ข้อความส่วนน้อยในคำแถลงการณ์ของจำเลยมาแสดงเพื่อให้เห็นว่าเป็นข้อความที่หมิ่นประมาทโจทก์โดยมิได้บรรยายให้เห็นอย่างละเอียดว่า คำแถลงการณ์ดังกล่าวมีข้อความอย่างไรบ้าง ทั้งมิได้แนบสำเนาคำแถลงการณ์ของจำเลยมาท้ายฟ้องด้วย เช่นนี้ จึงเป็นฟ้องที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4111/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำแถลงการณ์ทนายความในคดีแพ่งไม่เป็นหมิ่นประมาท หากทำเพื่อประโยชน์แก่คดี และฟ้องต้องบรรยายรายละเอียดชัดเจน
ทนายความของคู่ความได้ทำคำแถลงการณ์ปิดคดียื่นต่อศาลอันเป็นการแสดงความคิดเห็นหรือข้อความในกระบวนพิจารณาคดีในศาลเพื่อประโยชน์แก่คดีของตนโดยมิได้มุ่งประสงค์ที่จะหมิ่นประมาทบุคคลอื่น จึงไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 331
ฟ้องโจทก์หยิบยกเพียงแต่ข้อความส่วนน้อยในคำแถลงการณ์ของจำเลยมาแสดงเพื่อให้เห็นว่าเป็นข้อความที่หมิ่นประมาทโจทก์โดยมิได้บรรยายให้เห็นอย่างละเอียดว่า คำแถลงการณ์ดังกล่าวมีข้อความอย่างไรบ้าง ทั้งมิได้แนบสำเนาคำแถลงการณ์ของจำเลยมาท้ายฟ้องด้วย เช่นนี้ จึงเป็นฟ้องที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158( 5 )
ฟ้องโจทก์หยิบยกเพียงแต่ข้อความส่วนน้อยในคำแถลงการณ์ของจำเลยมาแสดงเพื่อให้เห็นว่าเป็นข้อความที่หมิ่นประมาทโจทก์โดยมิได้บรรยายให้เห็นอย่างละเอียดว่า คำแถลงการณ์ดังกล่าวมีข้อความอย่างไรบ้าง ทั้งมิได้แนบสำเนาคำแถลงการณ์ของจำเลยมาท้ายฟ้องด้วย เช่นนี้ จึงเป็นฟ้องที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158( 5 )
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4111/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแสดงความคิดเห็นในคดีความของทนายความและการฟ้องหมิ่นประมาทที่ขาดรายละเอียด
ทนายความของคู่ความได้ทำคำแถลงการณ์ปิดคดียื่นต่อศาลอันเป็นการแสดงความคิดเห็นหรือข้อความในกระบวนพิจารณาคดีในศาลเพื่อประโยชน์แก่คดีของตนโดยมิได้มุ่งประสงค์ที่จะหมิ่นประมาทบุคคลอื่น จึงไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 331 ฟ้องโจทก์หยิบยกเพียงแต่ข้อความส่วนน้อยในคำแถลงการณ์ของจำเลยมาแสดงเพื่อให้เห็นว่าเป็นข้อความที่หมิ่นประมาทโจทก์โดยมิได้บรรยายให้เห็นอย่างละเอียดว่า คำแถลงการณ์ดังกล่าวมีข้อความอย่างไรบ้าง ทั้งมิได้แนบสำเนาคำแถลงการณ์ของจำเลยมาท้ายฟ้องด้วย เช่นนี้ จึงเป็นฟ้องที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4083/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีอากรที่ขัดต่อหลักเกณฑ์ในกฎหมาย และสิทธิในการขอคืนภาษีที่ชำระเกิน
ประมวลรัษฎากร มาตรา 50(1) ที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้นบัญญัติให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) หักภาษี ณที่จ่ายโดยวิธีคูณเงินได้พึงประเมินที่จ่ายด้วยจำนวนคราวที่จะต้องจ่ายเพื่อให้ได้จำนวนเงินเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี แล้วคำนวณภาษีตามเกณฑ์ในมาตรา 48 เป็นเงินภาษีเท่าใดให้หารด้วยจำนวนคราวที่จะต้องจ่ายได้ผลลัพธ์เป็นเงินเท่าใดให้หักภาษีไว้เท่านั้นดังนั้น การที่เจ้าพนักงานประเมินคำนวณภาษีโดยใช้สูตรสำเร็จของกรมสรรพากรตามคำสั่งของกรมสรรพากรที่ ป. 2/2526 ซึ่งระบุวิธีคำนวณแตกต่างไปจากบทบัญญัติ ดังกล่าว และได้ตัวเลขแตกต่างกันโดยไม่มีกฎหมายอนุญาตให้ทำเช่นนั้นได้ การประเมินโดยวิธีการตามคำสั่งนี้จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย ปัญหาที่ว่าโจทก์ร้องขอให้กรมสรรพากรคืนเงินภาษีที่ชำระเกินไปคืนเมื่อพ้นกำหนด 3 ปี นับแต่วันสุดท้ายแห่งปีซึ่งได้ถูกหักภาษีเกินไปหรือไม่ เป็นปัญหาอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน การขอคืนเงินภาษีอากรที่ได้ชำระเกินไปคืนตามประมวลรัษฎากร มาตรา 63 นั้น เมื่อโจทก์ได้รับแจ้งการประเมินภาษีอากรแล้ว โจทก์ก็ไม่จำต้องร้องขอต่อเจ้าพนักงานประเมินแต่โจทก์มีสิทธิร้องขอต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ในชั้นอุทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ภายในกำหนดเวลา 3 ปีนับแต่วันสุดท้ายแห่งปีซึ่งถูกหักภาษีเกินไป ตามบทมาตราดังกล่าวได้ดังนั้น การที่โจทก์อุทธรณ์การประเมินภาษีอากรขอให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ยกเลิกการประเมินและให้เครดิตภาษีตามจำนวนที่โจทก์ชำระเกินไปในปี พ.ศ. 2526 ให้โจทก์ และจำเลยได้รับอุทธรณ์ดังกล่าวเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2529 จึงเป็นการร้องขอให้จำเลยคืนเงินภาษีอากรภายในกำหนดเวลา 3 ปี นับแต่วันที่ 30ธันวาคม 2526 ซึ่งเป็นวันสุดท้ายแห่งปีซึ่งถูกหักภาษีเกินไปแล้วโจทก์จึงมีสิทธิได้รับเงินค่าภาษีอากรที่ชำระเกินคืน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4083/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีที่ขัดต่อกฎหมาย และสิทธิในการขอคืนภาษีเกินภายในกำหนดเวลา
ประมวลรัษฎากร มาตรา 50(1) ที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้นบัญญัติให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) หักภาษี ณ ที่จ่ายโดยวิธีคูณเงินได้พึงประเมินที่จ่ายด้วยจำนวนคราวที่จะต้องจ่ายเพื่อให้ได้จำนวนเงินเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี แล้วคำนวณภาษีตามเกณฑ์ในมาตรา 48 เป็นเงินภาษีเท่าใดให้หาร ด้วยจำนวนคราวที่จะต้องจ่าย ได้ผลลัพธ์เป็นเงินเท่าใดให้หักภาษีไว้เท่านั้น ดังนั้น การที่เจ้าพนักงานประเมินคำนวณภาษีโดยใช้สูตร สำเร็จของกรมสรรพากรตามคำสั่งของกรมสรรพากรที่ ป.2/2526 ซึ่งระบุวิธีคำนวณแตกต่างไปจากบทบัญญัติดังกล่าวและได้ตัวเลขแตกต่างกันโดยไม่มีกฎหมายอนุญาตให้ทำเช่นนั้นได้การประเมินโดยวิธีการตามคำสั่งนี้จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ปัญหาที่ว่าโจทก์ร้องขอให้กรมสรรพากรคืนเงินภาษีที่ชำระเกินไปคืนเมื่อพ้นกำหนด 3 ปี นับแต่วันสุดท้ายแห่งปีซึ่งได้ถูกหักภาษีเกินไปหรือไม่ เป็นปัญหาอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
การขอคืนเงินภาษีอากรที่ได้ชำระเกินไปคืนตามประมวลรัษฎากรมาตรา 63 นั้น เมื่อโจทก์ได้รับแจ้งการประเมินภาษีอากรแล้วโจทก์ก็ไม่จำต้องร้องขอต่อเจ้าพนักงานประเมินแต่โจทก์มีสิทธิร้องขอต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ในชั้นอุทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ภายในกำหนดเวลา 3 ปี นับแต่วันสุดท้ายแห่งปีซึ่งถูกหักภาษีเกินไป ตามบทมาตราดังกล่าวได้ ดังนั้น การที่โจทก์อุทธรณ์การประเมินภาษีอากรขอให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ยกเลิกการประเมิน และให้เครดิตภาษีตามจำนวนที่โจทก์ชำระเกินไปในปี พ.ศ. 2526 ให้โจทก์และจำเลยได้รับอุทธรณ์ดังกล่าวเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2529 จึงเป็นการร้องขอให้จำเลยคืนเงินภาษีอากรภายในกำหนดเวลา 3 ปี นับแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2526 ซึ่งเป็นวันสุดท้ายแห่งปีซึ่งถูกหักภาษีเกินไปแล้ว โจทก์จึงมีสิทธิได้รับเงินค่าภาษีอากรที่ชำระเกินคืน
ปัญหาที่ว่าโจทก์ร้องขอให้กรมสรรพากรคืนเงินภาษีที่ชำระเกินไปคืนเมื่อพ้นกำหนด 3 ปี นับแต่วันสุดท้ายแห่งปีซึ่งได้ถูกหักภาษีเกินไปหรือไม่ เป็นปัญหาอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
การขอคืนเงินภาษีอากรที่ได้ชำระเกินไปคืนตามประมวลรัษฎากรมาตรา 63 นั้น เมื่อโจทก์ได้รับแจ้งการประเมินภาษีอากรแล้วโจทก์ก็ไม่จำต้องร้องขอต่อเจ้าพนักงานประเมินแต่โจทก์มีสิทธิร้องขอต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ในชั้นอุทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ภายในกำหนดเวลา 3 ปี นับแต่วันสุดท้ายแห่งปีซึ่งถูกหักภาษีเกินไป ตามบทมาตราดังกล่าวได้ ดังนั้น การที่โจทก์อุทธรณ์การประเมินภาษีอากรขอให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ยกเลิกการประเมิน และให้เครดิตภาษีตามจำนวนที่โจทก์ชำระเกินไปในปี พ.ศ. 2526 ให้โจทก์และจำเลยได้รับอุทธรณ์ดังกล่าวเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2529 จึงเป็นการร้องขอให้จำเลยคืนเงินภาษีอากรภายในกำหนดเวลา 3 ปี นับแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2526 ซึ่งเป็นวันสุดท้ายแห่งปีซึ่งถูกหักภาษีเกินไปแล้ว โจทก์จึงมีสิทธิได้รับเงินค่าภาษีอากรที่ชำระเกินคืน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4083/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีโดยใช้สูตรของกรมสรรพากรขัดต่อกฎหมาย และสิทธิการขอคืนภาษีเกินภายในกำหนด
ประมวลรัษฎากร มาตรา 50(1) ที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้นบัญญัติให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1)หักภาษี ณ ที่จ่ายโดยวิธีคูณเงินได้พึงประเมินที่จ่ายด้วยจำนวนคราวที่จะต้องจ่ายเพื่อให้ได้จำนวนเงินเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี แล้วคำนวณภาษีตามเกณฑ์ในมาตรา 48 เป็นเงินภาษีเท่าใดให้หาร ด้วยจำนวนคราวที่จะต้องจ่าย ได้ผลลัพธ์เป็นเงินเท่าใดให้หักภาษีไว้เท่านั้น ดังนั้น การที่เจ้าพนักงานประเมินคำนวณภาษีโดยใช้สูตร สำเร็จของกรมสรรพากรตามคำสั่งของกรมสรรพากรที่ ป.2/2526 ซึ่งระบุวิธีคำนวณแตกต่างไปจากบทบัญญัติดังกล่าวและได้ตัวเลขแตกต่างกันโดยไม่มีกฎหมายอนุญาตให้ทำเช่นนั้นได้การประเมินโดยวิธีการตามคำสั่งนี้จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย ปัญหาที่ว่าโจทก์ร้องขอให้กรมสรรพากรคืนเงินภาษีที่ชำระเกินไปคืนเมื่อพ้นกำหนด 3 ปี นับแต่วันสุดท้ายแห่งปีซึ่งได้ถูกหักภาษีเกินไปหรือไม่ เป็นปัญหาอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน การขอคืนเงินภาษีอากรที่ได้ชำระเกินไปคืนตามประมวลรัษฎากรมาตรา 63 นั้น เมื่อโจทก์ได้รับแจ้งการประเมินภาษีอากรแล้วโจทก์ก็ไม่จำต้องร้องขอต่อเจ้าพนักงานประเมินแต่โจทก์มีสิทธิร้องขอต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ในชั้นอุทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ภายในกำหนดเวลา 3 ปี นับแต่วันสุดท้ายแห่งปีซึ่งถูกหักภาษีเกินไป ตามบทมาตราดังกล่าวได้ ดังนั้น การที่โจทก์อุทธรณ์การประเมินภาษีอากรขอให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ยกเลิกการประเมิน และให้เครดิตภาษีตามจำนวนที่โจทก์ชำระเกินไปในปี พ.ศ. 2526 ให้โจทก์และจำเลยได้รับอุทธรณ์ดังกล่าวเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2529 จึงเป็นการร้องขอให้จำเลยคืนเงินภาษีอากรภายในกำหนดเวลา 3 ปี นับแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2526 ซึ่งเป็นวันสุดท้ายแห่งปีซึ่งถูกหักภาษีเกินไปแล้ว โจทก์จึงมีสิทธิได้รับเงินค่าภาษีอากรที่ชำระเกินคืน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4059/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินบำเหน็จพิเศษที่จ่ายให้พนักงานไม่มีสิทธิถอนจนกว่าออกจากงาน และอาจถูกหักเป็นค่าเสียหาย ไม่ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ
โจทก์จ่ายเงินเข้าบัญชีให้พนักงาน พนักงานมีหน้าที่จะต้องรำเงินที่จ่ายให้ส่งเป็นเงินประกันตัวและเมื่อส่งเป็นเงินประกันตัวแล้ว โจทก์จะนำเข้าฝากในบัญชีประจำของพนักงานพนักงานไม่มีสิทธิถอนเงินจำนวนนี้จนกว่าจะออกจากงานและถ้าออกโดยทำความเสียหายให้แก่โจทก์ โจทก์ก็จะหักเป็นค่าเสียหาย จึงถือไม่ได้ว่าเงินดังกล่าวตกเป็นกรรมสิทธิ์ของพนักงานโดยเด็ดขาด มีลักษณะเป็นการตั้งบัญชีสำรองจ่ายเงินบำเหน็จพิเศษไว้โดยมิได้มีการจ่ายจริง จึงเป็นเงินสำรองตาม ประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี(1) จะถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4058/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจะซื้อจะขายไม่ชัดเจน ศาลต้องฟังพยานหลักฐานก่อนวินิจฉัยข้อพิพาทเรื่องเนื้อที่และบริเวณที่ดิน
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยตกลงขายที่ดินเลขที่ 442 ตำบลลาดใหญ่อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัด ชัยภูมิ ส่วนทางทิศเหนือให้โจทก์ครึ่งหนึ่ง คิดเป็นเนื้อที่ 1 งาน 94 ตารางวา แต่สัญญาจะซื้อจะขายที่โจทก์แนบสำเนามาท้ายฟ้องระบุแต่เพียงว่าคู่สัญญาตกลงซื้อขายที่ดินแปลงหนึ่งเท่านั้น ไม่ได้ระบุเนื้อที่และที่ตั้งของที่ดินและไม่ได้ระบุว่าเป็นที่ดินตามฟ้อง การที่จำเลยให้การว่าตามสัญญาดังกล่าวจำเลยตกลงขายให้เฉพาะบริเวณที่เป็นที่ปลูกสร้างเรือนและยุ้งข้าว ไม่ได้กำหนดเนื้อที่จำนวนแน่นอนเท่าใดดังโจทก์ฟ้องถือได้ว่าจำเลยให้การปฏิเสธฟ้องโจทก์ในเรื่องจำนวนเนื้อที่ดินและบริเวณที่ดินที่จำเลยจะขายให้โจทก์โดยชัดแจ้งแล้ว ชอบที่ศาลจะฟังพยานหลักฐานของคู่ความให้สิ้นกระแสความเสียก่อนจึงวินิจฉัยชี้ขาดตัดสินคดี.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4058/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายไม่ชัดเจน: ศาลต้องฟังพยานก่อนชี้ขาดเนื้อที่ดินและบริเวณที่ขาย
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยตกลงขายที่ดินเลขที่ 442 ตำบลลาดใหญ่ อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ส่วนทางทิศเหนือให้โจทก์ครึ่งหนึ่ง คิดเป็นเนื้อที่ 1 งาน 94 ตารางวา แต่สัญญาจะซื้อจะขายที่โจทก์แนบสำเนามาท้ายฟ้องระบุแต่เพียงว่าคู่สัญญาตกลงซื้อขายที่ดินแปลงหนึ่งเท่านั้น ไม่ได้ระบุเนื้อที่และที่ตั้งของที่ดินและไม่ได้ระบุว่าเป็นที่ดินตามฟ้อง การที่จำเลยให้การว่าตามสัญญาดังกล่าวจำเลยตกลงขายให้เฉพาะบริเวณที่เป็นที่ปลูกสร้างเรือนและยุ้งข้าว ไม่ได้กำหนดเนื้อที่จำนวนแน่นอนเท่าใดดังโจทก์ฟ้องถือได้ว่าจำเลยให้การปฏิเสธฟ้องโจทก์ในเรื่องจำนวนเนื้อที่ดินและบริเวณที่ดินที่จำเลยจะขายให้โจทก์โดยชัดแจ้งแล้ว ชอบที่ศาลจะฟังพยานหลักฐานของคู่ความให้สิ้นกระแสความเสียก่อนจึงวินิจฉัยชี้ขาดตัดสินคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4053/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีตามคำพิพากษาอาญา: วิธีการและหลักเกณฑ์การระบุวิธีการบังคับคดี
การดำเนินการบังคับคดีตามคำพิพากษาในคดีอาญานั้น นอกจากประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 249 บัญญัติไว้แล้วยังอาจดำเนินการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งประกอบกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 ได้อีกทางหนึ่ง ดังนั้น คำพิพากษาในคดีอาญาที่ห้ามมิให้จำเลยประกอบการค้าเลี้ยงสุกรในเขตเทศบาลอีกต่อไปจนกว่าจะได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่นนั้น แม้ไม่อาจดำเนินการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 249 ได้ โจทก์ก็ยังอาจขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีโดยอาศัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งประกอบกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 ได้
คำร้อง ของ โจทก์ขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีระบุแต่เพียงว่า ขอศาลได้โปรดออกหมายบังคับคดีเพื่อให้จำเลยปฏิบัติตามคำพิพากษาเท่านั้นหาได้ระบุโดยชัดแจ้งว่าจะบังคับคดีแก่จำเลยด้วยวิธีการอย่างไรคำร้องของโจทก์จึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 275(3) ชอบที่จะยกคำร้อง
คำร้อง ของ โจทก์ขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีระบุแต่เพียงว่า ขอศาลได้โปรดออกหมายบังคับคดีเพื่อให้จำเลยปฏิบัติตามคำพิพากษาเท่านั้นหาได้ระบุโดยชัดแจ้งว่าจะบังคับคดีแก่จำเลยด้วยวิธีการอย่างไรคำร้องของโจทก์จึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 275(3) ชอบที่จะยกคำร้อง