พบผลลัพธ์ทั้งหมด 345 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2663/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสละมรดกที่ไม่สมเหตุผลและการยึดทรัพย์: จำเลยยังคงมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์มรดกอยู่
การที่จำเลยขอกู้เงินโจทก์และในวันเดียวกันนั้นได้แสดงเจตนาขอสละทรัพย์มรดกให้แก่ผู้ร้องทั้งที่ตนไม่มีทรัพย์อื่นอีก และผู้ร้องเป็นผู้เยาว์ยังอยู่ในอำนาจปกครองของจำเลย พฤติการณ์การสละมรดกยังไม่สมเหตุผล ถือว่าเพียงแต่ให้ผู้ร้องถือกรรมสิทธิ์ทรัพย์มรดกไว้แทนเท่านั้น จำเลยยังคงเป็นเจ้าของร่วมในทรัพย์มรดกผู้ร้องไม่มีสิทธิร้องขอให้ปล่อยทรัพย์มรดก และโจทก์ยึดทรัพย์มรดกได้โดยไม่ต้องฟ้องเป็นคดีใหม่ ปัญหามีว่า ทรัพย์มรดกยังเป็นของจำเลยหรือไม่ การที่ศาลวินิจฉัยว่า การสละมรดกของจำเลยเป็นการแสดงเจตนาลวงโดยสมรู้กันตกเป็นโมฆะ ผู้ร้องมีชื่อถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์มรดกแทนจำเลยจึงไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2663/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสละมรดกเพื่อหลีกเลี่ยงเจ้าหนี้: กรรมสิทธิ์ยังคงอยู่กับผู้สละมรดก เจ้าหนี้ยึดทรัพย์ได้
การที่จำเลยขอกู้เงินโจทก์แล้วในวันเดียวกันนั้นได้แสดงเจตนาสละมรดกให้แก่ผู้ร้องโดยจำเลยไม่มีทรัพย์สินอื่นอีกทั้งผู้ร้องก็เป็นผู้เยาว์ยังอยู่ในอำนาจปกครองของจำเลย พฤติกรรมดังกล่าวแสดงว่าจำเลยเพียงแต่ให้ผู้ร้องถือกรรมสิทธิ์ทรัพย์พิพาทไว้แทนจำเลย ผู้ร้องไม่มีสิทธิขอให้ปล่อยทรัพย์พิพาท โจทก์มีสิทธิยึดทรัพย์พิพาทขายทอดตลาดได้โดยไม่ต้องฟ้องขอให้เพิกถอนการสละมรดก ประเด็นมีว่า ทรัพย์พิพาทเป็นของจำเลยหรือไม่ การที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าการสละมรดกของจำเลยเป็นการแสดงเจตนาลวงตกเป็นโมฆะและการที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าผู้ร้องถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์พิพาทแทนจำเลย เป็นการวินิจฉัยว่าทรัพย์พิพาทยังเป็นของจำเลยอยู่ จึงไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2663/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสละมรดกที่ไม่สมเหตุผลและการยึดทรัพย์: กรรมสิทธิ์ยังคงเป็นของจำเลย
การที่จำเลยขอกู้เงินโจทก์และในวันเดียวกันนั้นได้แสดงเจตนาขอสละทรัพย์มรดกให้แก่ผู้ร้องทั้งที่ตนไม่มีทรัพย์อื่นอีก และผู้ร้องเป็นผู้เยาว์ยังอยู่ในอำนาจปกครองของจำเลย พฤติการณ์การสละมรดกยังไม่สมเหตุผล ถือว่าเพียงแต่ให้ผู้ร้องถือกรรมสิทธิ์ทรัพย์มรดกไว้แทนเท่านั้น จำเลยยังคงเป็นเจ้าของร่วมในทรัพย์มรดกผู้ร้องไม่มีสิทธิร้องขอให้ปล่อยทรัพย์มรดก และโจทก์ยึดทรัพย์มรดกได้โดยไม่ต้องฟ้องเป็นคดีใหม่.
ปัญหามีว่า ทรัพย์มรดกยังเป็นของจำเลยหรือไม่ดังนั้นการที่ศาลวินิจฉัยว่าการสละมรดกของจำเลยเป็นการแสดงเจตนาลวงโดยสมรู้กัน ตกเป็นโมฆะ ผู้ร้องมีชื่อถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์มรดกแทนจำเลย จึงไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น.
ปัญหามีว่า ทรัพย์มรดกยังเป็นของจำเลยหรือไม่ดังนั้นการที่ศาลวินิจฉัยว่าการสละมรดกของจำเลยเป็นการแสดงเจตนาลวงโดยสมรู้กัน ตกเป็นโมฆะ ผู้ร้องมีชื่อถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์มรดกแทนจำเลย จึงไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2616/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจออกประกาศกรมไปรษณีย์โทรเลขในการกำหนดเงื่อนไขต่อใบอนุญาตวิทยุคมนาคม ชอบด้วยกฎหมายและไม่ขัดกับ พ.ร.บ.วิทยุคมนาคม
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 มาตรา 11 กำหนดให้อธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้มีอำนาจควบคุมและกำหนดการใช้ความถี่ คลื่นของสถานีวิทยุคมนาคมต่าง ๆดังนั้น การที่มีประกาศของกรมไปรษณีย์โทรเลข ฉบับลงวันที่ 21กุมภาพันธ์ 2527 กำหนดให้ผู้ยื่นขอต่อใบอนุญาตให้มี ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม และตั้งสถานีวิทยุคมนาคม ประจำปี พ.ศ. 2528ทำการแก้ไขเครื่องรับ-ส่งวิทยุให้มีกำลังส่งไม่เกิน 10 วัตต์ หรือความถี่ไม่เกินย่าน144-146เมกะเฮิรตซ์ โดยจำเลยที่ 1 เป็นผู้ลงนามและระบุตำแหน่งไว้ท้ายประกาศด้วยว่า"อธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข" จึงถือได้ว่าประกาศฉบับดังกล่าวเป็นประกาศของอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลขผู้มีอำนาจแล้ว และเป็นประกาศที่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ขัดกับมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2616/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจออกประกาศแก้ไขเครื่องวิทยุและเงื่อนไขการต่อใบอนุญาตของกรมไปรษณีย์โทรเลขชอบด้วยกฎหมาย
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 มาตรา 11 กำหนดให้อธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้มีอำนาจควบคุมและกำหนดการใช้ความถี่ คลื่นของสถานีวิทยุคมนาคมต่าง ๆดังนั้น การที่มีประกาศของกรมไปรษณีย์โทรเลข ฉบับลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2527 กำหนดให้ผู้ยื่นขอต่อใบอนุญาตให้มี ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม และตั้งสถานีวิทยุคมนาคม ประจำปี พ.ศ. 2528 ทำการแก้ไขเครื่องรับ-ส่งวิทยุให้มีกำลังส่งไม่เกิน 10 วัตต์ หรือความถี่ ไม่เกินย่าน 144-146 เมกะเฮิรตซ์ โดยจำเลยที่ 1 เป็นผู้ลงนามและระบุตำแหน่งไว้ท้ายประกาศด้วยว่า"อธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข" จึงถือได้ว่าประกาศฉบับดังกล่าวเป็นประกาศของอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลขผู้มีอำนาจแล้ว และเป็นประกาศที่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ขัดกับมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2616/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจออกประกาศของอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข และการต่ออายุใบอนุญาตวิทยุคมนาคมตามเงื่อนไขที่กำหนด
พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 มาตรา 6 กำหนดห้ามมิให้ผู้ใด ทำ มี ใช้ นำเข้า หรือนำออก ซึ่งเครื่องวิทยุคมนาคม ฯลฯเว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต และมาตรา 11 กำหนดให้อธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลขหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้มีอำนาจควบคุมและกำหนดการใช้ความถี่ คลื่นของสถานีวิทยุคมนาคมต่าง ๆ ดังนั้น ประกาศของกรมไปรษณีย์โทรเลขโดยจำเลยที่ 1 เป็นผู้ลงนามและระบุตำแหน่งไว้ท้ายประกาศด้วยว่า "อธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข"กำหนดให้ผู้ยื่นขอต่อใบอนุญาตให้มี ใช้ เครื่องวิทยุคมนาคมและตั้งสถานีวิทยุคมนาคม ทำการแก้ไขเครื่องรับส่งวิทยุให้มีกำลังส่งไม่เกิน 10 วัตต์ หรือความถี่ไม่เกินย่าน144-146 เมกะเฮิรตซ์ จึงเป็นประกาศของอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลขผู้มีอำนาจและชอบด้วยกฎหมาย ไม่ขัดกับมาตรา 6 แห่ง พ.ร.บ. ดังกล่าว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2616/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจออกประกาศของอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลขในการกำหนดเงื่อนไขการต่ออายุใบอนุญาตเครื่องวิทยุคมนาคมชอบด้วยกฎหมาย
พระราชบัญญัติ ญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 มาตรา 6 กำหนดห้ามมิให้ผู้ใด ทำ มี ใช้ นำเข้า หรือนำออก ซึ่งเครื่องวิทยุคมนาคม ฯลฯเว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต และมาตรา 11กำหนดให้อธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลขหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้มีอำนาจควบคุมและกำหนดการใช้ความถี่คลื่นของสถานีวิทยุคมนาคมต่าง ๆดังนั้น ประกาศของกรมไปรษณีย์โทรเลขโดยจำเลยที่ 1 เป็นผู้ลงนามและระบุตำแหน่งไว้ท้ายประกาศด้วยว่า "อธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข"กำหนดให้ผู้ยื่นขอต่อใบอนุญาตให้มี ใช้ เครื่องวิทยุคมนาคมและตั้งสถานีวิทยุคมนาคม ทำการแก้ไขเครื่องรับส่งวิทยุให้มีกำลังส่งไม่เกิน 10 วัตต์ หรือความถี่ไม่เกินย่าน144-146เมกะเฮิรตซ์จึงเป็นประกาศของอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลขผู้มีอำนาจและชอบด้วยกฎหมายไม่ขัดกับมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2550/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคำนวณเงินได้พึงประเมินจากเงินที่ได้รับเมื่อออกจากงาน และการหักค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ วรรคสาม
เงินได้ที่โจทก์ได้รับครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานนั้นมีวิธีการคำนวณจ่ายตามระเบียบของบริษัทผู้เป็นนายจ้าง แตกต่างจากวิธีการคำนวณบำเหน็จบำนาญ การคำนวณหาเงินได้พึงประเมินที่จะถือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ วรรคสามจึงต้องเป็นไปตามข้อ 3 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากรว่าด้วยภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 2) เรื่องกำหนดระเบียบการคำนวณเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) และ (2) แห่งประมวลรัษฎากรซึ่งนายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานโดยคำนวณจ่ายจากระยะเวลาที่ทำงานที่ใช้เป็นเกณฑ์การคำนวณค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ วรรคสาม แห่งประมวลรัษฎากร เงินได้พึงประเมินที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานไม่ว่าจะเป็นเงินได้ ตามมาตรา 40(1) หรือ (2) แห่งประมวลรัษฎากรก็ตาม ต้องนำมาคำนวณหาเงินได้พึงประเมินที่ใช้เป็นเกณฑ์การคำนวณค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ วรรคสาม แห่งประมวลรัษฎากรทั้งสิ้น ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรว่าด้วยภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 2) คำว่าเงินได้สำหรับระยะเวลาเต็มเดือนเดือนสุดท้าย และเงินได้รายเดือนถัวเฉลี่ย ของ 12 เดือน สุดท้ายก่อนออกจากงาน ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรว่าด้วยภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 2) หมายความถึงเงินได้ที่ได้รับในระยะเวลาดังกล่าวทั้งหมดมิได้หมายความถึงเฉพาะเงินเดือนซึ่งเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(1) แห่งประมวลรัษฎากรเพียงอย่างเดียว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2550/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคำนวณเงินได้พึงประเมินจากเงินที่ได้รับเมื่อออกจากงาน ต้องเป็นไปตามประกาศกรมสรรพากร โดยพิจารณาเงินได้ทั้งหมด ไม่เฉพาะเงินเดือน
เงินได้ที่โจทก์ได้รับครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน มีวิธีการคำนวณจ่ายตามระเบียบของบริษัทผู้เป็นนายจ้างแตกต่างจากวิธีการคำนวณบำเหน็จบำนาญ การคำนวณหาเงินได้พึงประเมินที่จะถือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ วรรคสาม แห่งประมวลรัษฎากร จึงต้องเป็นไปตามข้อ 3 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากรว่าด้วยภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 2) เรื่อง กำหนดระเบียบการคำนวณเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) และ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งนายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานโดยคำนวณจ่ายจากระยะเวลาที่ทำงาน ที่ใช้เป็นเกณฑ์การคำนวณค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ วรรคสาม เงินได้พึงประเมินที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน ไม่ว่าจะเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(1) หรือ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ก็ต้องนำมาคำนวณหาเงินได้พึงประเมินที่ใช้เป็นเกณฑ์การคำนวณค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ วรรคสามทั้งสิ้น ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรว่าด้วยภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 2) คำว่า เงินได้สำหรับระยะเวลาเต็มเดือนเดือนสุดท้ายและเงินได้รายเดือนถัวเฉลี่ยของ 12 เดือนสุดท้ายก่อนออกจากงาน ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรว่าด้วยภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 2) หมายความถึงเงินได้ที่ได้รับในระยะเวลาดังกล่าวทั้งหมด มิได้หมายความถึงเฉพาะเงินเดือนซึ่งเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(1) แห่งประมวลรัษฎากรเพียงอย่างเดียว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2550/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคำนวณภาษีเงินได้กรณีเงินได้จากการออกจากงาน ต้องพิจารณาตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรที่เกี่ยวข้อง
เงินได้ที่โจทก์ได้รับครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานนั้นมีวิธีการคำนวณจ่ายตามระเบียบของบริษัทผู้เป็นนายจ้าง แตกต่างจากวิธีการคำนวณบำเหน็จบำนาญ การคำนวณหาเงินได้พึงประเมินที่จะถือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ วรรคสาม จึงต้องเป็นไปตามข้อ 3ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากรว่าด้วยภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 2)เรื่อง กำหนดระเบียบการคำนวณเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1)และ (2) แห่ง ป. รัษฎากร ซึ่งนายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานโดยคำนวณจ่ายจากระยะเวลาที่ทำงานที่ใช้เป็นเกณฑ์การคำนวณค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ วรรคสามแห่ง ป. รัษฎากร.
เงินได้พึงประเมินที่นายจ้าง จ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานไม่ว่าจะเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(1) หรือ(2) แห่ง ป.รัษฎากรก็ตามก็ต้องนำมาคำนวณหาเงินได้พึงประเมินที่ใช้เป็นเกณฑ์การคำนวณค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ วรรคสาม แห่ง ป.รัษฎากรทั้งสิ้น ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรว่าด้วยภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 2).
คำว่า เงินได้สำหรับระยะเวลาเต็มเดือนเดือนสุดท้ายและเงินได้รายเดือนถัวเฉลี่ย ของ 12 เดือนสุดท้ายก่อนออกจากงาน ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรว่าด้วยภาษีเงินได้(ฉบับที่ 2) หมายความถึงเงินได้ที่ได้รับในระยะเวลาดังกล่าวทั้งหมด มิได้หมายความถึงเฉพาะเงินเดือนซึ่งเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(1) แห่ง ป.รัษฎากร เพียงอย่างเดียว.
เงินได้พึงประเมินที่นายจ้าง จ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานไม่ว่าจะเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(1) หรือ(2) แห่ง ป.รัษฎากรก็ตามก็ต้องนำมาคำนวณหาเงินได้พึงประเมินที่ใช้เป็นเกณฑ์การคำนวณค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ วรรคสาม แห่ง ป.รัษฎากรทั้งสิ้น ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรว่าด้วยภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 2).
คำว่า เงินได้สำหรับระยะเวลาเต็มเดือนเดือนสุดท้ายและเงินได้รายเดือนถัวเฉลี่ย ของ 12 เดือนสุดท้ายก่อนออกจากงาน ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรว่าด้วยภาษีเงินได้(ฉบับที่ 2) หมายความถึงเงินได้ที่ได้รับในระยะเวลาดังกล่าวทั้งหมด มิได้หมายความถึงเฉพาะเงินเดือนซึ่งเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(1) แห่ง ป.รัษฎากร เพียงอย่างเดียว.