พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,261 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2962/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดินและการเช่า: การกระทำของผู้เช่าบนที่ดินเช่าไม่เป็นการละเมิดต่อผู้มีสิทธิในที่ดินส่วนอื่น
โจทก์เป็นผู้ขออนุญาตเป็นเจ้าของจัดตั้งโรงเรียนและเป็นผู้ดำเนินกิจการโรงเรียน แต่โรงเรียนและที่ดินที่ตั้งโรงเรียนเป็นของ ข. บิดาโจทก์ ต่อมา ข. แบ่งที่ดินออกเป็น 5 แปลง ยกให้ โจทก์ จำเลย บ. และ ป.คนละแปลง ส่วนที่เหลือเป็นของ ข. และ ข. ได้ให้จำเลยเช่าที่ดินส่วนของ ข.การที่จำเลยกั้นแนวรั้วในเขตที่ดินของจำเลยก็ดี การที่จำเลยขนสิ่งของไปไว้บนที่ดินส่วนที่จำเลยเช่าจาก ข. ก็ดี เป็นสิทธิของจำเลยที่กระทำได้ ไม่เป็นละเมิดต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2962/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดินระหว่างเจ้าของที่ดิน ผู้เช่า และผู้มีสิทธิครอบครองเพื่อดำเนินกิจการโรงเรียน
ข. เป็นบิดาโจทก์เป็นเจ้าของโรงเรียนและที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงเรียนโดยโจทก์เป็นเพียงผู้มีสิทธิดำเนินกิจการโรงเรียนเท่านั้นแม้โจทก์จะมีสิทธิใช้สอยและครอบครองที่ดินที่โรงเรียนตั้งอยู่ก็ตามก็เป็นการครอบครองแทนข. เมื่อต่อมาภายหลังข.ได้แบ่งแยกที่ดินที่โรงเรียนตั้งอยู่ออกเป็น5แปลงและยกกรรมสิทธิ์ที่ดินที่แบ่งแยกให้แก่บุตรทั้ง4คนรวมทั้งโจทก์และจำเลยคนละแปลงส่วนที่เหลือเป็นของข. ซึ่งให้จำเลยเช่าจำเลยทำรั้วขึ้นในเขตพื้นที่ที่ดินของจำเลยส่วนบริเวณที่จำเลยขนโต๊ะเก้าอี้และเครื่องเล่นเด็กสนามไปไว้เป็นบริเวณที่ดินของข.ซึ่งได้ให้จำเลยเช่าจำเลยย่อมมีสิทธิในที่ดินส่วนนี้ตามสัญญาเช่าเมื่อจำเลยไม่ยอมให้โจทก์ใช้ประโยชน์ในที่ดินของจำเลยและที่ดินส่วนที่จำเลยเช่าจากข. จำเลยจึงมีสิทธิที่จะกระทำการใดๆในที่ดินได้ตามกฎหมายโดยไม่ต้องดำเนินการทางศาลก่อนการกระทำของจำเลยดังกล่าวจึงไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2962/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดินระหว่างเจ้าของที่ดิน ผู้มีสิทธิครอบครอง และผู้เช่า: การกระทำที่ไม่เป็นการละเมิด
ข.เป็นบิดาโจทก์เป็นเจ้าของโรงเรียนและที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงเรียนโดยโจทก์เป็นเพียงผู้มีสิทธิดำเนินกิจการโรงเรียนเท่านั้น แม้โจทก์จะมีสิทธิใช้สอยและครอบครองที่ดินที่โรงเรียนตั้งอยู่ก็ตาม ก็เป็นการครอบครองแทน ข.เมื่อต่อมาภายหลังข.ได้แบ่งแยกที่ดินที่โรงเรียนตั้งอยู่ออกเป็น5 แปลง และยกกรรมสิทธิ์ที่ดินที่แบ่งแยกให้แก่บุตรทั้ง 4 คน รวมทั้งโจทก์และจำเลยคนละแปลง ส่วนที่เหลือเป็นของ ข. ซึ่งให้จำเลยเช่า จำเลยทำรั้วขึ้นในเขตพื้นที่ที่ดินของจำเลย ส่วนบริเวณที่จำเลยขนโต๊ะเก้าอี้และเครื่องเล่นเด็กสนามไปไว้เป็นบริเวณที่ดินของข.ซึ่งได้ให้จำเลยเช่าจำเลยย่อมมีสิทธิในที่ดินส่วนนี้ตามสัญญาเช่า เมื่อจำเลยไม่ยอมให้โจทก์ใช้ประโยชน์ในที่ดินของจำเลยและที่ดินส่วนที่จำเลยเช่าจากข. จำเลยจึงมีสิทธิที่จะกระทำการใด ๆในที่ดินได้ตามกฎหมายโดยไม่ต้องดำเนินการทางศาลก่อนการกระทำของจำเลยดังกล่าวจึงไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2857/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์ลายมือชื่อในสัญญากู้เงิน - พยานหลักฐานไม่เพียงพอ
ธ.พยานโจทก์มิได้เป็นประจักษ์พยานรู้เห็นว่าจำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อเป็นผู้กู้ในสัญญากู้เงิน ทั้งโจทก์มิได้นำผู้ที่รู้เห็นข้อเท็จจริงดังกล่าวมาเบิกความต่อศาล ที่โจทก์อ้างเหตุในชั้นฎีกาว่า พนักงานสาขาของโจทก์ผู้ที่รู้เห็นกรณีที่จำเลยที่ 1 เข้าทำสัญญากับโจทก์ย่อมต้องบอกเล่าให้ ธ.ทราบโดยละเอียด แม้ ธ.จะมารับตำแหน่งภายหลังการทำสัญญา ก็ย่อมทราบได้อย่างแน่ชัดว่า จำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อต่อหน้าพนักงานของธนาคารนั้น เป็นเพียงการคาดเดาของโจทก์ที่อ้างขึ้นในชั้นฎีกา โดย ธ.มิได้เบิกความถึงข้อเท็จจริงดังกล่าวเลย คำเบิกความของพยานโจทก์มีน้ำหนักน้อย
เมื่อพยานหลักฐานที่โจทก์นำสืบมาปราศจากน้ำหนัก ฟังไม่ได้ว่าลายมือชื่อในช่องผู้กู้ในสัญญากู้เงินตามฟ้องเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 1 ดังนี้เมื่อโจทก์สืบไม่สมฟ้องและจำเลยที่ 1 ไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์ตามในสัญญากู้เงินดังกล่าวแล้ว จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันและผู้จำนองเป็นประกันการชำระหนี้ของจำเลยที่ 1 จึงไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์ด้วย
เมื่อพยานหลักฐานที่โจทก์นำสืบมาปราศจากน้ำหนัก ฟังไม่ได้ว่าลายมือชื่อในช่องผู้กู้ในสัญญากู้เงินตามฟ้องเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 1 ดังนี้เมื่อโจทก์สืบไม่สมฟ้องและจำเลยที่ 1 ไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์ตามในสัญญากู้เงินดังกล่าวแล้ว จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันและผู้จำนองเป็นประกันการชำระหนี้ของจำเลยที่ 1 จึงไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2857/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์ลายมือชื่อในสัญญากู้เงิน การสืบพยานหลักฐานไม่เพียงพอทำให้จำเลยไม่ต้องรับผิด
ธ. พยานโจทก์มิได้เป็นประจักษ์พยานรู้เห็นว่าจำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อเป็นผู้กู้ในสัญญากู้เงิน ทั้งโจทก์มิได้นำผู้ที่รู้เห็นข้อเท็จจริงดังกล่าวมาเบิกความต่อศาลที่โจทก์อ้างเหตุในชั้นฎีกาว่า พนักงานสาขาของโจทก์ผู้ที่รู้เห็นกรณีที่จำเลยที่ 1 เข้าทำสัญญากับโจทก์ ย่อมต้องบอกเล่าให้ ธ.ทราบโดยละเอียดแม้ธ. จะมารับตำแหน่งภายหลังการทำสัญญา ก็ย่อมทราบได้อย่างแน่ชัดว่าจำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อต่อหน้าพนักงานของธนาคารนั้นเป็นเพียงการคาดเดาของโจทก์ที่อ้างขึ้นในชั้นฎีกาโดย ธ. มิได้เบิกความถึงข้อเท็จจริงดังกล่าวเลยคำเบิกความของพยานโจทก์มีน้ำหนักน้อย เมื่อพยานหลักฐานที่โจทก์นำสืบมาปราศจากน้ำหนักฟังไม่ได้ว่าลายมือชื่อในช่องผู้กู้ในสัญญากู้เงินตามฟ้องเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 1 ดังนี้ เมื่อโจทก์สืบไม่สมฟ้องและจำเลยที่ 1 ไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์ตามในสัญญากู้เงินดังกล่าวแล้ว จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันและผู้จำนองเป็นประกันการชำระหนี้ของจำเลยที่ 1จึงไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2719/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานะผู้จัดการมรดกยังไม่สิ้นสุด แม้มีคำสั่งถอนจากการเป็นผู้จัดการมรดกในคดีแพ่งอื่น โจทก์มีอำนาจฟ้อง
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้ถอนโจทก์ออกจากการเป็นผู้จัดการมรดกของช. ในคดีแพ่งแต่คดียังไม่ถึงที่สุดเพราะโจทก์อุทธรณ์ข้อเท็จจริงยังรับฟังเป็นยุติไม่ได้จึงใช้ยันบุคคลภายนอกคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา145(1)ไม่ได้ส่วนบทบัญญัติวรรคแรกที่ว่าคำพิพากษาหรือคำสั่งใดๆให้มีผลผูกพันนับแต่วันที่ได้มีคำพิพากษาหรือคำสั่งจนถึงวันที่คำพิพากษาหรือคำสั่งดังกล่าวถูกเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นเป็นเรื่องที่ให้ถือว่าผูกพันคู่ความในกระบวนพิจารณาของศาลที่พิพากษาหรือมีคำสั่งเท่านั้นคำสั่งของศาลชั้นต้นที่ให้ถอนโจทก์จากการเป็นผู้จัดการมรดกจึงมีผลผูกพันเฉพาะคู่ความในคดีแพ่งนั้นของศาลชั้นต้นไม่มีผลผูกพันถึงคู่ความในคดีนี้แม้จำเลยจะเป็นผู้ร้องขอให้ถอนโจทก์ออกจากการเป็นผู้จัดการมรดกในคดีดังกล่าวก็ตามแต่ก็เป็นคู่ความคนละคดีกันจำเลยจึงไม่อาจยกขึ้นอ้างอิงในคดีนี้ได้โจทก์ยังคงมีฐานะเป็นผู้จัดการมรดกของช. อยู่จึงเป็นผู้เสียหายมีอำนาจฟ้องจำเลยฐานปลอมตั๋วสัญญาใช้เงินของช. เป็นคดีนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2719/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานะผู้จัดการมรดกคดีแพ่งไม่ผูกพันคดีอาญา แม้ศาลสั่งถอนแต่คดียังไม่ถึงที่สุด ผู้เสียหายยังฟ้องได้
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้ถอนโจทก์ออกจากการเป็นผู้จัดการมรดก ของ ช. ในคดีแพ่ง แต่คดียังไม่ถึงที่สุด เพราะโจทก์อุทธรณ์ ข้อเท็จจริงยังรับฟังเป็นยุติไม่ได้ จึงใช้ยัน บุคคลภายนอกคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 145(1) ไม่ได้ ส่วนบทบัญญัติวรรคแรกที่ว่าคำพิพากษาหรือคำสั่งใด ๆ ให้มีผลผูกพันนับแต่วันที่ได้มีคำพิพากษา หรือคำสั่งจนถึงวันที่คำพิพากษาหรือคำสั่งดังกล่าว ถูกเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นเป็นเรื่องที่ให้ถือว่าผูกพัน คู่ความในกระบวนพิจารณาของศาลที่พิพากษาหรือมีคำสั่งเท่านั้นคำสั่งของศาลชั้นต้นที่ให้ถอนโจทก์จากการเป็นผู้จัดการมรดกจึงมีผลผูกพันเฉพาะคู่ความในคดีแพ่งนั้นของศาลชั้นต้นไม่มีผลผูกพันถึงคู่ความในคดีนี้ แม้จำเลยจะเป็นผู้ร้องขอให้ถอนโจทก์ออกจากการเป็นผู้จัดการมรดกในคดีดังกล่าวก็ตาม แต่ก็เป็นคู่ความคนละคดีกัน จำเลยจึงไม่อาจยกขึ้นอ้างอิงในคดีนี้ได้ โจทก์ยังคงมีฐานะเป็นผู้จัดการมรดกของช. อยู่ จึงเป็นผู้เสียหายมีอำนาจฟ้องจำเลยฐานปลอมตั๋วสัญญาใช้เงินของ ช. เป็นคดีนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2538/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการฎีกาในคดีที่มีราคาทรัพย์สินพิพาทเกินสองแสนบาท และประเด็นสิทธิครอบครอง
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์เป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาท จำเลยให้การต่อสู้ว่าจำเลยมีสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาท แม้จะมีคำขอตามฟ้องแย้งขอให้โจทก์คืนหนังสือรับรองการทำประโยชน์ก็ตาม แต่ประเด็นข้อพิพาทที่แท้จริงของคดีก็คือ โจทก์หรือจำเลยเป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่พิพาท ส่วนคำขอที่ขอให้ส่งมอบหนังสือรับรองการทำประโยชน์ก็เป็นผลต่อเนื่องมาจากประเด็นว่าสิทธิครอบครองเป็นของโจทก์หรือจำเลย จึงเป็นคดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคำนวณเป็นราคา-เงินได้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 248 วรรคหนึ่ง เมื่อคดีนี้เป็นคดีมีราคาทรัพย์สินที่พิพาทกันในชั้นฎีกาสองแสนบาท จำเลยฎีกาโต้เถียงดุลพินิจให้การรับฟังพยานหลักฐานเป็นฎีกาในข้อเท็จจริง และไม่เข้าข้อยกเว้นที่จะฎีกาได้ จึงต้องห้ามมิให้ฎีกา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2538/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้าม: คดีราคาไม่เกินสองแสนบาท ฎีกาข้อเท็จจริงขัดมาตรา 248 วรรคหนึ่ง
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์เป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาทจำเลยให้การต่อสู้ว่าจำเลยมีสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทแม้จะมีคำขอตามฟ้องแย้งขอให้โจทก์คืนหนังสือรับรองการทำประโยชน์ก็ตามแต่ประเด็นข้อพิพาทที่แท้จริงของคดีก็คือโจทก์หรือจำเลยเป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่พิพาทส่วนคำขอที่ขอให้ส่งมอบหนังสือรับรองการทำประโยชน์ก็เป็นผลต่อเนื่องมาจากประเด็นว่าสิทธิครอบครองเป็นของโจทก์หรือจำเลยจึงเป็นคดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา248วรรคหนึ่งเมื่อคดีนี้เป็นคดีมีราคาทรัพย์สินที่พิพาทกันในชั้นฎีกาสองแสนบาทจำเลยฎีกาโต้เถียงดุลพินิจให้การรับฟังพยานหลักฐานเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงและไม่เข้าข้อยกเว้นที่จะฎีกาได้จึงต้องห้ามมิให้ฎีกา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2538/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้าม: คดีมีราคาทรัพย์สินไม่เกินสองแสนบาท ฎีกาข้อเท็จจริงขัดต่อกฎหมาย
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์เป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาทจำเลยให้การต่อสู้ว่าจำเลยมีสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทแม้จะมีคำขอตามฟ้องแย้งขอให้โจทก์คืนหนังสือรับรองการทำประโยชน์ก็ตามแต่ประเด็นข้อพิพาทที่แท้จริงของคดีก็คือโจทก์หรือจำเลยเป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่พิพาทส่วนคำขอที่ขอให้ส่งมอบหนังสือรับรองการทำประโยชน์ก็เป็นผลต่อเนื่องมาจากประเด็นว่าสิทธิครอบครองเป็นของโจทก์หรือจำเลยจึงเป็นคดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา248วรรคหนึ่งเมื่อคดีนี้เป็นคดีมีราคาทรัพย์สินที่พิพาทกันในชั้นฎีกาสองแสนบาทจำเลยฎีกาโต้เถียงดุลพินิจให้การรับฟังพยานหลักฐานเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงและไม่เข้าข้อยกเว้นที่จะฎีกาได้จึงต้องห้ามมิให้ฎีกา