คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
เดชา สุวรรณโณ

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 711 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2115/2533 เวอร์ชัน 5 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความต่อเนื่องแห่งการกระทำอนาจารและพยายามข่มขืน: การพิจารณาเป็นกรรมเดียว
จำเลยกระทำอนาจารโดยอุ้มผู้เสียหายเข้าไปในป่าแล้ว กอดจูบ ผู้เสียหาย หลังจากนั้นได้อุ้มผู้เสียหายต่อ เข้าไปอีกแล้ว พยายามกระทำชำเรา ผู้เสียหาย แม้จะมีระยะทางห่างกันถึง ๒๐ เส้น แต่ก็เป็นการกระทำที่ต่อเนื่องกันโดย ความมุ่งหมายที่จะกระทำชำเรา ผู้เสียหาย การกระทำของจำเลยจึงเป็นกรรมเดียวผิดต่อ กฎหมายหลายบท.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2115/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การกระทำอนาจารต่อเนื่องโดยเจตนาข่มขืน เป็นกรรมเดียวผิดหลายบท
การที่จำเลยกระทำอนาจารโดยอุ้มผู้เสียหายเข้าไปในป่าแล้วกอดจูบ ผู้เสียหาย หลังจากนั้นอุ้มผู้เสียหายต่อเข้าไปอีก แล้วพยายามกระทำชำเราผู้เสียหายแม้จะมีระยะทางห่างกันถึง 20 เส้นแต่ก็เป็นการกระทำที่ต่อเนื่องกันโดยความมุ่งหมายที่จะกระทำชำเราผู้เสียหาย การกระทำของจำเลยจึงเป็นกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2115/2533 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความต่อเนื่องแห่งการกระทำทางเพศ: การพิจารณาเป็นกรรมเดียว แม้มีระยะทาง
จำเลยกระทำอนาจารโดยอุ้มผู้เสียหายเข้าไปในป่าแล้วกอดจูบผู้เสียหาย หลังจากนั้นได้อุ้มผู้เสียหายต่อเข้าไปอีกแล้วพยายามกระทำชำเราผู้เสียหาย แม้จะมีระยะทางห่างกันถึง 20 เส้น แต่ก็เป็นการกระทำที่ต่อเนื่องกันโดย ความมุ่งหมายที่จะกระทำชำเราผู้เสียหาย การกระทำของจำเลยจึงเป็นกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2115/2533

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความต่อเนื่องแห่งการกระทำทางเพศ: อนาจารและพยายามข่มขืนเป็นกรรมเดียว
จำเลยกระทำอนาจารโดยอุ้มผู้เสียหายเข้าไปในป่าแล้วกอดจูบ ผู้เสียหาย หลังจากนั้นได้อุ้มผู้เสียหายต่อ เข้าไปอีกแล้วพยายามกระทำชำเรา ผู้เสียหาย แม้จะมีระยะทางห่างกันถึง 20 เส้นแต่ก็เป็นการกระทำที่ต่อเนื่องกันโดย ความมุ่งหมายที่จะกระทำชำเราผู้เสียหาย การกระทำของจำเลยจึงเป็นกรรมเดียวผิดต่อ กฎหมายหลายบท.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2115/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การกระทำอนาจารและพยายามข่มขืนกระทำชำเราโดยต่อเนื่อง การพิพากษาความผิดและพิจารณาพยานหลักฐาน
จำเลยกระทำอนาจารโดยอุ้มผู้เสียหายเข้าไปในป่าแล้วกอดจูบผู้เสียหาย หลังจากนั้นได้อุ้มผู้เสียหายต่อไปอีกแล้วพยายามกระทำชำเราผู้เสียหาย แม้จะมีระยะทางห่างกันถึง 20 เส้นแต่ก็เป็นการกระทำที่ต่อเนื่องกันโดยความมุ่งหมายที่จะกระทำชำเราผู้เสียหาย การกระทำของจำเลยจึงเป็นกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2104/2533

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การมอบตัวและการเบิกความรับสารภาพบางส่วนเป็นเหตุบรรเทาโทษตาม ป.อ. มาตรา 78
จำเลยได้เข้ามอบตัวต่อเจ้าพนักงานหลังเกิดเหตุเป็นเวลาเดือนเศษ และแม้จะไม่ให้การเกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในชั้นสอบสวน แต่ในชั้นศาลจำเลยก็เบิกความรับว่าอยู่ในเหตุการณ์ตั้งแต่ต้นจนถึงเวลาเกิดเหตุ เพียงแต่ปฏิเสธว่ามิใช่เป็นคนยิงเท่านั้น การมอบตัวและเบิกความดังกล่าวเป็นการลุแก่โทษต่อเจ้าพนักงานและให้ความรู้แก่ศาลอันเป็นประโยชน์แก่การพิจารณาเป็นเหตุบรรเทาโทษตาม ป.อ. มาตรา 78.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1986/2533

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาจำนองและสัญญากู้เงินที่สมคบกันแสดงเจตนาลวงเป็นโมฆะ ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้
สัญญาจำนองและสัญญากู้เงินระหว่างโจทก์ กับ พ. เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเพราะโจทก์และ พ. สมคบกันแสดงเจตนาลวง สัญญาดังกล่าวจึงเป็นโมฆะ แม้โจทก์จะมีชื่อ ในสัญญาจำนองในฐานะผู้รับจำนอง ก็ถือไม่ได้ว่าโจทก์มีเงินได้ประเภทดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่จะต้องชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1944/2533

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดฐานปล้นทรัพย์และการไม่ผิดฐานทำร้ายร่างกายเมื่อความผิดฐานปล้นทรัพย์เป็นบทเฉพาะ
จำเลยกับพวกร่วมกันเป็นคนร้ายปล้นทรัพย์ผู้เสียหายมีความผิดฐาน ปล้นทรัพย์ซึ่ง เป็นบทเฉพาะแล้ว จำเลยไม่มีความผิดฐาน ทำร้ายร่างกายอีก.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1893/2533

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การป้องกันตัวและการประเมินอันตรายสาหัส: ศาลมีอำนาจกำหนดโทษและรอการลงโทษได้
วันเกิดเหตุผู้เสียหายไปที่บ้านจำเลยเพื่อปรับความเข้าใจกับจำเลยเรื่องที่ผู้เสียหายถูกหาว่าเป็นชู้กับภรรยาจำเลย ประมาณ10 นาทีก็กลับไป วันเดียวกันผู้เสียหายเมาสุรากลับมาที่บ้านจำเลยเคาะประตูเรียกภรรยาจำเลยอ้างว่าลืมหมูไว้ จำเลยเปิดประตูออกมาบอกว่าหมูไม่มีและไม่ยอมให้ผู้เสียหายเข้าไปในบ้านผู้เสียหายได้ชกเตะต่อยจำเลยแล้วเกิดต่อสู้กัน ผู้เสียหายใช้ขวดสุราตีและถีบจำเลยล้มลง จำเลยวิ่งเข้าไปเอามีดในครัวมาแทงผู้เสียหายเห็นได้ว่าขณะที่จำเลยใช้มีดแทง ผู้เสียหายมิได้ก่อภัยอันใดขึ้นที่จำเลยจำต้องกระทำเพื่อป้องกันการที่จำเลยใช้มีดแทงผู้เสียหายจึงไม่เป็นการป้องกันตัว โจทก์อุทธรณ์ขอให้ศาลอุทธรณ์แก้คำพิพากษาศาลชั้นต้นลงโทษจำเลยฐานพยายามฆ่าผู้อื่นตามฟ้อง เท่ากับอุทธรณ์ขอให้เพิ่มโทษและคัดค้านคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้รอการลงโทษไปในตัว เมื่อศาลอุทธรณ์เห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นความผิด ก็ชอบที่ศาลอุทธรณ์จะใช้ดุลพินิจกำหนดโทษตามที่เห็นสมควรได้ การที่ศาลอุทธรณ์ไม่รอการลงโทษให้จำเลยจึงไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 ประกอบด้วยมาตรา 215 กรณีจะเป็นอันตรายสาหัสตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297(8)หรือไม่ต้องพิจารณาจากผลของการทำร้ายว่าเป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทำต้องทุพพลภาพหรือป่วยเจ็บด้วยอาการทุกขเวทนาเกินกว่ายี่สิบวันหรือจนประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้เกินกว่ายี่สิบวันหรือไม่มิใช่ต้องพิจารณาเฉพาะจากบาดแผลที่ปรากฏให้เห็นชัด เมื่อปรากฏข้อเท็จจริงว่าการกระทำของจำเลยเป็นเหตุให้ผู้เสียหายเจ็บที่ท้องจนประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้เกินกว่ายี่สิบวัน ผู้เสียหายย่อมได้รับอันตรายสาหัสแล้ว คดีที่ฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย ศาลฎีกาก็มีอำนาจที่จะพิพากษาลงโทษจำเลยให้เหมาะสมแก่ความผิดได้ เมื่อศาลฎีกาเห็นว่าตามพฤติการณ์มีเหตุสมควรรอการลงโทษ ศาลฎีกาก็พิพากษาให้รอการลงโทษจำคุกให้แก่จำเลยได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1893/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การทำร้ายร่างกาย การป้องกันตัว การพิจารณาอันตรายสาหัส และการรอการลงโทษ
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย 6 เดือน ปรับ 1,000 บาทโทษจำคุกรอไว้ 1 ปี ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่า ให้ลงโทษจำคุก1 ปี จำเลยฎีกาว่าคดีฟังไม่ได้ว่าจำเลยทำร้ายผู้เสียหาย เป็นปัญหาข้อเท็จจริง คดีจึงต้องห้าม ฎีกาตาม ป.วิ.อ. มาตรา 219 ที่แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา(ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2517 มาตรา 6 วันเกิดเหตุเวลา 11 นาฬิกา ผู้เสียหายไปที่บ้านจำเลยเพื่อ ปรับความเข้าใจกับจำเลยถึง เรื่องที่ผู้เสียหายถูก หาว่าเป็นชู้ กับภริยาจำเลยระหว่างที่จำเลยไปทำงานต่างประเทศประมาณ 10 นาที ก็กลับไป เวลา 15 นาฬิกา วันเดียวกันผู้เสียหายเมาสุรากลับมา ที่บ้านจำเลยเคาะประตูเรียกภรรยาจำเลยอ้างว่า ลืมหมูไว้ จำเลย เปิดประตูออกมาบอกว่าหมูไม่มีและไม่ยอมให้ผู้เสียหายเข้าไปในบ้าน ผู้เสียหายจึงได้ ชกเตะ ต่อย จำเลยแล้วเกิดการต่อสู้ กัน ผู้เสียหาย ใช้ ขวดสุราตี และถีบ จำเลยล้มลง จำเลยวิ่งเข้าไปเอามีดในครัว มาแทงผู้เสียหาย ดังนี้ ขณะที่จำเลยใช้ มีดแทงไม่ปรากฏว่าผู้เสียหาย ได้ ก่อภัยอันใด ขึ้นที่จำเลยจำต้องกระทำเพื่อป้องกันตัว การที่จำเลย ใช้มีดแทงผู้เสียหายจึงไม่เป็นการป้องกันโดย ชอบด้วย กฎหมาย การที่โจทก์อุทธรณ์ขอให้ศาลอุทธรณ์แก้ คำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ลงโทษจำเลยฐาน ทำร้าย ร่างกายและรอการลงโทษไว้เป็นลงโทษจำเลย ฐาน พยายาม ฆ่า ผู้อื่นตาม ที่โจทก์ฟ้อง เท่ากับเป็นการอุทธรณ์ขอให้ เพิ่มโทษและคัดค้านคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้รอการลงโทษไปในตัว เมื่อศาลอุทธรณ์เห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นความผิดศาลอุทธรณ์ก็ชอบที่จะใช้ ดุลพินิจ กำหนดโทษตาม ที่เห็นสมควรได้การที่ศาลอุทธรณ์ไม่รอการลงโทษ จึงหาได้ ฝ่าฝืนต่อ ป.วิ.อ.มาตรา 192 ประกอบด้วย มาตรา 215 ไม่ การจะเป็นอันตรายสาหัสตาม ป.อ. มาตรา 297(8) หรือไม่ต้อง พิจารณาจากผลของการทำร้ายว่าเป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทำต้องทุพพลภาพหรือป่วยเจ็บด้วย อาการทุกขเวทนาเกินกว่ายี่สิบวัน หรือจนประกอบกรณียกิจตาม ปกติไม่ได้เกินกว่ายี่สิบวันหรือไม่ มิใช่ต้อง พิจารณาเฉพาะ จากบาดแผลที่ปรากฏให้เห็นชัดเจนภายนอก เมื่อการกระทำของจำเลยเป็นเหตุให้ผู้เสียหายเจ็บที่ท้องจนประกอบกรณียกิจ ตาม ปกติไม่ได้เกินกว่ายี่สิบวัน ย่อมถือ ว่าผู้เสียหายได้ รับอันตรายสาหัสแล้ว แม้เป็นคดีที่ฎีกาได้ เฉพาะ ปัญหาข้อกฎหมาย แต่ ศาลฎีกาก็มีอำนาจที่จะพิพากษาลงโทษจำเลยให้เหมาะสมแก่ความผิดได้ เหตุที่เกิดขึ้นเพราะผู้เสียหายเป็นฝ่ายรุกรานก้าวร้าวก่อเหตุขึ้นก่อนส่วนจำเลยซึ่ง ไม่เคยรับโทษจำคุกมาก่อนถูก ขังในระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้นถึง 1 เดือน เศษ เพียงพอที่จะทำให้รู้สึกตัวกลัวผิดแล้ว ทั้งผู้เสียหายก็ไม่ประสงค์จะเอาเรื่องกับจำเลย กรณีจึงสมควรรอการลงโทษจำคุกจำเลยไว้ได้.
of 72