คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
วิศิษฏ์ ลิมานนท์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 533 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 833/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การไต่สวนคำร้องเพิกถอนหมายบังคับคดี: การพิจารณาข้อเท็จจริงโดยศาลถือเป็นการไต่สวนแล้ว
จำเลยยื่นคำร้องว่ามิได้ผิดสัญญาประนีประนอมยอมความ ขอให้เพิกถอนหมายบังคับคดี ศาลได้นัดคู่ความพร้อมกัน ในวันนัดศาลสอบข้อเท็จจริงจากทนายโจทก์ และพิเคราะห์เหตุผลตามคำร้องของจำเลย แล้วมีคำสั่งให้ยกคำร้องดังนี้ การที่ศาลขึ้นนั่งพิจารณาแล้วสอบข้อเท็จจริงดังกล่าว ถือได้ว่าเป็นการไต่สวนแล้ว.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 833/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การไต่สวนคำร้องเพิกถอนหมายบังคับคดี: การพิจารณาข้อเท็จจริงถือเป็นการไต่สวนแล้ว
จำเลยยื่นคำร้องว่ามิได้ผิดสัญญาประนีประนอมยอมความ ขอให้เพิกถอนหมายบังคับคดี ศาลได้นัดคู่ความพร้อมกัน ในวันนัดศาลสอบข้อเท็จจริงจากทนายโจทก์ และพิเคราะห์เหตุผลตามคำร้องของจำเลย แล้วมีคำสั่งให้ยกคำร้องดังนี้ การที่ศาลขึ้นนั่งพิจารณาแล้วสอบข้อเท็จจริงดังกล่าว ถือได้ว่าเป็นการไต่สวนแล้ว.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 833/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การไต่สวนคำร้องคัดค้านหมายบังคับคดี ศาลพิจารณาจากข้อเท็จจริงที่มีอยู่แล้วถือเป็นการไต่สวนเพียงพอ
จำเลยยื่นคำร้องว่ามิได้ผิดสัญญาประนีประนอมยอมความ ขอให้เพิกถอนหมายบังคับคดี ศาลได้นัดคู่ความพร้อมกัน ในวันนัดศาลสอบข้อเท็จจริงจากทนายโจทก์และพิเคราะห์เหตุผลตามคำร้องของจำเลยแล้วมีคำสั่งให้ยกคำร้อง ดังนี้ การที่ศาลขึ้นนั่งพิจารณาแล้วสอบข้อเท็จจริงดังกล่าว ถือได้ว่าเป็นการไต่สวนแล้ว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 785/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างลูกจ้างของรัฐวิสาหกิจ: การยุบเลิกกิจการโดยมติคณะรัฐมนตรีชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ และมีผลต่อการเลิกจ้างลูกจ้างหรือไม่
ศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่า ผู้ร้องได้เลิกกิจการแล้ว ผู้ร้องจึงไม่มีเหตุจำเป็นที่จะจ้าง ผู้คัดค้านต่อไปกรณีมีเหตุสมควรที่จะเลิกจ้างผู้คัดค้านทั้งหมดได้ ดังนี้ที่ผู้คัดค้านอุทธรณ์ว่ากิจการของผู้ร้องจะยุบเลิกหรือหยุดดำเนินกิจการได้ต่อเมื่อมีพระราชกฤษฎีกาให้ยุบเลิกหรือหยุดดำเนินการออกใช้บังคับ จึงไม่มีประโยชน์ที่ศาลจะวินิจฉัยเพราะการที่ผู้ร้องยุบเลิกกิจการหรือหยุดดำเนินการจะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ จะต้องออกเป็นพระราชกฤษฎีกาหรือไม่ ไม่เกี่ยวกับการที่ผู้ร้อง ขอ อนุญาตเลิกจ้างผู้คัดค้านในคดีนี้ เมื่อได้ความว่าผู้ร้องได้เลิกกิจการแล้ว ผู้ร้องก็ชอบที่จะเลิกจ้างผู้คัดค้านซึ่งเป็นคณะกรรมการลูกจ้างได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 785/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างลูกจ้างรัฐวิสาหกิจตามมติคณะรัฐมนตรี โดยไม่ต้องมีพระราชกฤษฎีกา
ศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่า ผู้ร้องได้เลิกกิจการแล้วผู้ร้องจึงไม่มีเหตุจำเป็นที่จะจ้างผู้คัดค้านต่อไป กรณีมีเหตุสมควรที่จะเลิกจ้างผู้คัดค้านทั้งหมดได้ ดังนี้ ที่ผู้คัดค้านอุทธรณ์ว่ากิจการของผู้ร้องจะยุบเลิกหรือหยุดดำเนินกิจการได้ต่อเมื่อมีพระราชกฤษฎีกาให้ยุบเลิกหรือหยุดดำเนินการออกใช้บังคับ จึงไม่มีประโยชน์ที่ศาลจะวินิจฉัยเพราะการที่ผู้ร้องยุบเลิกกิจการหรือหยุดดำเนินการจะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่จะต้องออกเป็นพระราชกฤษฎีกาหรือไม่ไม่เกี่ยวกับการที่ผู้ร้องขออนุญาตเลิกจ้างผู้คัดค้านในคดีนี้ เมื่อได้ความว่าผู้ร้องได้เลิกกิจการแล้ว ผู้ร้องก็ชอบที่จะเลิกจ้างผู้คัดค้านซึ่งเป็นคณะกรรมการลูกจ้างได้.(ที่มา-ส่งเสริม)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 785/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างลูกจ้างในรัฐวิสาหกิจ: มติคณะรัฐมนตรี vs. พระราชกฤษฎีกา
ศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่า ผู้ร้องได้เลิกกิจการแล้วผู้ร้องจึงไม่มีเหตุจำเป็นที่จะจ้างผู้คัดค้านต่อไป กรณีมีเหตุสมควรที่จะเลิกจ้างผู้คัดค้านทั้งหมดได้ ดังนี้ ที่ผู้คัดค้านอุทธรณ์ว่ากิจการของผู้ร้องจะยุบเลิกหรือหยุดดำเนินกิจการได้ต่อเมื่อมีพระราชกฤษฎีกาให้ยุบเลิกหรือหยุดดำเนินการออกใช้บังคับ จึงไม่มีประโยชน์ที่ศาลจะวินิจฉัยเพราะการที่ผู้ร้องยุบเลิกกิจการหรือหยุดดำเนินการจะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่จะต้องออกเป็นพระราชกฤษฎีกาหรือไม่ไม่เกี่ยวกับการที่ผู้ร้องขออนุญาตเลิกจ้างผู้คัดค้านในคดีนี้ เมื่อได้ความว่าผู้ร้องได้เลิกกิจการแล้ว ผู้ร้องก็ชอบที่จะเลิกจ้างผู้คัดค้านซึ่งเป็นคณะกรรมการลูกจ้างได้.(ที่มา-ส่งเสริม)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 716/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิในเครื่องหมายการค้า: การพิจารณาความเป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าและการจดทะเบียน
แม้เครื่องหมายการค้าตามคำขอจดทะเบียนของจำเลยที่ 1 ที่ 2จะไม่มีรูปสิงโตและดาวภายในวงกลมอยู่ตรงกลางเหมือนกับเครื่องหมายการค้าตามคำขอจดทะเบียนของโจทก์ โดยมีแต่รูปวงกลมอยู่ตรงกลางเครื่องหมายการค้าเท่านั้น แต่ตอนบนของเครื่องหมายการค้าที่โจทก์และจำเลยที่ 1 ที่ 2 ขอจดทะเบียนดังกล่าว มีข้อความเป็นตัวอักษรโรมันอ่านว่า ไลอ้อนแบรนด์เหมือนกัน ถัดจากตัวอักษรโรมันดังกล่าว ยังมีข้อความเป็นอักษรโรมันและอักษรจีนที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน ตลอดจนมีอักษรไทยเขียนว่าผงวุ้นชั้นพิเศษตราไลอ้อนเหมือนกันตัวอักษรทั้งสามภาษาดังกล่าวมีขนาดใกล้เคียงกันและถูกจัดวางในลักษณะเดียวกัน ส่วนตอนล่างของเครื่องหมายการค้าทั้งสองก็เป็นชื่อของห้างหุ้นส่วนจำกัดโจทก์ และห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 1 ซึ่งต่างก็มีคำว่าพัฒนาสินอยู่ด้วย พร้อมทั้งเบอร์โทรศัพท์อยู่ภายในกรอบสี่เหลี่ยมขนาดเท่ากัน เมื่อเครื่องหมายการค้าของทั้งโจทก์และจำเลยที่ 1 ที่ 2 ต่างใช้กับสินค้าผงวุ้นเหมือนกันตลอดจนอาจถูกเรียกขานว่าตราไลอ้อนได้เหมือนกัน จึงถือได้ว่าเครื่องหมายการค้าทั้งสองเครื่องหมายดังกล่าว เป็นเครื่องหมายการค้าที่เกือบเหมือนกันใช้สำหรับสินค้าเดียวหรือชนิดเดียวกันตามนัยมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติ เครื่องหมายการค้าพ.ศ. 2474
แม้จำเลยที่ 2 จำหน่ายผงวุ้นบรรจุซองพลาสติกร่วมกับโจทก์มาแต่แรก ก็เป็นเพียงช่วยจำหน่ายในฐานะลูกจ้างโจทก์เท่านั้นโจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่มีข้อความและภาพเกือบเหมือนกับที่โจทก์ใช้บรรจุผงวุ้นมาก่อนดีกว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2
การนำเอาเหตุผลในคำพิพากษาฎีกาในคดีซึ่งจำเลยที่ 2 เป็นโจทก์ฟ้องหุ้นส่วนผู้จัดการของโจทก์ในคดีนี้มาประกอบคำเบิกความของพยาน เพื่อวินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงในคดีนี้มิใช่เป็นการนำคำพิพากษาฎีกาดังกล่าวมาผูกพันโจทก์และจำเลยที่ 1 คดีนี้ซึ่งมิใช่คู่ความในคดีก่อน.(ที่มา-ส่งเสริม)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 716/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เครื่องหมายการค้าเกือบเหมือนกัน-การใช้ก่อน-ลูกจ้างจำหน่ายสินค้า: สิทธิในการจดทะเบียน
แม้เครื่องหมายการค้าตาม คำขอจดทะเบียนของจำเลยที่ ๑ ที่ ๒จะไม่มีรูปสิงโต และดาว ภายในวงกลมอยู่ตรง กลางเครื่องหมายการค้า-เหมือนกับเครื่องหมายการค้าตาม คำขอจดทะเบียนของโจทก์ โดย มีแต่ รูปวงกลมอยู่ตรง กลางเครื่องหมายการค้าเท่านั้นแต่ ตอนบนของเครื่องหมายการค้าที่โจทก์และจำเลยที่ ๑ ที่ ๒ ขอจดทะเบียนดังกล่าว มีข้อความเป็นตัวอักษรโรมันอ่านว่า ไลอ้อนแบรนด์เหมือนกัน ถัด จากตัวอักษรโรมันดังกล่าว เครื่องหมายการค้าทั้งสองยังมีข้อความเป็นอักษรโรมันและอักษรจีนที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันตลอดจนมีอักษรไทยเขียนว่าผงวุ้นชั้นพิเศษตราไลอ้อน เหมือนกันและตัวอักษรทั้งสามภาษาดังกล่าวมีขนาดใกล้เคียงกัน และถูก จัดวางในลักษณะเดียวกันส่วนตอนล่างของเครื่องหมายการค้าทั้งสองก็เป็นชื่อของห้างหุ้นส่วนจำกัดโจทก์ และห้างหุ้นส่วนจำกัด จำเลยที่ ๑ ซึ่งต่าง ก็มีคำว่าพัฒนาสินอยู่ด้วย พร้อมทั้งเบอร์ โทรศัพท์อยู่ภายในกรอบสี่เหลี่ยมขนาดเท่ากัน เมื่อเครื่องหมายการค้าของทั้งโจทก์และจำเลยที่ ๑ ที่ ๒ ต่าง ใช้ กับสินค้าผงวุ้นเหมือนกันตลอดจนอาจถูก เรียกขานว่าตรา ไลอ้อน ได้ เหมือนกัน จึงถือได้ว่าเครื่องหมายการค้าทั้งสองเครื่องหมายดังกล่าว เป็นเครื่องหมายการค้าที่เกือบเหมือนกันใช้ สำหรับสินค้าเดียว หรือชนิดเดียวกัน ตาม นัยมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. ๒๔๗๔
แม้จำเลยที่ ๒ จำหน่ายผงวุ้นบรรจุซอง พลาสติกร่วมกับโจทก์มาแต่ แรก ก็เป็นเพียงช่วย จำหน่ายในฐานะ ลูกจ้างโจทก์เท่านั้นโจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่มีข้อความและภาพเกือบเหมือนกับที่โจทก์ใช้ บรรจุผงวุ้นมาก่อนดีกว่าสิทธิของจำเลยที่ ๑ ที่ ๒
การนำเอาเหตุผลในคำพิพากษาฎีกาในคดีซึ่ง จำเลยที่ ๒ เป็นโจทก์ฟ้องหุ้นส่วนผู้จัดการของโจทก์ในคดีนี้มาประกอบคำเบิกความของพยานเพื่อวินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงในคดีนี้ มิใช่เป็นการนำคำพิพากษาฎีกาดังกล่าวมาผูกพันโจทก์และจำเลยที่ ๑ คดีนี้ซึ่ง มิใช่คู่ความในคดีก่อน.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 716/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เครื่องหมายการค้าเกือบเหมือนกัน สิทธิการจดทะเบียน และการใช้เครื่องหมายการค้าโดยลูกจ้าง
แม้เครื่องหมายการค้าตาม คำขอจดทะเบียนของจำเลยที่ 1 ที่ 2จะไม่มีรูปสิงโต และดาว ภายในวงกลมอยู่ตรง กลางเครื่องหมายการค้า-เหมือนกับเครื่องหมายการค้าตาม คำขอจดทะเบียนของโจทก์ โดย มีแต่ รูปวงกลมอยู่ตรง กลางเครื่องหมายการค้าเท่านั้นแต่ ตอนบนของเครื่องหมายการค้าที่โจทก์และจำเลยที่ 1 ที่ 2 ขอจดทะเบียนดังกล่าว มีข้อความเป็นตัวอักษรโรมันอ่านว่า ไลอ้อนแบรนด์เหมือนกัน ถัด จากตัวอักษรโรมันดังกล่าว เครื่องหมายการค้าทั้งสองยังมีข้อความเป็นอักษรโรมันและอักษรจีนที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันตลอดจนมีอักษรไทยเขียนว่าผงวุ้นชั้นพิเศษตราไลอ้อน เหมือนกันและตัวอักษรทั้งสามภาษาดังกล่าวมีขนาดใกล้เคียงกัน และถูก จัดวางในลักษณะเดียวกันส่วนตอนล่างของเครื่องหมายการค้าทั้งสองก็เป็นชื่อของห้างหุ้นส่วนจำกัดโจทก์ และห้างหุ้นส่วนจำกัด จำเลยที่ 1 ซึ่งต่าง ก็มีคำว่าพัฒนาสินอยู่ด้วย พร้อมทั้งเบอร์ โทรศัพท์อยู่ภายในกรอบสี่เหลี่ยมขนาดเท่ากัน เมื่อเครื่องหมายการค้าของทั้งโจทก์และจำเลยที่ 1 ที่ 2 ต่าง ใช้ กับสินค้าผงวุ้นเหมือนกันตลอดจนอาจถูก เรียกขานว่าตรา ไลอ้อน ได้ เหมือนกัน จึงถือได้ว่าเครื่องหมายการค้าทั้งสองเครื่องหมายดังกล่าว เป็นเครื่องหมายการค้าที่เกือบเหมือนกันใช้ สำหรับสินค้าเดียว หรือชนิดเดียวกัน ตาม นัยมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2474 แม้จำเลยที่ 2 จำหน่ายผงวุ้นบรรจุซอง พลาสติกร่วมกับโจทก์มาแต่ แรก ก็เป็นเพียงช่วย จำหน่ายในฐานะ ลูกจ้างโจทก์เท่านั้นโจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่มีข้อความและภาพเกือบเหมือนกับที่โจทก์ใช้ บรรจุผงวุ้นมาก่อนดีกว่าสิทธิของจำเลยที่ 1 ที่ 2 การนำเอาเหตุผลในคำพิพากษาฎีกาในคดีซึ่ง จำเลยที่ 2 เป็นโจทก์ฟ้องหุ้นส่วนผู้จัดการของโจทก์ในคดีนี้มาประกอบคำเบิกความของพยานเพื่อวินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงในคดีนี้ มิใช่เป็นการนำคำพิพากษาฎีกาดังกล่าวมาผูกพันโจทก์และจำเลยที่ 1 คดีนี้ซึ่ง มิใช่คู่ความในคดีก่อน.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 676/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิในเครื่องหมายการค้า: การแย่งสิทธิ vs. การลวงขายสินค้า - สินค้าคนละประเภท
แม้โจทก์จะได้ ฟ้องเกี่ยวกับคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า3 คำขอซึ่ง ได้ ขอจดทะเบียนกับสินค้าต่าง จำพวกกัน คือ คำขอแรกเกี่ยวกับสินค้าจำพวก 47 คำขอที่สองเกี่ยวกับสินค้าจำพวก 12 และคำขอที่สามเกี่ยวกับสินค้าจำพวก 38 โดย มีเฉพาะ คำขอเดียว คือคำขอที่สามเป็นการขอจดทะเบียนกับสินค้าจำพวกเดียวกับที่จำเลยได้ ขอจดทะเบียนไว้ซึ่ง โจทก์ขอให้เพิกถอน แต่ โจทก์ได้ ขอให้ศาลสั่งว่าโจทก์มีสิทธิในเครื่องหมายการค้าพิพาทดีกว่าจำเลยในสินค้าทั้ง 3 จำพวก และจำเลยฟ้องแย้งเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้าอันเดียวกัน การฟ้องแย้งขอให้แสดงสิทธิของจำเลย และขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับสินค้า 2 จำพวกแรกก็เป็นการฟ้องในส่วนที่เกี่ยวกับเครื่องหมายการค้าพิพาทที่โจทก์จดทะเบียนและฟ้องร้องอ้างสิทธินั่นเอง ฟ้องแย้งของจำเลยจึงเกี่ยวกับฟ้องเดิมอันชอบที่ศาลจะรับไว้พิจารณา หนังสือมอบอำนาจมีใจความว่า "เพื่อเริ่มการฟ้องคดีและต่อสู้ คดี...ไม่ว่าจะเป็นคดีแพ่งอาญาหรือคดีอื่น ๆ ..." เช่นนี้ย่อมหมายความว่า มอบอำนาจให้ฟ้องแย้งได้ ด้วย จำเลยบรรยายฟ้องแย้งว่า จำเลยได้ ประดิษฐ์เครื่องหมายการค้าพิพาท และได้ ใช้ เครื่องหมายการค้าดังกล่าวกับสินค้าของจำเลยมานาน อีกทั้งได้ จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าในต่างประเทศทั่วโลกรวมทั้งในประเทศไทยก็ได้ จดทะเบียนสำหรับสินค้าจำพวก 38โจทก์ไม่สุจริต แสวงหาประโยชน์อันมิชอบ ลอกเลียนเครื่องหมายการค้า ของจำเลยและนำไปยื่นขอจดทะเบียน เป็นการละเมิดขอให้เพิกถอน คำขอจดทะเบียนและเครื่องหมายการค้าของโจทก์ เช่นนี้เป็นคำฟ้อง ที่แสดงแจ้งชัดซึ่ง สภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับทั้งข้ออ้าง ที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาครบถ้วนตาม กฎหมายแล้วหาจำต้องบรรยายว่าสินค้าของจำเลยเป็นสินค้าอะไร ประชาชนผู้ใดซื้อ หา จำหน่ายแพร่หลาย ณ ที่ใด มียอด ขายเพียงใด และจำหน่าย โดย ผ่านตัวแทนใด ดังที่โจทก์อ้างในฎีกาไม่ เพราะข้อเหล่านั้นเป็นรายละเอียดที่จะนำสืบในชั้น พิจารณา โจทก์ได้ จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทคืออักษรโรมันประดิษฐ์ "ST" กับสินค้าจำพวกที่ 47 คือ น้ำมันจักร และจดทะเบียน เครื่องหมายการค้าพิพาทกับสินค้าจำพวก 12 คือ มีดซอย ผมทั้งได้ จำหน่ายสินค้าที่มีเครื่องหมายการค้า ตาม ที่ได้ จดทะเบียนไว้แล้ว ส่วนจำเลยเป็นผู้คิดประดิษฐ์เครื่องหมายการค้าพิพาทและได้ จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทในต่างประเทศเฉพาะ กับสินค้าจำพวก 38 เครื่องนุ่งห่มและแต่งกาย มาก่อนโจทก์แต่ มิได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาท สำหรับสินค้าจำพวก12 และ 47 แต่อย่างใด เช่นนี้ แม้คำฟ้องแย้งของจำเลยกล่าวอ้างว่า โจทก์ได้ ลอกเลียน เครื่องหมายการค้าของจำเลยนำไปจดทะเบียนและนำเครื่องหมายการค้าไปใช้ กับสินค้าของโจทก์ทำให้สาธารณชนหลงผิด ซึ่ง เป็นเรื่องอ้างว่าโจทก์ลวงขายสินค้าของโจทก์ให้ประชาชนเข้าใจว่าเป็นสินค้าของจำเลยอันจำเลยมีอำนาจฟ้องได้แม้เป็นสินค้าคนละจำพวกหรือคนละชนิดก็ตาม แต่ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยส่งสินค้ามาจำหน่ายในประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2522 ก่อนฟ้องคดีเพียง 4 ปี เท่านั้น ปริมาณก็ไม่มากนักและส่งมาขายแต่เฉพาะ ที่ศูนย์การค้า ส. กับที่ห้าง ซ. และจำเลยไม่เคยมีสินค้าจำพวก 12 และ 47 ส่วนสินค้าของโจทก์ปรากฏว่าโจทก์ใช้ เครื่องหมายการค้ารูปเอส ทีโดย ระบุชื่อร้าน แสงธิต ไว้ชัดเจน แสดงให้เห็นว่าสินค้านั้นเป็นของร้าน แสงธิต เช่นนี้ โจทก์ไม่ได้ทำให้ประชาชนเกิดสับสนในแหล่งกำเนิดหรือคุณภาพสินค้าของโจทก์ถึงขนาด ที่คนทั่วไปเมื่อเห็นสินค้าที่ใช้ เครื่องหมายการค้านั้นแล้ว เข้าใจว่าเป็นของบริษัทเดียวกันคือบริษัทจำเลยคดีจึงถือไม่ได้ว่าโจทก์ได้ ลวงขายสินค้าของตน ว่าเป็นสินค้าของจำเลย จำเลยจะขอให้เพิกถอนทะเบียนเครื่องหมายการค้าสินค้าจำพวก 12 และ 47 ของโจทก์หาได้ไม่
of 54