พบผลลัพธ์ทั้งหมด 112 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 311/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิของผู้เช่าช่วงเมื่อสัญญาเช่าที่ดินสิ้นสุด: ผู้เช่าช่วงไม่มีสิทธิอ้างกฎหมายคุ้มครองค่าเช่ากับผู้ให้เช่าเดิม
จำเลยเช่าที่ดินของโจทก์ปลูกอาคาร เมื่อครบกำหนดต้องรื้อไป ผู้เช่าอาคาร(ห้องแถว) ของจำเลยไม่ได้เช่าที่ดินของโจทก์ จึงเป็นการอาศัยสิทธิของจำเลยเท่านั้นและตกอยู่ในฐานะบริวารของจำเลยจะอ้างความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯและพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดินฯ ยันโจทก์ไม่ได้
กรณีสัญญาเช่าที่ดินครบกำหนดกับกรณีที่เลิกสัญญาเช่าก่อนครบกำหนด เป็นเรื่องทำนองเดียวกันคือผู้ให้เช่ามีสิทธิเรียกร้องเอาที่ดินที่ให้เช่าคืน (อ้างฎีกาที่337/2500)
กรณีสัญญาเช่าที่ดินครบกำหนดกับกรณีที่เลิกสัญญาเช่าก่อนครบกำหนด เป็นเรื่องทำนองเดียวกันคือผู้ให้เช่ามีสิทธิเรียกร้องเอาที่ดินที่ให้เช่าคืน (อ้างฎีกาที่337/2500)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 170/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องแย่งกรรมสิทธิ์ที่ดิน: ศาลมีอำนาจสั่งขับไล่จำเลยได้หากจำเลยเถียงกรรมสิทธิ์และโจทก์ชนะคดี
โจทก์ยื่นคำร้องขอเป็นคดีไม่มีข้อพิพาทขอให้ศาลสั่งแสดงว่าที่ดินมีโฉนดเป็นกรรมสิทธิของโจทก์โดยการครอบครอง จำเลยยื่นคำคัดค้านเถียงกรรมสิทธิ์ ศาลชั้นต้นสั่งดำเนินคดีอย่างมีข้อพิพาทแย่งกรรมสิทธิ์ที่ดิน และได้เรียกค่าธรรมเนียมจากโจทก์ครบถ้วนแล้ว ดังนี้ถือได้ว่า โจทก์ได้ฟ้องเรียกที่พิพาทจากจำเลย เมื่อศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดี ศาลจะมีคำสั่งให้ขับไล่จำเลยก็ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแอพ่ง มาตรา 142 (1) หาเป็นการเกินคำขอไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 170/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีไม่มีข้อพิพาทกลายเป็นคดีมีข้อพิพาทแย่งกรรมสิทธิ์ ศาลมีอำนาจสั่งขับไล่ได้
โจทก์ยื่นคำร้องขอเป็นคดีไม่มีข้อพิพาท ขอให้ศาลสั่งแสดงว่าที่ดินมีโฉนดเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์โดยการครอบครอง
จำเลยยื่นคำคัดค้านเถียงกรรมสิทธิ์ ศาลชั้นต้นสั่งดำเนินคดีอย่างมีข้อพิพาทแย่งกรรมสิทธิ์ที่ดิน และได้เรียกค่าธรรมเนียมจากโจทก์ครบถ้วนแล้ว ดังนี้ ถือได้ว่าโจทก์ได้ฟ้องเรียกที่พิพาทจากจำเลย เมื่อศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดี ศาลจะมีคำสั่งให้ขับไล่จำเลยก็ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(1) หาเป็นการเกินคำขอไม่
จำเลยยื่นคำคัดค้านเถียงกรรมสิทธิ์ ศาลชั้นต้นสั่งดำเนินคดีอย่างมีข้อพิพาทแย่งกรรมสิทธิ์ที่ดิน และได้เรียกค่าธรรมเนียมจากโจทก์ครบถ้วนแล้ว ดังนี้ ถือได้ว่าโจทก์ได้ฟ้องเรียกที่พิพาทจากจำเลย เมื่อศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดี ศาลจะมีคำสั่งให้ขับไล่จำเลยก็ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(1) หาเป็นการเกินคำขอไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 120/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าช่วง, การสิ้นสุดสิทธิเช่า, และความสัมพันธ์ทางละเมิดระหว่างเจ้าของที่ดินกับผู้เช่าช่วง
1. ผู้ร้องทำสัญญาเช่าอาคารจากจำเลยผู้เป็นเจ้าของอาคารคือ ไม่ได้เช่าต่อจากผู้ที่เช่าอาคารมาจากเจ้าของอาคาร ย่อมไม่เป็นการเช่าช่วง
2. ในกรณีที่จำเลยเช่าที่ดินของโจทก์ปลูกอาคารมีกำหนด10 ปี ตกลงกันว่าเมื่อครบ 10 ปีแล้วอาคารตกเป็นของโจทก์นั้นจำเลยมีอำนาจให้เช่าได้ในฐานะเป็นเจ้าของแต่หามีอำนาจให้เช่าเกิน 10 ปีไม่ เพราะอำนาจให้เช่าเกิน 10 ปี ย่อมตกอยู่แก่โจทก์ผู้เป็นเจ้าของอาคาร เมื่อจำเลยไม่มีอำนาจให้เช่าเกิน 10ปี การเช่าเกิน 10 ปีย่อมไม่ตกมายังโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 569 เมื่อการเช่าไม่ตกมายังโจทก์. ผู้ร้องกับโจทก์ก็ไม่มีนิติสัมพันธ์ต่อกันไม่มีฐานะเป็นคู่สัญญาเช่าต่อกัน เมื่อไม่ใช่คู่สัญญา โจทก์ก็ไม่ใช่ผู้ให้เช่าผู้ร้องอยู่ในอาคารของโจทก์ในฐานละเมิด กรณีไม่อยู่ในข่ายความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าในภาวะคับขันฯ ผู้ร้องเข้าอยู่ในอาคารของโจทก์โดยอาศัยอำนาจของจำเลยจึงถือว่าเป็นบริวาร
(อันดับ 2 ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 21/2505)
2. ในกรณีที่จำเลยเช่าที่ดินของโจทก์ปลูกอาคารมีกำหนด10 ปี ตกลงกันว่าเมื่อครบ 10 ปีแล้วอาคารตกเป็นของโจทก์นั้นจำเลยมีอำนาจให้เช่าได้ในฐานะเป็นเจ้าของแต่หามีอำนาจให้เช่าเกิน 10 ปีไม่ เพราะอำนาจให้เช่าเกิน 10 ปี ย่อมตกอยู่แก่โจทก์ผู้เป็นเจ้าของอาคาร เมื่อจำเลยไม่มีอำนาจให้เช่าเกิน 10ปี การเช่าเกิน 10 ปีย่อมไม่ตกมายังโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 569 เมื่อการเช่าไม่ตกมายังโจทก์. ผู้ร้องกับโจทก์ก็ไม่มีนิติสัมพันธ์ต่อกันไม่มีฐานะเป็นคู่สัญญาเช่าต่อกัน เมื่อไม่ใช่คู่สัญญา โจทก์ก็ไม่ใช่ผู้ให้เช่าผู้ร้องอยู่ในอาคารของโจทก์ในฐานละเมิด กรณีไม่อยู่ในข่ายความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าในภาวะคับขันฯ ผู้ร้องเข้าอยู่ในอาคารของโจทก์โดยอาศัยอำนาจของจำเลยจึงถือว่าเป็นบริวาร
(อันดับ 2 ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 21/2505)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 120/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าช่วงเกิน 10 ปีหลังสัญญาเช่าเดิมหมดอายุ ผู้เช่าไม่มีสิทธิผูกพันกับเจ้าของที่ดิน
1. ผู้ร้องทำสัญญาเช่าอาคารจากจำเลยผู้เป็นเจ้าของอาคาร คือ ไม่ได้เช่าต่อจากผู้ที่เช่าอาคารมาจากเจ้าของอาคาร ย่อมไม่เป็นการเช่าช่วง
2. ในกรณีที่จำเลยเช่าที่ดินของโจทก์ปลูกอาคารมีกำหนด 10 ปี ตกลงกันว่า เมื่อครบ 10 ปีแล้ว อาคารตกเป็นของโจทก์นั้น จำเลยมีอำนาจให้เช่าได้ในฐานะเป็นเจ้าของ แต่หามีอำนาจให้เช่าเกิน 10 ปีไม่ เพราะอำนาจให้เช่าเกิน 10 ปี ย่อมตกอยู่แก่โจทก์ผู้เป็นเจ้าของอาคาร เมื่อจำเลยไม่มีอำนาจให้เช่าเกิน 10 ปี การเช่าเกิน 10 ปี ย่อมไม่ตกมายังโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 569 เมื่อการเช่าไม่ตกมายังโจทก์ ผู้ร้องกับโจทก์ก็ไม่มีนิติสัมพันธ์ต่อกัน ไม่มีฐานะเป็นคู่สัญญาเช่าต่อกัน เมื่อไม่ใช่คู่สัญญา โจทก์ก็ไม่ใช่ผู้ให้เช่า ผู้ร้องอยู่ในอาคารของโจทก์ในฐานละเมิด กรณีไม่อยู่ในข่ายความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯ ผู้ร้องเข้าอยู่ในอาคารของโจทก์โดยอาศัยอำนาจของจำเลย จึงถือว่าเป็นบริวาร
อันดับ 2 ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 21/2505
2. ในกรณีที่จำเลยเช่าที่ดินของโจทก์ปลูกอาคารมีกำหนด 10 ปี ตกลงกันว่า เมื่อครบ 10 ปีแล้ว อาคารตกเป็นของโจทก์นั้น จำเลยมีอำนาจให้เช่าได้ในฐานะเป็นเจ้าของ แต่หามีอำนาจให้เช่าเกิน 10 ปีไม่ เพราะอำนาจให้เช่าเกิน 10 ปี ย่อมตกอยู่แก่โจทก์ผู้เป็นเจ้าของอาคาร เมื่อจำเลยไม่มีอำนาจให้เช่าเกิน 10 ปี การเช่าเกิน 10 ปี ย่อมไม่ตกมายังโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 569 เมื่อการเช่าไม่ตกมายังโจทก์ ผู้ร้องกับโจทก์ก็ไม่มีนิติสัมพันธ์ต่อกัน ไม่มีฐานะเป็นคู่สัญญาเช่าต่อกัน เมื่อไม่ใช่คู่สัญญา โจทก์ก็ไม่ใช่ผู้ให้เช่า ผู้ร้องอยู่ในอาคารของโจทก์ในฐานละเมิด กรณีไม่อยู่ในข่ายความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขันฯ ผู้ร้องเข้าอยู่ในอาคารของโจทก์โดยอาศัยอำนาจของจำเลย จึงถือว่าเป็นบริวาร
อันดับ 2 ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 21/2505
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1886/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์ข้อเท็จจริงในชั้นบังคับคดี กรณีมีประเด็นใหม่ที่ไม่เกี่ยวข้องกับคดีเดิม
แม้คดีเดิมจะต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงแล้วก็ดี หากกรณีพิพาทในชั้นบังคับคดีนั้นมีการตั้งประเด็นพิพาทโต้แย้งขึ้นมาใหม่ มิได้เกี่ยวกับประเด็นและคู่ความเดิม ทั้งตามรูปเรื่องไม่เป็นคดีที่ต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงแล้ว ก็ย่อมอุทธรณ์ข้อเท็จจริงได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 33/ 2505)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 33/ 2505)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 386/2504 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสมยอมเพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมายควบคุมค่าเช่า: สิทธิของผู้เช่าช่วง
เดิมที่ดินและตึกพิพาทเป็นของโจทก์ให้ผู้ร้องเช่าอยู่อาศัยอันได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่ามาก่อนแล้วต่อมาโจทก์โอนขายตึกให้จำเลยโดยไม่ขายที่ดินซึ่งมีเนื้อที่เพียงเท่าที่ตัวตึกตั้งอยู่ จำเลยรับซื้อตึกแล้วขอเช่าที่ดินเพียง 1 ปี พอซื้อแล้วจำเลยก็ผิดสัญญาไม่ชำระค่าเช่าที่ดินให้โจทก์เลย โจทก์จึงฟ้องและศาลพิพากษาให้ขับไล่จำเลย ดังนี้ จะเอาผลคำพิพากษานั้นมาบังคับขับไล่ผู้ร้องด้วยหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 284/2504 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับขับไล่ผู้เช่าช่วง: ไม่เป็นบริวารจำเลย แม้จำเลยถูกบังคับขับไล่ ผู้เช่าช่วงที่ได้รับความยินยอมจากผู้ให้เช่าเดิม จึงไม่ถูกบังคับขับไล่ตามไปด้วย
ผู้ร้องที่เช่าช่วงห้องพิพาทจากจำเลยโดยโจทก์ผู้ให้เช่าเดิมรู้เห็นยินยอม ไม่ใช่บริวารของจำเลย จะใช้คำพิพากษาที่บังคับขับไล่จำเลยมาบังคับขับไล่ผู้ร้องด้วยไม่ได้
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 37/2503
ในกรณีที่โจทก์ฎีกาขอให้บังคับบริวารของจำเลย 10 ราย เรียกค่าธรรมเนียมฎีกาของโจทก์เป็นเรื่องเดียว
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 30/2543
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 37/2503
ในกรณีที่โจทก์ฎีกาขอให้บังคับบริวารของจำเลย 10 ราย เรียกค่าธรรมเนียมฎีกาของโจทก์เป็นเรื่องเดียว
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 30/2543
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 216/2504 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานะผู้เช่าห้องแถวบนที่ดินเช่า: ไม่ใช่ผู้เช่าที่ดิน แต่เป็นบริวารผู้เช่า
จำเลยเช่าที่ดินของโจทก์ปลูกห้องแถวผู้เช่าห้องแถวจากจำเลยไม่ใช่ผู้เช่าช่วงที่ดินแต่เป็นบริวารของจำเลย
เหมือนฎีกาที่ 377/2500 และ 1000/2503
เหมือนฎีกาที่ 377/2500 และ 1000/2503
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1709/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าบ้าน: สิทธิของผู้เช่าและบริวารเมื่อผู้เช่าย้ายไปทำงานต่างจังหวัด การเช่ายังไม่ระงับโจทก์ไม่มีสิทธิขับไล่
ผู้เช่าเป็นตำรวจรถไฟ ได้เช่าห้องพิพาทเพื่ออยู่อาศัยในเขตเทศบาลเมืองนครศรีธรรมราช ต่อมาผู้เช่าถูกทางราชการสั่งย้ายให้มารับราชการจังหวัดพระนคร โดยไปพักอยู่ที่กองรักษาการณ์รถไฟ จำเลยเป็นภริยาผู้เช่า ไปเรียนวิชาการช่างที่จังหวัดพระนคร และไปอยู่หอพัก ทั้ง 2 คนไปแต่ตัวมิได้ขนสิ่งของเครื่องใช้สำหรับครอบครัว มิได้อพยพเอาบุตรและแม่ยายของผู้เช่าตามไปด้วย ที่อยู่ของผู้เช่าและจำเลยในจังหวัด พระนครยังมิได้เป็นหลักแหล่ง โดยเฉพาะที่จำเลยไปเรียนการช่างก็เป็นไปชั่วคราวแล้วจะกลับมาประกอบอาชีพทางจังหวัดนครศรีธรรมราช ก่อนฟ้องคดีนี้จำเลยก็ได้กลับมาอยู่ในห้องพิพาทแล้ว แม้พลตำรวจเกษมย้ายขาดจากตำรวจจังหวัดนครศรีธรรมราช ไปประจำกองตำรวจรถไฟ แต่ก็ไม่ปรากฏชัดว่า ต้องไปประจำที่ จังหวัดที่พระนครเป็นเด็ดขาดหรือจะต้องควบคุมขบวนรถไฟไป ๆ มา ๆ ทางไหนบ้าง ในสำมะโนครัวมีชื่อผู้เช่าจำเลยและบุตรอยู่ในห้องพิพาท ผู้เช่ายังคงใช้สิทธิเป็นผู้เช่า โดยให้จำเลยกับบุตรและแม่ยายอยู่ในฐานะบริวาร การเช่ายังไม่ระงับ โจทก์ยังไม่มีสิทธิฟ้องขับไล่จำเลยซึ่งเป็นบริวารของผู้เช่า (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 32/2503 และ ครั้งที่ 35/2503)