พบผลลัพธ์ทั้งหมด 504 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3353/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นค่าสินไหมทดแทน แต่เป็นเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากร
จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับโจทก์โดยยอมจ่ายเงินจำนวนหนึ่งแก่โจทก์ ก็เนื่องจากโจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากจำเลยว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์โดยไม่เป็นธรรมโดยอาศัยฐานะที่โจทก์เป็นลูกจ้างและจำเลยเป็นนายจ้าง เงินค่าเสียหายที่โจทก์ได้รับจากจำเลยจึงเป็นเงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงานตามที่บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร มาตรา 40(1) ซึ่งกำหนดให้เป็นเงินได้พึงประเมิน หาใช่เป็นค่าสินไหมทดแทนในมูลละเมิด ตามมาตรา42(13) ไม่ จำเลยซึ่งเป็นผู้จ่ายเงินจำนวนดังกล่าวจึงมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ไว้ ณ ที่จ่ายตามประมวลรัษฎากร มาตรา 50.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3348-3350/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างที่มีกำหนดเวลา แม้มีข้อตกลงให้เลิกจ้างก่อนกำหนด ก็ยังคงเป็นสัญญาจ้างที่มีกำหนดเวลา
สัญญาจ้างแรงงานระหว่างโจทก์กับจำเลยได้กำหนดวันที่เริ่มมีผลใช้บังคับและวันที่สิ้นสุดไว้แน่นอนแล้ว แม้จะกำหนดเงื่อนไขไว้ว่า หากโจทก์ผิดสัญญาไม่ว่าจะเป็นข้อหนึ่งข้อใดก็ดี โจทก์ยินยอมให้จำเลยเลิกจ้างหรือไล่ออกได้ทันทีก่อนที่จะครบกำหนดเลิกจ้างตามสัญญาและโจทก์ไม่ขอเรียกร้องสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทน หรือค่าเสียหายหรือค่าชดเชยจากจำเลยแต่อย่างใดทั้งสิ้นก็มีความหมายเพียงว่า ถ้าโจทก์ทำผิดสัญญาไม่ว่าข้อหนึ่งข้อใดโจทก์ยอมให้จำเลยเลิกจ้างหรือไล่โจทก์ออกจากงานได้ทันทีก่อนที่จะครบกำหนดเลิกจ้างตามสัญญาได้เท่านั้น มิใช่ข้อกำหนดหรือเงื่อนไขที่ทำให้ระยะเวลาที่กำหนดไว้ในสัญญาเปลี่ยนแปลงไปแต่อย่างใด สัญญาดังกล่าวจึงเป็นสัญญาจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอนตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 46 วรรคท้าย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3348-3350/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างที่มีกำหนดระยะเวลา และข้อตกลงการเลิกจ้างก่อนกำหนด ไม่กระทบความเป็นสัญญาจ้างที่มีกำหนดระยะเวลา
สัญญาจ้างแรงงานกำหนดวันที่เริ่มมีผลใช้บังคับและวันที่สิ้นสุดไว้แน่นอน แม้จะกำหนดเงื่อนไขไว้ว่า หากโจทก์ผิดสัญญาไม่ว่าจะเป็นข้อหนึ่งข้อใด โจทก์ยินยอมให้จำเลยเลิกจ้างหรือไล่ออกได้ทันทีก่อนที่จะครบกำหนดเลิกจ้างตามสัญญา และโจทก์ไม่ขอเรียกร้องสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทน หรือค่าเสียหายหรือค่าชดเชยจากจำเลยแต่อย่างใดทั้งสิ้น ดังนี้มีความหมายเพียงว่า ถ้าโจทก์ทำผิดสัญญาไม่ว่าข้อหนึ่งข้อใด โจทก์ยอมให้จำเลยเลิกจ้างหรือไล่โจทก์ออกจากงานได้ทันทีก่อนที่จะครบกำหนดเลิกจ้างตามสัญญาได้ จึงเป็นสัญญาจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอนตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 46 วรรคท้าย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3348-3350/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างที่มีกำหนดระยะเวลา ข้อตกลงการเลิกจ้างก่อนกำหนดไม่ทำให้สัญญากลายเป็นไม่มีกำหนด
สัญญาจ้างแรงงานระหว่างโจทก์กับจำเลยได้กำหนดวันที่เริ่มมีผลใช้บังคับและวันที่สิ้นสุดไว้แน่นอนแล้ว แม้จะกำหนดเงื่อนไขไว้ว่า หากโจทก์ผิดสัญญาไม่ว่าจะเป็นข้อหนึ่งข้อใดก็ดี โจทก์ยินยอมให้จำเลยเลิกจ้างหรือไล่ออกได้ทันทีก่อนที่จะครบกำหนดเลิกจ้างตามสัญญาและโจทก์ไม่ขอเรียกร้องสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทน หรือค่าเสียหายหรือค่าชดเชยจากจำเลยแต่อย่างใดทั้งสิ้นก็มีความหมายเพียงว่า ถ้าโจทก์ทำผิดสัญญาไม่ว่าข้อหนึ่งข้อใดโจทก์ยอมให้จำเลยเลิกจ้างหรือไล่โจทก์ออกจากงานได้ทันทีก่อนที่จะครบกำหนดเลิกจ้างตามสัญญาได้เท่านั้น มิใช่ข้อกำหนดหรือเงื่อนไขที่ทำให้ระยะเวลาที่กำหนดไว้ในสัญญาเปลี่ยนแปลงไปแต่อย่างใด สัญญาดังกล่าวจึงเป็นสัญญาจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอนตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 46 วรรคท้าย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3187/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิยึดหน่วงและการบังคับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินหลังผู้ขายเสียชีวิต แม้เกิน 1 ปี
โจทก์ทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินกับผู้ตายและได้ชำระเงินให้ผู้ตายครบถ้วนแล้วผู้ตายมอบโฉนดที่ดินพิพาททั้งหมดและหนังสือมอบอำนาจให้ดำเนินการโอนที่ดินทั้งหมดให้โจทก์ ทั้งมอบการครอบครองที่ดินพิพาทให้โจทก์แล้ว โจทก์จึงมีสิทธิยึดหน่วงในที่ดินพิพาทไว้จนกว่าจะโอนกรรมสิทธิ์ได้ แม้ผู้ตายจะตายเกิน 1 ปี เมื่อโจทก์ฟ้องคดี ก็ไม่ห้ามโจทก์ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงจะใช้สิทธิบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 189 และ 241 ให้จำเลยซึ่งเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายโอนที่ดินพิพาทให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3187/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิยึดหน่วงที่ดินหลังชำระค่าซื้อครบถ้วน ผู้ขายถึงแก่ความตาย ผู้ซื้อมีสิทธิฟ้องบังคับให้โอนกรรมสิทธิ์
โจทก์ทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินกับผู้ตายและได้ชำระเงินให้ผู้ตาย ให้โอนที่ดินทั้งหมดให้โจทก์ ทั้งมอบการครอบครองที่ดินพิพาทให้โจทก์แล้ว โจทก์จึงมีสิทธิยึดหน่วงในที่ดินพิพาทไว้จนกว่าจะโอนกรรมสิทธิ์ได้ แม้ผู้ตายจะตายเกิน 1 ปี เมื่อโจทก์ฟ้องคดีก็ไม่ห้ามโจทก์ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงจะใช้สิทธิบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 189 และ 241
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3187/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิยึดหน่วงและการบังคับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินหลังผู้ขายเสียชีวิต แม้ฟ้องเกิน 1 ปี
โจทก์ทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินกับผู้ตายและได้ชำระเงินให้ผู้ตายครบถ้วนแล้วผู้ตายมอบโฉนดที่ดินพิพาททั้งหมดและหนังสือมอบอำนาจให้ดำเนินการโอนที่ดินทั้งหมดให้โจทก์ ทั้งมอบการครอบครองที่ดินพิพาทให้โจทก์แล้ว โจทก์จึงมีสิทธิยึดหน่วงในที่ดินพิพาทไว้จนกว่าจะโอนกรรมสิทธิ์ได้ แม้ผู้ตายจะตายเกิน 1 ปีเมื่อโจทก์ฟ้องคดี ก็ไม่ห้ามโจทก์ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงจะใช้สิทธิบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 189 และ 241 ให้จำเลยซึ่งเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายโอนที่ดินพิพาทให้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3154/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจผู้แทนสหภาพแรงงาน: คณะกรรมการต้องร่วมกันมอบหมายอำนาจให้กรรมการคนหนึ่งทำหน้าที่แทน
คณะกรรมการของสหภาพแรงงานเป็นผู้แทนที่มีอำนาจดำเนินกิจการของสหภาพแรงงาน หากคณะกรรมการของสหภาพแรงงานไม่ประสงค์จะดำเนินกิจการในฐานะเป็นผู้แทนทั้งหมด ก็มีสิทธิที่จะตกลงมอบหมายให้กรรมการของสหภาพแรงงานคนหนึ่งคนใดหรือหลายคนรวมกันทำกิจการแทนคณะกรรมการของสหภาพแรงงานได้
การดำเนินคดีของสหภาพแรงงานจำเลยที่ ๑ ต้องกระทำร่วมกันโดยจำเลยที่ ๒-๑๔ ซึ่งเป็นคณะกรรมการ เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ ๓ผู้เดียวลงชื่อแต่งตั้ง ส. เป็นทนายความให้มีสิทธิอุทธรณ์ในนามจำเลยที่ ๑ โดยจำเลยที่ ๒-๑๔ ซึ่งเป็นคณะกรรมการของจำเลยที่ ๑มิได้มอบหมายให้จำเลยที่ ๓ ดำเนินคดีแทนคณะกรรมการแต่อย่างใดจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ ๓ เป็นผู้แทนของจำเลยที่ ๑ อุทธรณ์ของจำเลยที่ ๑ ที่ ส. ทนายความลงชื่อเป็นผู้อุทธรณ์ จึงเป็นอุทธรณ์ที่ยื่นโดยบุคคลที่ไม่มีอำนาจโดยชอบ.
การดำเนินคดีของสหภาพแรงงานจำเลยที่ ๑ ต้องกระทำร่วมกันโดยจำเลยที่ ๒-๑๔ ซึ่งเป็นคณะกรรมการ เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ ๓ผู้เดียวลงชื่อแต่งตั้ง ส. เป็นทนายความให้มีสิทธิอุทธรณ์ในนามจำเลยที่ ๑ โดยจำเลยที่ ๒-๑๔ ซึ่งเป็นคณะกรรมการของจำเลยที่ ๑มิได้มอบหมายให้จำเลยที่ ๓ ดำเนินคดีแทนคณะกรรมการแต่อย่างใดจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ ๓ เป็นผู้แทนของจำเลยที่ ๑ อุทธรณ์ของจำเลยที่ ๑ ที่ ส. ทนายความลงชื่อเป็นผู้อุทธรณ์ จึงเป็นอุทธรณ์ที่ยื่นโดยบุคคลที่ไม่มีอำนาจโดยชอบ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3154/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจผู้แทนสหภาพแรงงาน: การแต่งตั้งทนายความต้องเป็นไปตามมติคณะกรรมการ
คณะกรรมการของสหภาพแรงงานเป็นผู้แทนที่มีอำนาจดำเนินกิจการของสหภาพแรงงาน หากคณะกรรมการของสหภาพแรงงานไม่ประสงค์จะดำเนินกิจการในฐานะเป็นผู้แทนทั้งหมด ก็มีสิทธิที่จะตกลงมอบหมายให้กรรมการของสหภาพแรงงานคนหนึ่งคนใดหรือหลายคนรวมกันทำกิจการแทนคณะกรรมการของสหภาพแรงงานได้
การดำเนินคดีของสหภาพแรงงานจำเลยที่ 1 ต้องกระทำร่วมกันโดยจำเลยที่ 2 - 14 ซึ่งเป็นคณะกรรมการ เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 3 ผู้เดียวลงชื่อแต่งตั้ง ส. เป็นทนายความให้มีสิทธิอุทธรณ์ในนามจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 2 - 14 ซึ่งเป็นคณะกรรมการของจำเลยที่ 1 มิได้มอบหมายให้จำเลยที่ 3 ดำเนินคดีแทนคณะกรรมการแต่อย่างใดจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 3 เป็นผู้แทนของจำเลยที่ 1 อุทธรณ์ของจำเลยที่ 1 ที่ ส. ทนายความลงชื่อเป็นผู้อุทธรณ์ จึงเป็นอุทธรณ์ที่ยื่นโดยบุคคลที่ไม่มีอำนาจโดยชอบ
การดำเนินคดีของสหภาพแรงงานจำเลยที่ 1 ต้องกระทำร่วมกันโดยจำเลยที่ 2 - 14 ซึ่งเป็นคณะกรรมการ เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 3 ผู้เดียวลงชื่อแต่งตั้ง ส. เป็นทนายความให้มีสิทธิอุทธรณ์ในนามจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 2 - 14 ซึ่งเป็นคณะกรรมการของจำเลยที่ 1 มิได้มอบหมายให้จำเลยที่ 3 ดำเนินคดีแทนคณะกรรมการแต่อย่างใดจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 3 เป็นผู้แทนของจำเลยที่ 1 อุทธรณ์ของจำเลยที่ 1 ที่ ส. ทนายความลงชื่อเป็นผู้อุทธรณ์ จึงเป็นอุทธรณ์ที่ยื่นโดยบุคคลที่ไม่มีอำนาจโดยชอบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3154/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจผู้แทนสหภาพแรงงาน: การแต่งตั้งทนายความต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการทั้งหมด
คณะกรรมการของสหภาพแรงงานเป็นผู้แทนที่มีอำนาจดำเนินกิจการของสหภาพแรงงาน หากคณะกรรมการของสหภาพแรงงานไม่ประสงค์จะดำเนินกิจการในฐานะเป็นผู้แทนทั้งหมด ก็มีสิทธิที่จะตกลงมอบหมายให้กรรมการของสหภาพแรงงานคนหนึ่งคนใดหรือหลายคนร่วมกันทำกิจการแทนคณะกรรมการสหภาพแรงงานได้ ในการดำเนินคดีของสหภาพแรงงานจำเลยที่ 1 จึงต้องกระทำร่วมกันโดยจำเลยที่ 2 ถึงที่ 14 ซึ่งเป็นคณะกรรมการ เมื่อไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 2 ถึงที่ 14 ได้ตกลงมอบหมายให้จำเลยที่ 3 แต่ผู้เดียวเป็นผู้ดำเนินคดีแทนคณะกรรมการ การที่จำเลยที่ 3 แต่เพียงผู้เดียวได้ลงลายมือชื่อแต่งตั้งทนายความให้มีสิทธิอุทธรณ์ในนามของจำเลยที่ 1 จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 3 มีอำนาจเป็นผู้แทนของจำเลยที่ 1 ที่จะปฏิบัติเช่นนั้นได้ อุทธรณ์ของจำเลยที่ 1 ที่ทนายความดังกล่าวลงลายมือชื่อเป็นผู้อุทธรณ์ จึงเป็นอุทธรณ์ที่ยื่นโดยบุคคลที่ไม่มีอำนาจโดยชอบ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย