คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ศักดา โมกขมรรคกุล

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 504 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2690/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การถอนฟ้องคดีแรงงานด้วยวาจาหลังยื่นคำให้การ อนุญาตได้หากจำเลยทราบและคัดค้าน
คดีแรงงานมีลักษณะพิเศษแตกต่างกับคดีแพ่งธรรมดาการดำเนินคดีจะต้องเป็นไปโดยสะดวก ประหยัด และรวดเร็วฉะนั้นการที่โจทก์ขอถอนฟ้องโดยแถลงขอถอนฟ้องด้วยวาจาต่อศาล แม้จะเป็นเวลาภายหลังที่จำเลยยื่น คำให้การแล้วก็ตาม แต่จำเลยก็ได้ทราบและได้แถลงคัดค้านต่อศาลแล้ว ซึ่งตรงตามความมุ่งหมายของ ป.วิ.พ. มาตรา 175 วรรคสอง(1) ประกอบด้วย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานมาตรา 31 ศาลแรงงานย่อมมีอำนาจอนุญาตให้โจทก์ถอนฟ้องได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2690/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจศาลแรงงานอนุญาตให้ถอนฟ้องคดีแรงงานได้ แม้โจทก์แถลงด้วยวาจา หากจำเลยคัดค้าน
คดีแรงงานมีลักษณะพิเศษแตกต่างจากคดีแพ่งธรรมดา การดำเนินคดีจะต้องเป็นไปโดยสะดวก ประหยัดและรวดเร็ว ฉะนั้นการที่โจทก์ขอถอนฟ้องโดยแถลงขอถอนฟ้องด้วยวาจาต่อศาล แม้จะเป็นเวลาภายหลังที่จำเลยยื่นคำให้การแล้วก็ตาม แต่จำเลยก็ได้ทราบและได้แถลงคัดค้านต่อศาลแล้ว ซึ่งตรงตามความมุ่งหมายของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 175 วรรคสอง(1) ประกอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานมาตรา 31 ศาลแรงงานย่อมมีอำนาจอนุญาตให้โจทก์ถอนฟ้องได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2687-2688/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องเรียกค่าบำเหน็จถือเป็นการทวงถามเตือนแล้ว จำเลยตกเป็นผู้ผิดนัดต้องเสียดอกเบี้ย
การฟ้องศาลให้จำเลยชำระเงินบำเหน็จแก่โจทก์ถือได้ว่าเป็นการทวงถามเตือนให้จำเลยชำระเงินดังกล่าวอยู่ในตัว จำเลยจึงตกเป็นผู้ผิดนัดแล้ว และจะต้องรับผิดชำระดอกเบี้ยให้แก่โจทก์นับแต่วันผิดนัดเป็นต้นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224วรรคแรก.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2583/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ข้อจำกัดในการฎีกาเรื่องใหม่ที่มิได้ยกขึ้นในศาลชั้นต้น โดยเฉพาะประเด็นค่าเสียหายที่จ่ายไปแล้ว
โจทก์เช่าซื้อรถยนต์คันที่ถูกรถยนต์ของจำเลยที่ 1 ชนเสียหายและเป็นผู้ครอบครองรถยนต์คันดังกล่าวในขณะที่ถูกชน โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องเรียกค่าเสียหายจากผู้ทำละเมิดได้
จำเลยที่ 2 ผู้รับประกันภัยค้ำจุนรถยนต์ของจำเลยที่ 1 ให้การว่า หากจำเลยที่ 2 จะต้องรับผิดต่อโจทก์แล้ว จำเลยที่ 2 ก็รับผิดชอบไม่เกินจำนวน 100,000 บาท ของความเสียหายบุคคลภายนอกทั้งหมดที่เกิดอุบัติเหตุครั้งนี้ มิได้ให้การถึงว่าจำเลยที่ 2 ได้จ่ายค่าทำรั้วที่เสียหายไปแล้ว 15,000 บาท จึงเป็นเรื่องที่จำเลยที่ 2มิได้ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ไว้ในคำให้การ แม้โจทก์และจำเลยที่ 2 จะแถลงรับข้อเท็จจริงต่อศาลว่า จำเลยที่ 2 ได้จ่ายค่ารั้วไปแล้ว ก็เป็นเรื่องนอกประเด็น จำเลยที่ 2 จะฎีกาว่าความรับผิดของจำเลยที่ 2ต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอกยังคงเหลือเป็นจำนวนเงินไม่เกิน 85,000 บาทไม่ได้ เป็นเรื่องที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น ต้องห้ามมิให้ฎีกาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 249.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2583/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ข้อจำกัดการฎีกาประเด็นใหม่ที่มิได้ยกขึ้นต่อสู้ในศาลชั้นต้น แม้มีการแถลงรับข้อเท็จจริงเพิ่มเติม
โจทก์เช่าซื้อรถยนต์คันที่ถูกรถยนต์ของจำเลยที่ 1 ชนเสียหายและเป็นผู้ครอบครองรถยนต์คันดังกล่าวในขณะที่ถูกชน โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องเรียกค่าเสียหายจากผู้ทำละเมิดได้ จำเลยที่ 2 ผู้รับประกันภัยค้ำจุนรถยนต์ของจำเลยที่ 1 ให้การว่า หากจำเลยที่ 2 จะต้องรับผิดต่อโจทก์แล้ว จำเลยที่ 2 ก็รับผิดชอบไม่เกินจำนวน 100,000 บาท ของความเสียหายบุคคลภายนอกทั้งหมดที่เกิดอุบัติเหตุครั้งนี้ มิได้ให้การถึงว่าจำเลยที่ 2 ได้จ่ายค่าทำรั้วที่เสียหายไปแล้ว 15,000 บาท จึงเป็นเรื่องที่จำเลยที่ 2มิได้ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ไว้ในคำให้การ แม้โจทก์และจำเลยที่ 2 จะแถลงรับข้อเท็จจริงต่อศาลว่า จำเลยที่ 2 ได้จ่ายค่ารั้วไปแล้ว ก็เป็นเรื่องนอกประเด็น จำเลยที่ 2 จะฎีกาว่าความรับผิดของจำเลยที่ 2ต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอกยังคงเหลือเป็นจำนวนเงินไม่เกิน 85,000 บาทไม่ได้ เป็นเรื่องที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น ต้องห้ามมิให้ฎีกาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 249.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2583/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจฟ้องเรียกค่าเสียหายจากผู้ทำละเมิด และข้อจำกัดความรับผิดของบริษัทประกันภัย การยกข้อต่อสู้ใหม่ในชั้นฎีกา
โจทก์เช่าซื้อรถยนต์คันที่ถูกรถยนต์ของจำเลยที่ 1 ชนเสียหายและเป็นผู้ครอบครองรถยนต์คันดังกล่าวในขณะที่ถูกชน โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องเรียกค่าเสียหายจากผู้ทำละเมิดได้ จำเลยที่ 2 ผู้รับประกันภัยค้ำจุนรถยนต์ของจำเลยที่ 1 ให้การว่าหากจำเลยที่ 2 จะต้องรับผิดต่อโจทก์แล้ว จำเลยที่ 2 ก็รับผิดชอบไม่เกินจำนวน 100,000 บาท ของความเสียหายบุคคลภายนอกทั้งหมดที่เกิดอุบัติเหตุครั้งนี้ มิได้ให้การถึงว่าจำเลยที่ 2ได้จ่ายค่าทำรั้วที่เสียหายไปแล้ว 15,000 บาท จึงเป็นเรื่องที่จำเลยที่ 2 มิได้ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ไว้ในคำให้การ แม้โจทก์และจำเลยที่ 2จะแถลงรับข้อเท็จจริงต่อศาลว่า จำเลยที่ 2 ได้จ่ายค่ารั้วไปแล้วก็เป็นเรื่องนอกประเด็น จำเลยที่ 2 จะฎีกาว่าความรับผิดของจำเลยที่ 2 ต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอกยังคงเหลือเป็นจำนวนเงินไม่เกิน 85,000 บาท ไม่ได้ เป็นเรื่องที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น ต้องห้ามมิให้ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2583/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจฟ้องผู้เช่าซื้อ, ข้อต่อสู้ที่มิได้ยกขึ้นในชั้นต้น, การห้ามฎีกาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 249
โจทก์เป็นผู้เช่าซื้อรถยนต์คันที่ถูกรถยนต์ของจำเลยที่ 1 ชนเสียหายและเป็นผู้ครอบครองรถยนต์คันดังกล่าวในขณะที่ถูกชน โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องเรียกค่าเสียหายจากผู้ทำละเมิดได้.
จำเลยที่ 2 ผู้รับประกันภัยค้ำจุน ให้การว่า หากจะต้องรับผิดต่อโจทก์แล้วก็รับผิดชอบไม่เกินจำนวน 100,000 บาทของความเสียหายบุคคลภายนอกทั้งหมด มิได้ให้การถึงว่าได้จ่ายค่าทำรั้วที่เสียหายไปแล้ว 15,000 บาท จึงเป็นเรื่องที่มิได้ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ไว้ในคำให้การ แม้โจทก์และจำเลยที่ 2 จะแถลงรับข้อเท็จจริงต่อศาลว่าจำเลยที่ 2 ได้จ่ายค่ารั้วไปแล้ว ก็เป็นเรื่องนอกประเด็น จำเลยที่ 2 จะฎีกาว่าความรับผิดของตนต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอกยังคงเหลือเป็นจำนวนเงินไม่เกิน 85,000 บาท ไม่ได้ เป็นเรื่องที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น ต้องห้ามมิให้ฎีกาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 249.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2521-2522/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ข้อบังคับบริษัทจ่ายเงินบำเหน็จหรือค่าชดเชย: ศาลยืนตามเดิม หากเงินบำเหน็จน้อยกว่าค่าชดเชย ลูกจ้างได้ค่าชดเชยเท่านั้น
ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยที่ 1 กำหนดว่า ถ้าบริษัทเลิกจ้างโดยพนักงานไม่มีความผิด จะจ่ายเงินบำเหน็จหรือเงินค่าชดเชยตามข้อบังคับฯ ข้อ 9.9 ทั้งหมดแทนเงินค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 46 เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และหากเงินบำเหน็จหรือเงินค่าชดเชยที่คำนวณไว้ตามข้อ 9.9 มีจำนวนน้อยกว่าเงินค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 46บริษัทก็จะจ่ายเพิ่มให้เท่ากับเงินค่าชดเชยตามประกาศหรือกฎเกณฑ์ของทางราชการเพียงอย่างเดียวเช่นกัน มีความหมายว่า หากลูกจ้างมีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จมีจำนวนน้อยกว่าค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน แล้ว ลูกจ้างก็คงมีสิทธิได้รับค่าชดเชยแต่เพียงอย่างเดียวโดยไม่มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จด้วย ดังนั้นเมื่อโจทก์มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จน้อยกว่าค่าชดเชยที่โจทก์มีสิทธิได้รับตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน และโจทก์ได้รับค่าชดเชยไปถูกต้องแล้วโจทก์จึงไม่มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จจากจำเลยที่ 1 ตามข้อบังคับดังกล่าวอีก

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2521-2522/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ข้อบังคับบริษัทจ่ายเงินบำเหน็จหรือค่าชดเชย: ศาลยืนตามศาลแรงงานกลาง ไม่ต้องจ่ายเงินบำเหน็จซ้ำซ้อนหากค่าชดเชยสูงกว่า
ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยที่ 1 กำหนดว่า ถ้าบริษัทเลิกจ้างโดยพนักงานไม่มีความผิด จะจ่ายเงินบำเหน็จหรือเงินค่าชดเชยตามข้อบังคับฯ ข้อ 9.9 ทั้งหมดแทนเงินค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 46เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และหากเงินบำเหน็จหรือเงินค่าชดเชยที่คำนวณไว้ตามข้อ 9.9 มีจำนวนน้อยกว่าเงินค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 46บริษัทก็จะจ่ายเพิ่มให้เท่ากับเงินค่าชดเชยตามประกาศหรือกฎเกณฑ์ของทางราชการเพียงอย่างเดียวเช่นกัน มีความหมายว่า หากลูกจ้างมีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จมีจำนวนน้อยกว่าค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน แล้ว ลูกจ้างก็คงมีสิทธิได้รับค่าชดเชยแต่เพียงอย่างเดียวโดยไม่มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จด้วย ดังนั้นเมื่อโจทก์มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จน้อยกว่าค่าชดเชยที่โจทก์มีสิทธิได้รับตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน และโจทก์ได้รับค่าชดเชยไปถูกต้องแล้วโจทก์จึงไม่มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จจากจำเลยที่ 1 ตามข้อบังคับดังกล่าวอีก.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2484/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ดุลพินิจศาลแรงงานในการไม่อนุญาตเลื่อนคดี: อุทธรณ์ข้อเท็จจริงต้องห้ามตามกฎหมาย
คำสั่งศาลแรงงานกลางที่ไม่อนุญาตให้จำเลยเลื่อนคดี เป็นการใช้ดุลพินิจของศาลแรงงานกลางอันเป็นข้อเท็จจริง ต้องห้ามอุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ. 2522 มาตรา 54.
of 51