พบผลลัพธ์ทั้งหมด 504 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1663/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ-คุณสมบัติสัญชาติ-การคำนวณอายุงานและสิทธิประโยชน์
การโอนโจทก์ซึ่งเป็นลูกจ้างกระทรวงกลาโหมสังกัดกรมการพลังงานทหาร ไปเป็นพนักงานของจำเลยตามพระราชบัญญัติการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2521 มาตรา 60 ถือเป็นการให้ออกจากงานเดิมเพราะเหตุยุบตำแหน่งหรือเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด และไม่นับอายุการทำงานติดต่อกัน จำเลยเป็นรัฐวิสาหกิจ การบรรจุหรือแต่งตั้งบุคคลใดเป็นพนักงานของจำเลย ต้องอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518มาตรา 9(1) ที่กำหนดว่าพนักงานรัฐวิสาหกิจต้องมีคุณสมบัติเป็นผู้มีสัญชาติไทย โจทก์ไม่มีสัญชาติไทยจึงขาดคุณสมบัติที่จะเป็นพนักงานของจำเลย และกรณีไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 9 วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว ที่จำเลยจะต้องจ้างโจทก์เพราะความจำเป็นตามลักษณะงานของจำเลย โจทก์จึงต้องพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา11(3) แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว ที่จำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุขาดคุณสมบัติดังกล่าวจึงไม่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม ทั้งไม่ใช่กรณีเลิกจ้างที่จะต้องบอกกล่าวล่วงหน้า และจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าให้แก่โจทก์ โจทก์คงมีสิทธิได้รับค่าชดเชยและเงินบำเหน็จจากจำเลยโดยคำนวณจากอายุการทำงานในช่วงที่เป็นพนักงานของจำเลยเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1663/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คุณสมบัติสัญชาติไทยของพนักงานรัฐวิสาหกิจและการเลิกจ้าง
การโอนโจทก์ซึ่ง เป็นลูกจ้างกระทรวงกลาโหมสังกัดกรมการพลังงานทหาร ไปเป็นพนักงานของจำเลยตามพระราชบัญญัติการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2521 มาตรา 60ถือเป็นการให้ออกจากงานเดิม เพราะเหตุยุบตำแหน่ง หรือเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด และไม่นับอายุการทำงานติดต่อ กัน จำเลยเป็นรัฐวิสาหกิจ การบรรจุหรือแต่งตั้ง บุคคลใด เป็นพนักงานของจำเลย ต้อง อยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจพ.ศ. 2518 มาตรา 9(1) ที่กำหนดว่าพนักงานรัฐวิสาหกิจต้อง มีคุณสมบัติเป็นผู้มีสัญชาติไทย โจทก์ไม่มีสัญชาติไทยจึงขาดคุณสมบัติที่จะเป็นพนักงานของจำเลย และกรณีไม่เข้าข้อยกเว้นตาม มาตรา 9วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าวที่จำเลยจะต้อง จ้าง โจทก์เพราะความจำเป็นตาม ลักษณะงานของจำเลย โจทก์จึงต้อง พ้นจากตำแหน่ง ตาม มาตรา 11(3) แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว ที่จำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุขาดคุณสมบัติดังกล่าวจึงไม่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม ทั้งไม่ใช่กรณีเลิกจ้างที่จะต้อง บอกกล่าวล่วงหน้า และจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าให้แก่โจทก์ โจทก์คงมีสิทธิได้รับค่าชดเชยและเงินบำเหน็จจากจำเลยโดย คำนวณจากอายุการทำงานในช่วงที่เป็นพนักงานของจำเลยเท่านั้น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1663/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนพนักงานรัฐวิสาหกิจ, คุณสมบัติสัญชาติ, การเลิกจ้าง, ค่าชดเชย, บำเหน็จ
การโอนโจทก์ซึ่งเป็นลูกจ้างกระทรวงกลาโหมสังกัดกรมการพลังงานทหารไปเป็นพนักงานของจำเลยตามพระราชบัญญัติการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยพ.ศ.2521มาตรา60ถือเป็นการให้ออกจากงานเดิมเพราะเหตุยุบตำแหน่งหรือเลิกจ้างโดยไม่มีความผิดและไม่นับอายุการทำงานติดต่อกัน จำเลยเป็นรัฐวิสาหกิจการบรรจุหรือแต่งตั้งบุคคลใดเป็นพนักงานของจำเลยต้องอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจพ.ศ.2518มาตรา9(1)ที่กำหนดว่าพนักงานรัฐวิสาหกิจต้องมีคุณสมบัติเป็นผู้มีสัญชาติไทยโจทก์ไม่มีสัญชาติไทยจึงขาดคุณสมบัติที่จะเป็นพนักงานของจำเลยและกรณีไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา9วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติดังกล่าวที่จำเลยจะต้องจ้างโจทก์เพราะความจำเป็นตามลักษณะงานของจำเลยโจทก์จึงต้องพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา11(3)แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าวที่จำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุขาดคุณสมบัติดังกล่าวจึงไม่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรมทั้งไม่ใช่กรณีเลิกจ้างที่จะต้องบอกกล่าวล่วงหน้าและจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าให้แก่โจทก์โจทก์คงมีสิทธิได้รับค่าชดเชยและเงินบำเหน็จจากจำเลยโดยคำนวณจากอายุการทำงานในช่วงที่เป็นพนักงานของจำเลยเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1626/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกเคหสถานด้วยอาวุธและการข่มขู่ แม้เจ้าของบ้านไม่ได้ห้ามปราม ก็ถือไม่ได้ว่ายินยอม
จำเลยถือมีดโต้เข้าไปในบ้านผู้เสียหาย แล้วเงื้อมีดโต้ขู่เข็ญจะทำร้ายผู้เสียหายกับพวกซึ่งอยู่ในบ้านผู้เสียหายในขณะนั้น แม้ผู้เสียหายจะอนุญาตให้ชาวบ้านเข้าไปดูโทรทัศน์ในบ้านตนได้ ก็ไม่อาจถือได้ว่าจำเลยเข้าไปโดยมีเหตุอันสมควรหรือได้รับอนุญาตจากผู้เสียหายให้เข้าไปได้ เพราะจำเลยมิได้เข้าไปดูโทรทัศน์ ที่ผู้เสียหายมิได้กล่าวห้ามปรามหรือกล่าวคำขับไล่จำเลยก็หาได้แสดงว่า ผู้เสียหายยินยอมให้จำเลยเข้าไปในบ้านผู้เสียหายไม่ การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานบุกรุกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365 ทุกอนุมาตราประกอบด้วยมาตรา 364
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1626/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกโดยมีอาวุธและข่มขู่ แม้เจ้าของบ้านไม่ได้ห้าม ถือไม่เป็นการยินยอม
จำเลยถือมีดโต้เข้าไปในบ้านผู้เสียหาย แล้วเงื้อมีดโต้ขู่เข็ญจะทำร้าย ผู้เสียหายกับพวกซึ่งอยู่ในบ้านผู้เสียหายในขณะนั้น แม้ผู้เสียหายจะอนุญาตให้ชาวบ้านเข้าไปดูโทรทัศน์ในบ้านตนได้ ก็ไม่อาจถือได้ว่าจำเลยเข้าไปโดยมีเหตุอันสมควรหรือได้รับอนุญาตจากผู้เสียหายให้เข้าไปได้ เพราะจำเลยมิได้เข้าไปดูโทรทัศน์ ที่ผู้เสียหายมิได้กล่าวห้ามปรามหรือกล่าวคำขับไล่จำเลยก็หาได้แสดงว่าผู้เสียหายยินยอมให้จำเลยเข้าไปในบ้านผู้เสียหายไม่ การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานบุกรุกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365 ทุกอนุมาตรา ประกอบด้วยมาตรา 364
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1626/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุก: การเข้าไปในบ้านผู้อื่นโดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือการยินยอม
จำเลยถือ มีดโต้เข้าไปในบ้านผู้เสียหาย แล้วเงื้อมีดโต้ขู่เข็ญจะทำร้ายผู้เสียหายกับพวกซึ่ง อยู่ในบ้านผู้เสียหายในขณะนั้นแม้ผู้เสียหายจะอนุญาตให้ชาวบ้านเข้าไปดู โทรทัศน์ในบ้านตน ได้ก็ไม่อาจถือได้ว่าจำเลยเข้าไปโดย มีเหตุอันสมควรหรือได้รับอนุญาตจากผู้เสียหายให้เข้าไปได้ เพราะจำเลยมิได้เข้าไปดู โทรทัศน์ที่ผู้เสียหายมิได้กล่าวห้ามปรามหรือกล่าวคำขับไล่จำเลยก็หาได้แสดงว่าผู้เสียหายยินยอมให้จำเลยเข้าไปในบ้านผู้เสียหายไม่การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐาน บุกรุกตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 365 ทุกอนุมาตราประกอบด้วย มาตรา 364.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1625/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตั้งผู้แทนเฉพาะคดีของผู้ตาย: ศาลไม่อาจตั้งผู้แทนให้ผู้ถึงแก่กรรม แม้จะอ้างว่าเป็นผู้วิกลจริต
โจทก์ยื่นคำร้องขอให้ตั้งโจทก์เป็นผู้แทนเฉพาะคดีของ ต. และมีอำนาจฟ้องคดีแทน ต. เมื่อปรากฏว่า ต. ซึ่งโจทก์อ้างว่าเป็นผู้วิกลจริตถึงแก่กรรมไปก่อนวันนัดไต่สวนคำร้องดังกล่าวแล้ว ศาลก็ไม่อาจตั้งโจทก์เป็นผู้แทนเฉพาะคดีของ ต. ได้ เพราะ ต. ไม่ใช่ผู้วิกลจริตดังที่โจทก์กล่าวอ้างต่อไป
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 29 วรรคสอง ที่บัญญัติว่า ถ้าผู้เสียหายที่ตายนั้นเป็นผู้วิกลจริตซึ่งผู้แทนเฉพาะคดีได้ยื่นฟ้องแทนไว้แล้ว ผู้ฟ้องแทนนั้นจะว่าคดีต่อไปก็ได้นั้น หมายถึงกรณีที่ศาลได้ตั้งผู้แทนเฉพาะคดีของผู้เสียหายไว้แล้วก่อนที่ผู้เสียหายตาย หาได้หมายความรวมถึงกรณีนี้ซึ่งผู้เสียหายได้ตายไปเสียก่อนที่ศาลจะตั้งผู้แทนเฉพาะคดีด้วยไม่
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 29 วรรคสอง ที่บัญญัติว่า ถ้าผู้เสียหายที่ตายนั้นเป็นผู้วิกลจริตซึ่งผู้แทนเฉพาะคดีได้ยื่นฟ้องแทนไว้แล้ว ผู้ฟ้องแทนนั้นจะว่าคดีต่อไปก็ได้นั้น หมายถึงกรณีที่ศาลได้ตั้งผู้แทนเฉพาะคดีของผู้เสียหายไว้แล้วก่อนที่ผู้เสียหายตาย หาได้หมายความรวมถึงกรณีนี้ซึ่งผู้เสียหายได้ตายไปเสียก่อนที่ศาลจะตั้งผู้แทนเฉพาะคดีด้วยไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1625/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตั้งผู้แทนเฉพาะคดีสำหรับผู้วิกลจริตต้องกระทำก่อนการเสียชีวิตของผู้เสียหาย
การร้องขอตั้งผู้แทนเฉพาะคดีของผู้วิกลจริตตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 6 นั้น ต้องเป็นกรณีผู้วิกลจริตยังมีชีวิตอยู่ ฉะนั้นการที่ ต. ผู้วิกลจริตถึงแก่กรรมไปก่อนวันนัดไต่สวนคำร้องของตั้งผู้แทนเฉพาะคดีของโจทก์แล้ว ดังนี้ ไม่อาจตั้งโจทก์เป็นผู้แทนเฉพาะคดีของSต. ได้
ผู้แทนเฉพาะคดีที่ฟ้องแทนผู้เสียหายจะมีอำนาจว่าคดีแทนผู้เสียหายที่ตายลงต่อไปได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 29 นั่น หมายถึงกรณีที่ศาลได้ตั้งผู้แทนเฉพาะคดีของผู้เสียหายไว้ก่อนแล้วที่ผู้เสียหายตาย หาได้หมายรวมถึงกรณีผู้เสียหายได้ตายไปก่อนที่ศาลจะตั้งผู้แทนเฉพาะคดีด้วยไม่.(ที่มา-ส่งเสริม)
ผู้แทนเฉพาะคดีที่ฟ้องแทนผู้เสียหายจะมีอำนาจว่าคดีแทนผู้เสียหายที่ตายลงต่อไปได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 29 นั่น หมายถึงกรณีที่ศาลได้ตั้งผู้แทนเฉพาะคดีของผู้เสียหายไว้ก่อนแล้วที่ผู้เสียหายตาย หาได้หมายรวมถึงกรณีผู้เสียหายได้ตายไปก่อนที่ศาลจะตั้งผู้แทนเฉพาะคดีด้วยไม่.(ที่มา-ส่งเสริม)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1625/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตั้งผู้แทนเฉพาะคดีของผู้เสียหายที่ถึงแก่ความตายก่อนศาลมีคำสั่ง ศาลไม่อาจตั้งได้
โจทก์ยื่นคำร้องขอให้ตั้งโจทก์เป็นผู้แทนเฉพาะคดีของ ต.และมีอำนาจฟ้องคดีแทน ต.เมื่อปรากฏว่าต. ซึ่งโจทก์อ้างว่าเป็นผู้วิกลจริตถึงแก่กรรมไปก่อนวันนัดไต่สวนคำร้องดังกล่าวแล้วศาลก็ไม่อาจตั้งโจทก์เป็นผู้แทนเฉพาะคดีของ ต.ได้เพราะต.ไม่ใช่ผู้วิกลจริตดังที่โจทก์กล่าวอ้างต่อไป ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 29 วรรคสอง ที่บัญญัติว่า ถ้าผู้เสียหายที่ตายนั้นเป็นผู้วิกลจริตซึ่งผู้แทนเฉพาะคดีได้ยื่นฟ้องแทนไว้แล้ว ผู้ฟ้องแทนนั้นจะว่าคดีต่อไปก็ได้นั้น หมายถึงกรณีที่ศาลได้ตั้งผู้แทนเฉพาะคดีของผู้เสียหายไว้แล้วก่อนที่ผู้เสียหายตาย หาได้หมายความรวมถึงกรณีนี้ซึ่งผู้เสียหายได้ตายไปเสียก่อนที่ศาลจะตั้งผู้แทนเฉพาะคดีด้วยไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1625/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตั้งผู้แทนเฉพาะคดีของผู้ตายที่มิได้เป็นผู้วิกลจริต
โจทก์ยื่นคำร้องขอให้ตั้ง โจทก์เป็นผู้แทนเฉพาะ คดีของ ต.และมีอำนาจฟ้องคดีแทน ต. เมื่อปรากฏว่า ต. ซึ่ง โจทก์อ้างว่าเป็นผู้วิกลจริตถึง แก่กรรมไปก่อนวันนัดไต่สวนคำร้องดังกล่าวแล้วศาลก็ไม่อาจตั้ง โจทก์เป็นผู้แทนเฉพาะ คดีของ ต. ได้เพราะ ต.ไม่ใช่ผู้วิกลจริตดัง ที่โจทก์กล่าวอ้างต่อไป ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 29 วรรคสองที่บัญญัติว่าถ้า ผู้เสียหายที่ตาย นั้นเป็นผู้วิกลจริตซึ่ง ผู้แทนเฉพาะ คดีได้ ยื่นฟ้องแทนไว้แล้ว ผู้ฟ้องแทนนั้นจะว่าคดีต่อไปก็ได้ นั้น หมายถึง กรณีที่ศาลได้ ตั้ง ผู้แทนเฉพาะ คดีของผู้เสียหายไว้แล้วก่อนที่ผู้เสียหายตาย หาได้ หมายความรวมถึงกรณีนี้ซึ่ง ผู้เสียหายได้ ตาย ไปเสียก่อนที่ศาลจะตั้ง ผู้แทนเฉพาะ คดีด้วย ไม่.