คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
ป.พ.พ. ม. 375

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 70 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาประนีประนอมยอมความ การส่งมอบค่าเช่า และผลของการโอนทรัพย์สิน
บุตรสามคนซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกันในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาล ตกลงจัดผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวโดยการให้เช่าและให้บุตรคนหนึ่งเป็นผู้เก็บค่าเช่าส่งมอบให้บิดามารดาคนละครึ่งจนตลอดชีวิตของบิดามารดา โดยหักค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าภาษีออกเสียก่อน สัญญานี้เป็นสัญญาจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 เมื่อบิดาแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์ตามสัญญานั้นแล้ว แม้ต่อมาบุตรทั้งสามคนนั้นจะตกลงกันเลิกสัญญาและโอนขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกไป บุตรซึ่งรับเป็นผู้เก็บค่าเช่าก็ยังต้องรับผิดส่งเงินให้แก่บิดาไปจนตลอดชีวิต โดยคำนวณเงินที่จะต้องส่งจากส่วนเฉลี่ยของค่าเช่าที่เคยเก็บหักด้วยส่วนเฉลี่ยค่าภาษีที่เคยเสีย บุตรหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้น มิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไป จะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่ เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่า โจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้าง เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ผลผูกพันสัญญาประนีประนอมยอมความและการรับผิดชอบค่าเช่าหลังการโอนทรัพย์สิน
บุตรสามคนซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกันในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาลตกลงจัดผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวโดยการให้เช่าและให้บุตรคนหนึ่งเป็นผู้เก็บค่าเช่าส่งมอบให้บิดามารดาคนละครึ่งจนตลอดชีวิตของบิดามารดา โดยหักค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าภาษีออกเสียก่อน สัญญานี้เป็นสัญญาจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374เมื่อบิดาแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์ตามสัญญานั้นแล้วแม้ต่อมาบุตรทั้งสามคนนั้นจะตกลงกันเลิกสัญญาและโอนขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกไป บุตรซึ่งรับเป็นผู้เก็บค่าเช่าก็ยังต้องรับผิดส่งเงินให้แก่บิดาไปจนตลอดชีวิต โดยคำนวณเงินที่จะต้องส่งจากส่วนเฉลี่ยของค่าเช่าที่เคยเก็บหักด้วยส่วนเฉลี่ยค่าภาษีที่เคยเสียบุตรหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้นมิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไปจะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่าโจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้างเป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิเรียกร้องค่าเช่าตามสัญญายอมความ แม้มีการโอนทรัพย์สิน สัญญาผูกพันตลอดชีวิตบิดามารดา
บุตรสามคนซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกันในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาล. ตกลงจัดผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวโดยการให้เช่าและให้บุตรคนหนึ่งเป็นผู้เก็บค่าเช่าส่งมอบให้บิดามารดาคนละครึ่งจนตลอดชีวิตของบิดามารดา. โดยหักค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าภาษีออกเสียก่อน. สัญญานี้เป็นสัญญาจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374. เมื่อบิดาแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์ตามสัญญานั้นแล้ว. แม้ต่อมาบุตรทั้งสามคนนั้นจะตกลงกันเลิกสัญญาและโอนขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกไป. บุตรซึ่งรับเป็นผู้เก็บค่าเช่าก็ยังต้องรับผิดส่งเงินให้แก่บิดาไปจนตลอดชีวิต. โดยคำนวณเงินที่จะต้องส่งจากส่วนเฉลี่ยของค่าเช่าที่เคยเก็บหักด้วยส่วนเฉลี่ยค่าภาษีที่เคยเสีย. บุตรหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่.
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้น. มิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438. ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด.
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไป. จะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่. เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง.
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง. แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่า. โจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้าง. เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249. ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 175/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิเรียกร้องจดทะเบียนเช่าจากสัญญาสามฝ่าย: ผู้รับประโยชน์จากสัญญา
จำเลยที่ 1 ตกลงให้จำเลยที่ 2 ปลูกตึกแถวในที่ดินของจำเลยที่ 1 แล้วให้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1โดยจำเลยที่ 1 ยอมให้จำเลยที่ 2 มีสิทธิเรียกเงินช่วยค่าก่อสร้างจากผู้มาขอเช่าตึกได้ และจำเลยที่1 จะทำสัญญาเช่าให้มีกำหนดสิบปี เมื่อโจทก์เข้าทำสัญญากับจำเลยที่ 2 และเสียเงินค่าก่อสร้างตึกให้แก่จำเลยที่ 2 แล้ว สัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2 ย่อมเป็นสัญญาต่างตอบแทน ซึ่งโจทก์มีสิทธิเรียกร้องให้จดทะเบียนการเช่าได้ตามสัญญา
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1135/2506)
แม้จำเลยที่ 1 จะไม่เป็นคู่สัญญากับโจทก์แต่ตามสัญญาระหว่างจำเลยทั้งสอง จำเลยที่ 1 ยินยอมให้จำเลยที่ 2 ทำสัญญากับโจทก์ได้ การชำระหนี้ที่จำเลยที่ 1 ต้องปฏิบัติตามสัญญากับจำเลยที่ 2 นี้ เป็นการกระทำเพื่อประโยชน์แก่โจทก์ หรือ นัยหนึ่งโจทก์เป็นผู้รับประโยชน์ตามสัญญาระหว่างจำเลยทั้งสองด้วยการที่จำเลยที่ 1 ยอมให้โจทก์เช่าตึกเป็นการตอบแทนตามสิทธิของโจทก์ตามสัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2 นั้นด้วย จำเลยที่ 1 จึงต้องจดทะเบียนการเช่าให้โจทก์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 175/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิเรียกร้องจดทะเบียนเช่าจากสัญญาต่างตอบแทน แม้ไม่ใช่คู่สัญญาโดยตรง
จำเลยที่ 1 ตกลงให้จำเลยที่ 2 ปลูกตึกแถวในที่ดินของจำเลยที่ 1 แล้วให้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 1 ยอมให้จำเลยที่ 2 มีสิทธิเรียกเงินช่วยค่าก่อสร้างจากผู้มาขอเช่าตึกได้ และจำเลยที่1 จะทำสัญญาเช่าให้มีกำหนดสิบปี เมื่อโจทก์เข้าทำสัญญากับจำเลยที่ 2 และเสียเงินค่าก่อสร้างตึกให้แก่จำเลยที่ 2 แล้ว สัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2 ย่อมเป็นสัญญาต่างตอบแทน ซึ่งโจทก์มีสิทธิเรียกร้องให้จดทะเบียนการเช่าได้ตามสัญญา
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1135/2506)
แม้จำเลยที่ 1 จะไม่เป็นคู่สัญญากับโจทก์แต่ตามสัญญาระหว่างจำเลยทั้งสอง จำเลยที่ 1 ยินยอมให้จำเลยที่ 2 ทำสัญญากับโจทก์ได้การชำระหนี้ที่จำเลยที่1ต้องปฏิบัติตามสัญญากับจำเลยที่ 2 นี้ เป็นการกระทำเพื่อประโยชน์แก่โจทก์หรือ นัยหนึ่งโจทก์เป็นผู้รับประโยชน์ตามสัญญาระหว่างจำเลยทั้งสองด้วยการที่จำเลยที่ 1 ยอมให้โจทก์เช่าตึกเป็นการตอบแทนตามสิทธิของโจทก์ตามสัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2 นั้นด้วย จำเลยที่ 1 จึงต้องจดทะเบียนการเช่าให้โจทก์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 175/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิเรียกร้องจดทะเบียนเช่าจากสัญญาต่างตอบแทน แม้ไม่ใช่คู่สัญญาโดยตรง
จำเลยที่ 1 ตกลงให้จำเลยที่ 2 ปลูกตึกแถวในที่ดินของจำเลยที่ 1 แล้วให้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1.โดยจำเลยที่ 1 ยอมให้จำเลยที่ 2 มีสิทธิเรียกเงินช่วยค่าก่อสร้างจากผู้มาขอเช่าตึกได้. และจำเลยที่1 จะทำสัญญาเช่าให้มีกำหนดสิบปี. เมื่อโจทก์เข้าทำสัญญากับจำเลยที่ 2 และเสียเงินค่าก่อสร้างตึกให้แก่จำเลยที่ 2 แล้ว. สัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2ย่อมเป็นสัญญาต่างตอบแทน ซึ่งโจทก์มีสิทธิเรียกร้องให้จดทะเบียนการเช่าได้ตามสัญญา. (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1135/2506)
แม้จำเลยที่ 1 จะไม่เป็นคู่สัญญากับโจทก์.แต่ตามสัญญาระหว่างจำเลยทั้งสอง. จำเลยที่ 1 ยินยอมให้จำเลยที่ 2 ทำสัญญากับโจทก์ได้. การชำระหนี้ที่จำเลยที่1ต้องปฏิบัติตามสัญญากับจำเลยที่ 2 นี้ เป็นการกระทำเพื่อประโยชน์แก่โจทก์. หรือ นัยหนึ่งโจทก์เป็นผู้รับประโยชน์ตามสัญญาระหว่างจำเลยทั้งสอง.ด้วยการที่จำเลยที่ 1 ยอมให้โจทก์เช่าตึกเป็นการตอบแทนตามสิทธิของโจทก์ตามสัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2 นั้นด้วย. จำเลยที่ 1 จึงต้องจดทะเบียนการเช่าให้โจทก์.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1002/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าผสมสัญญาต่างตอบแทน การโอนสิทธิและหน้าที่ตามสัญญาเช่าแก่ผู้ซื้อ
ปัญหาที่ว่า ผู้ให้เช่าเพิ่งมาขีดฆ่าข้อความในสัญญาเช่าฉบับของจำเลยภายหลังที่ผู้ให้เช่าขายตึกพิพาทให้โจทก์แล้วนั้น เป็นปัญหาข้อเท็จจริง
การที่จำเลยนำสืบว่าได้ออกเงินช่วยค่าก่อสร้างให้แก่ผู้ให้เช่าอันจะพึงถือว่าเป็นสัญญาต่างตอบแทนนั้น เป็นการนำสืบถึงเหตุที่ทำให้จำเลยมีสิทธิในการเช่านานถึง 15 ปี เพราะจำเลยได้ออกเงินช่วยค่าก่อสร้างตึกพิพาทเป็นการตอบแทนจึงเท่ากับเป็นการนำสืบหักล้างว่าสัญญาเช่านั้นไม่ใช่สัญญาเช่าธรรมดา แต่เป็นสัญญาต่างตอบแทน ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 94 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
สัญญาต่างตอบแทนเป็นสัญญาที่กฎหมายไม่บังคับไม่ต้องมีเอกสารมาแสดงหรือบังคับให้จดทะเบียนแต่อย่างใด
เมื่อผู้ให้เช่าโอนขายตึกพิพาทให้โจทก์และได้บอกให้ทราบว่าผู้เช่าได้ออกเงินช่วยค่าก่อสร้างโจทก์จะต้องให้ผู้เช่าได้อยู่จนครบกำหนด 15 ปี อย่าขับไล่ มิฉะนั้นจะไม่ยอมขาย และโจทก์ก็ตกลงด้วย เช่นนี้ กรณีที่โจทก์ยอมรับข้อผูกพันที่ผู้ให้เช่ามีต่อผู้เช่า เท่ากับว่าโจทก์ได้ทำสัญญาตกลงจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอก เมื่อจำเลยคงถือตามสัญญาเช่าเดิม และได้ชำระค่าเช่าให้ทุกเดือน จึงเป็นการแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์จากสัญญาตามมาตรา 374 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว คู่สัญญาหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่ ตามมาตรา 375 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2509)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1002/2509

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าต่างตอบแทนมีผลผูกพันแม้ไม่ได้จดทะเบียน โจทก์ผู้ซื้อทรัพย์สินต้องผูกพันตามสัญญาเดิม
ปัญหาที่ว่า ผู้ให้เช่าเพิ่งมาขีดฆ่าข้อความในสัญญาเช่าฉบับของจำเลยภายหลังที่ผู้ให้เช่าขายตึกพิพาทให้โจทก์แล้วนั้น เป็นปัญหาข้อเท็จจริง
การที่จำเลยนำสืบว่าได้ออกเงินช่วยค่าก่อสร้างให้แก่ผู้ให้เช่าอันจะพึงถือว่าเป็นสัญญาต่างตอบแทนนั้น เป็นการนำสืบถึงเหตุที่ทำให้จำเลยมีสิทธิในการเช่านาถึง 15 ปี เพราะจำเลยได้ออกเงินช่วยค่าก่อสร้างตึกพิพาทเป็นการตอบแทน จึงเท่ากับเป็นการนำสืบหักล้างว่าสัญญาเช่านั้น ไม่ใช่สัญญาเช่าธรรมดา แต่เป็นสัญญาต่างตอบแทน ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 94 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
สัญญาต่างตอบแทนเป็นสัญญาที่กฎหมายไม่บังคับให้ต้องมีเอกสารมาแสดงหรือบังคับให้จดทะเบียนแต่อย่างใด
เมื่อผู้ให้เช่าโอนขายตึกพิพาทให้โจทก์และได้บอกให้ทราบว่าผู้เช่าได้ออกเงินช่วยค่าก่อสร้าง โจทก์จะต้องให้ผู้เช่าได้อยู่จนครบกำหนด 15 ปี อย่าขับไล่มิฉะนั้นจะไม่ยอมขาย และโจทก์ก็ตกลงด้วย เช่นนี้กรณีที่โจทก์ยอมรับข้อผูกพันที่ผู้ให้เช่ามีต่อผู้เช่าเท่ากับว่าโจทก์ได้ทำสัญญาตกลงจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอก เมื่อจำเลยคงถือตามสัญญาเช่าเดิม และได้ชำระค่าเช่าให้ทุกเดือน จึงเป็นการแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์จากสัญญาตามมาตรา 374 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้วคู่สัญญาหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่ ตามมาตรา375 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2509)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1025/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ บุคคลภายนอกรับประโยชน์จากสัญญาชำระหนี้แทนกัน: สิทธิฟ้องเรียกร้องของโจทก์
โจทก์กู้เงินธนาคารไปให้ ข.กับผู้อื่นหมุนซื้อที่ดิน ต่อมา ข. กับจำเลยทำสัญญากันว่า ข.ยอมยกที่ดินให้จำเลยและจำเลยยอมรับภาระชำระหนี้ที่โจทก์เป็นลูกหนี้ธนาคารอยู่นั้น ดังนี้ โจทก์ย่อมเป็นบุคคลากรภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มารตรา 375 ที่จะได้รับประโยชน์จากการชำระหนี้ตามสัญญาที่กล่าวนั้น คือ จำเลยจำชำระหนี้ธนาคารแทนโจทก์ เมื่อโจทก์ได้แสดงเจตนารับประโยชน์ตามสัญญานั้นแล้ว แต่จำเลยไม่ปฎิบัติตามสัญญาทำให้โจทก์ต้อกู้เงินมาใช้หนี้ธนาคารเอง โจทก์ย่อมฟ้องเรียกร้องให้จำเลยชำระเงินตามสัญญานั้นแก่โจทก์ได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 474/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิของคู่สัญญาประนีประนอมยอมความในการฟ้องเพิกถอนจำนองที่ดินที่ตกลงจะยกให้บุตร
โจทก์และจำเลยที่ 1 ทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันว่า จำเลยที่ 1 จะยกที่ดินให้แก่บุตรของโจทก์และจำเลยที่ 1 ต่อมาจำเลยที่ 1 ผิดสัญญา เอาที่ดินนั้นไปทำจำนองไว้ กับจำเลยที่ 2 โจทก์ในฐานะที่เป็นคู่สัญญากับจำเลยที่ 1 ย่อมมีสิทธิที่จะฟ้องขอเพิกถอนนิติกรรมจำนองนั้นได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 6/2503)
of 7