พบผลลัพธ์ทั้งหมด 259 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาฝากเงินให้ดอกเบี้ย: ผลผูกพันบริษัทจากการรับมอบเงินและสัญญาใช้คืนพร้อมดอกเบี้ย
จำเลยเป็นคู่สัญญากับโจทก์ โดย จำเลยได้ รับมอบเงินจากโจทก์แล้วสัญญาจะใช้คืนพร้อมดอกเบี้ย อันเป็นการรับฝากเงินโดย สัญญาให้ดอกเบี้ย ดังนี้มี ผลผูกพันบริษัทจำเลยให้ต้อง รับผิดตาม สัญญารับฝากเงินดังกล่าว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฝากเงินและออกเช็คเพื่อใช้คืน ถือเป็นสัญญารับฝากเงินโดยปริยาย แม้ไม่ได้ทำสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษร
โจทก์นำเงินไปฝาก ณ ที่ทำการของบริษัทเงินทุนจำเลย พนักงานของจำเลยรับฝากเงินจากโจทก์และดำเนินการให้กรรมการผู้มีอำนาจออกเช็คสั่งจ่ายเงินตามจำนวนเงินที่รับจากโจทก์ และกำหนดวันสั่งจ่ายคืนตามเช็คเป็นเวลา 1 ปี แล้วนำเช็คบรรจุในซองพลาสติกมีตราของบริษัทจำเลยแล้วใส่ในซองจดหมายซึ่งมีชื่อบริษัทจำเลยนำมามอบให้แก่โจทก์ มีลักษณะเพื่อเป็นการใช้เงินคืนซึ่งจำเลยเคยปฏิบัติต่อโจทก์เช่นเดียวกันนี้มาก่อน อันเป็นการฝ่าฝืนประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การกำหนดให้บริษัทเงินทุนปฏิบัติในการกู้ยืมเงินหรือรับเงินจากประชาชนฯ การที่โจทก์นำเงินไปมอบให้แก่จำเลยก็เพื่อประสงค์จะได้ดอกเบี้ยตามข้อตกลงที่จำเลยให้สัญญา แต่โจทก์มิได้ตกลงกับจำเลยโดยเฉพาะว่าการใช้เงินคืนจำเลยจะต้องทำการออกตั๋วสัญญาใช้เงินหรือออกเช็คให้แก่โจทก์หรือต้องทำในรูปสัญญากู้ยืมหรือประการอื่นใด เมื่อกรรมการผู้มีอำนาจออกเช็คสั่งจ่ายเงินตามจำนวนที่รับมอบจากโจทก์ จึงเป็นกรณีที่ตัวแทนจำเลยปฏิบัติต่อโจทก์ฝ่ายเดียว โจทก์มิได้ตกลงหรือรู้เห็นด้วยว่าเป็นการฝ่าฝืนประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย จึงมิใช่นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ขัดต่อกฎหมายพฤติการณ์ดังกล่าวฟังได้ว่าจำเลยเป็นคู่สัญญากับโจทก์ จำเลยจึงต้องรับผิดใช้เงินคืนแก่โจทก์พร้อมดอกเบี้ย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 989/2533 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีสัญชาติ และการถอนชื่อออกจากทะเบียนบ้านคนญวนอพยพ แม้จำเลยมิใช่ผู้จดแจ้งชื่อ
แม้จำเลยเพิ่งมาดำรงตำแหน่งหัวหน้าสำนักงานกิจการญวณอพยพจังหวัด อุบลราชธานี ภายหลังจากได้มีการจดแจ้งชื่อโจทก์ลงในทะเบียนบ้านคนญวนอพยพแล้วก็ตาม แต่ฟ้องและคำขอท้ายฟ้องของโจทก์มีสาระสำคัญขอให้จำเลยซึ่งเป็นหัวหน้าสำนักงานกิจการญวนอพยพจังหวัดอุบลราชธานีคนปัจจุบันถอนชื่อโจทก์ออกจากทะเบียนบ้านคนญวนอพยพ เพราะลงชื่อไว้โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้จำเลยจะมิใช่ผู้จดแจ้งชื่อโจทก์ไว้ในทะเบียน โจทก์ก็มีอำนาจฟ้อง
การที่จำเลยฎีกาว่า โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องเพราะไม่เคยไปติดต่อจำเลยให้ถอนชื่อโจทก์ออกจากทะเบียนคนญวนอพยพก่อนฟ้องโดยไม่ได้ต่อสู้ไว้ในคำให้การนั้น แม้เป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกาก็ไม่เห็นสมควรวินิจฉัยให้
พ. คนสัญชาติไทยอยู่กินฉันสามีภรรยากับโจทก์ที่ 1คนสัญชาติญวนซึ่งเกิดในประเทศ ไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2509 โดยมิได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย ให้กำเนิดโจทก์ที่ 2 เมื่อปีพ.ศ. 2510 ต่อมา พ.ศ. 2512 พ. และโจทก์ที่ 1 จึงได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย โจทก์ที่ 2 ไม่ใช่บุคคลที่ถูกถอนสัญชาติตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 337 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2515 ข้อ 1เพราะโจทก์ที่ 1 ซึ่งเป็นมารดา ไม่ใช่บุคคลตามข้อ 1(1) (2) และ(3) ตามประกาศของคณะปฏิวัติดังกล่าว
การที่จำเลยฎีกาว่า โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องเพราะไม่เคยไปติดต่อจำเลยให้ถอนชื่อโจทก์ออกจากทะเบียนคนญวนอพยพก่อนฟ้องโดยไม่ได้ต่อสู้ไว้ในคำให้การนั้น แม้เป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกาก็ไม่เห็นสมควรวินิจฉัยให้
พ. คนสัญชาติไทยอยู่กินฉันสามีภรรยากับโจทก์ที่ 1คนสัญชาติญวนซึ่งเกิดในประเทศ ไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2509 โดยมิได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย ให้กำเนิดโจทก์ที่ 2 เมื่อปีพ.ศ. 2510 ต่อมา พ.ศ. 2512 พ. และโจทก์ที่ 1 จึงได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย โจทก์ที่ 2 ไม่ใช่บุคคลที่ถูกถอนสัญชาติตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 337 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2515 ข้อ 1เพราะโจทก์ที่ 1 ซึ่งเป็นมารดา ไม่ใช่บุคคลตามข้อ 1(1) (2) และ(3) ตามประกาศของคณะปฏิวัติดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 989/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีถอนชื่อออกจากทะเบียนคนญวนอพยพ และการถอนสัญชาติไทยของบุตรจากสถานะบิดามารดา
จำเลยเพิ่งมาดำรง ตำแหน่ง หัวหน้าสำนักงานกิจการญวนอพยพ จังหวัด อุบลราชธานี ภายหลังจากที่ได้ จดแจ้งชื่อ โจทก์ที่ 2 ถึง ที่ 5 ลงทะเบียนคนญวนอพยพแล้ว ตาม ฟ้องและคำขอท้ายฟ้องโจทก์ที่ 2 ถึง ที่ 5 มีสาระสำคัญขอให้จำเลยซึ่ง เป็นหัวหน้าสำนักงานกิจการญวนอพยพ จังหวัด อุบลราชธานีคนปัจจุบันถอน ชื่อ โจทก์ที่ 2 ถึง ที่ 5 ออกจากทะเบียนคนญวนอพยพเพราะการลงชื่อโจทก์ที่ 2 ถึง ที่ 5 ไว้ในทะเบียนดังกล่าวไม่ชอบด้วย กฎหมาย ดังนั้นแม้จำเลยจะมิใช่ผู้จดแจ้งชื่อ โจทก์ที่ 2 ถึง ที่ 5 ไว้ในทะเบียน โจทก์ที่ 2 ถึง ที่ 5 มีอำนาจฟ้องจำเลยได้ แม้อำนาจฟ้องจะเป็น ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน เมื่อจำเลย มิได้ยกข้อต่อสู้ไว้ในคำให้การหากศาลฎีกาไม่เห็นสมควรจะไม่ วินิจฉัยให้ก็ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5) นาย พ. คนสัญชาติไทยอยู่กินฉัน สามีภรรยากับโจทก์ที่ 1คนสัญชาติญวนโดย มิได้จด ทะเบียนสมรส และให้กำเนิดโจทก์ที่ 2 ต่อมานาย พ. กับโจทก์ที่ 1 ได้ จด ทะเบียนสมรสกันโจทก์ที่ 2 จึงไม่ใช่บุคคลที่จะถูก ถอน สัญชาติตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 337 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2519ข้อ 1 เพราะโจทก์ที่ 1 ไม่ใช่บุคคลตาม ข้อ 1(1)(2) และ (3)ตาม ประกาศของคณะปฏิวัติดังกล่าว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 989/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องกรณีถอนชื่อออกจากทะเบียนบ้าน และการไม่ถูกถอนสัญชาติไทยตามประกาศคณะปฏิวัติ
แม้จำเลยเพิ่งมาดำรงตำแหน่งหัวหน้าสำนักงานกิจการญวนอพยพจังหวัดอุบลราชธานี ภายหลังจากได้มีการจดแจ้งชื่อโจทก์ลงในทะเบียนบ้านคนญวนอพยพแล้วก็ตาม แต่ฟ้องและคำขอท้ายฟ้องของโจทก์มีสาระสำคัญขอให้จำเลยซึ่งเป็นหัวหน้าสำนักงานกิจการญวนอพยพจังหวัดอุบลราชธานี คนปัจจุบันถอนชื่อโจทก์ออกจากทะเบียนบ้านคนญวนอพยพ เพราะลงชื่อไว้โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้จำเลยจะมิใช่ผู้จดแจ้งชื่อโจทก์ไว้ในทะเบียน โจทก์ก็มีอำนาจฟ้อง การที่จำเลยฎีกาว่า โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องเพราะไม่เคยไปติดต่อจำเลยให้ถอนชื่อโจทก์ออกจากทะเบียนคนญวนอพยพก่อนฟ้องโดยไม่ได้ต่อสู้ไว้ในคำให้การนั้น แม้เป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกาก็ไม่เห็นสมควรวินิจฉัยให้ พ. คนสัญชาติไทยอยู่กินฉันสามีภรรยากับโจทก์ที่ 1คนสัญชาติญวนซึ่งเกิดในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2509 โดยมิได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย ให้กำเนิดโจทก์ที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2510ต่อมา พ.ศ. 2512 พ. และโจทก์ที่ 1 ได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมายโจทก์ที่ 2 จึงไม่ใช่บุคคลที่ถูกถอนสัญชาติตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 337 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2515 ข้อ 1 เพราะโจทก์ที่ 1 ซึ่งเป็นมารดา ไม่ใช่บุคคลตามข้อ 1(1)(2) และ (3) ตามประกาศของคณะปฏิวัติดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 989/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีสัญชาติ และการถอนชื่อออกจากทะเบียนบ้านคนญวนอพยพ แม้จำเลยมิได้จดแจ้งชื่อเอง
แม้จำเลยเพิ่งมาดำรงตำแหน่งหัวหน้าสำนักงานกิจการญวณอพยพจังหวัด อุบลราชธานี ภายหลังจากได้มีการจดแจ้งชื่อโจทก์ลงในทะเบียนบ้านคนญวนอพยพแล้วก็ตาม แต่ฟ้องและคำขอท้ายฟ้องของโจทก์มีสาระสำคัญขอให้จำเลยซึ่งเป็นหัวหน้าสำนักงานกิจการญวนอพยพจังหวัด อุบลราชธานี คนปัจจุบันถอนชื่อโจทก์ออกจากทะเบียนบ้านคนญวนอพยพ เพราะลงชื่อไว้โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้จำเลยจะมิใช่ผู้จดแจ้งชื่อโจทก์ไว้ในทะเบียน โจทก์ก็มีอำนาจฟ้อง การที่จำเลยฎีกาว่า โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องเพราะไม่เคยไปติดต่อจำเลยให้ถอนชื่อโจทก์ออกจากทะเบียนคนญวนอพยพก่อนฟ้องโดยไม่ได้ต่อสู้ไว้ในคำให้การนั้น แม้เป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกาก็ไม่เห็นสมควรวินิจฉัยให้ พ. คนสัญชาติไทยอยู่กินฉันสามีภรรยากับโจทก์ที่ 1คนสัญชาติญวนซึ่งเกิดในประเทศ ไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2509โดยมิได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย ให้กำเนิดโจทก์ที่ 2 เมื่อปีพ.ศ. 2510 ต่อมา พ.ศ. 2512 พ. และโจทก์ที่ 1 จึงได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย โจทก์ที่ 2 ไม่ใช่บุคคลที่ถูกถอนสัญชาติตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 337 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2515 ข้อ 1เพราะโจทก์ที่ 1 ซึ่งเป็นมารดา ไม่ใช่บุคคลตามข้อ 1(1)(2) และ(3) ตามประกาศของคณะปฏิวัติดังกล่าว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 841/2533 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมโดยไม่ต้องมียินยอมคู่สมรส กรณีสามีภรรยาแยกกันอยู่และขาดการติดต่อ
โจทก์ที่ 1 เป็นสามีของผู้ตายจดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมายต่อมาโจทก์ที่ 1 และผู้ตายต่างย้ายภูมิลำเนาจากที่เดิมไปอยู่ที่อื่นซึ่งเป็นคนละแห่งกันโดยมิได้มีการติดต่อเยี่ยมเยียน หรือส่งข่าวคราวให้แก่กันเลยเป็นเวลานานหลายปีจึงถือได้ว่าโจทก์ที่ 1 ได้ไปเสียจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครได้รับข่าวคราวเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี การที่ผู้ตายจดทะเบียนรับจำเลยเป็นบุตรบุญธรรมในระหว่างที่แยกกันอยู่กับโจทก์ที่ 1 เช่นนี้ กรณีต้องด้วยข้อยกเว้นที่จะไม่ต้องได้รับความยินยอมของคู่สมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1598/25 การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมจึงชอบด้วยกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 841/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมโดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรส กรณีสามีภรรยาแยกกันอยู่เป็นเวลานาน
โจทก์ที่ 1 เป็นสามีของผู้ตายจดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมายต่อมาโจทก์ที่ 1 และผู้ตายต่างย้ายภูมิลำเนาจากที่เดิมไปอยู่ที่อื่นซึ่งเป็นคนละแห่งกันโดยมิได้มีการติดต่อเยี่ยมเยียน หรือส่งข่าวคราวให้แก่กันเลยเป็นเวลานานหลายปีจึงถือได้ว่าโจทก์ที่ 1 ได้ไปเสียจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครได้รับข่าวคราวเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี การที่ผู้ตายจดทะเบียนรับจำเลยเป็นบุตรบุญธรรมในระหว่างที่แยกกันอยู่กับโจทก์ที่ 1 เช่นนี้กรณีต้องด้วยข้อยกเว้นที่จะไม่ต้องได้รับความยินยอมของคู่สมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1598/25การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมจึงชอบด้วยกฎหมาย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 841/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนบุตรบุญธรรมโดยไม่ต้องมียินยอมคู่สมรส เมื่อสามี/ภรรยาขาดการติดต่อ
ขณะที่ ม. ผู้ตายจดทะเบียนรับจำเลยเป็นบุตรบุญธรรม โจทก์สามี ม. ผู้ตายไปเสียจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครได้ รับข่าวคราวประการใด เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี กรณีต้อง ด้วยข้อยกเว้นที่จะไม่ต้องได้ รับความยินยอมของโจทก์ตาม ป.พ.พ.มาตรา 1598/25 ดังนี้การจดทะเบียนรับจำเลยเป็นบุตรบุญธรรมจึงชอบด้วย กฎหมาย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 841/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดทะเบียนบุตรบุญธรรมโดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากสามี เมื่อสามีขาดจากภูมิลำเนาและไม่มีข่าวคราว
โจทก์ที่ 1 เป็นสามีของผู้ตายจดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมายต่อมาโจทก์ที่ 1 และผู้ตายต่างย้ายภูมิลำเนาจากที่เดิมไปอยู่ที่อื่นซึ่งเป็นคนละแห่งกันโดยมิได้มีการติดต่อเยี่ยมเยียนหรือส่งข่าวคราวให้แก่กันเลยเป็นเวลานานหลายปี จึงถือได้ว่าโจทก์ที่ 1 ได้ไปเสียจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครได้รับข่าวคราวเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี การที่ผู้ตายจดทะเบียนรับจำเลยเป็นบุตรบุญธรรมในระหว่างที่แยกกันอยู่กับโจทก์ที่ 1เช่นนี้ กรณีต้องด้วยข้อยกเว้นที่จะไม่ต้องได้รับความยินยอมของคู่สมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1598/25การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมจึงชอบด้วยกฎหมาย