คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
สุประดิษฐ์ หุตะสิงห์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 441 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2237/2539 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาออกเช็คเพื่อประกันหนี้แพ่ง ไม่เป็นความผิดตาม พ.ร.บ. เช็ค
ขณะ ช. พนักงานของผู้เสียหายในฐานะตัวแทนของผู้เสียหาย นำยึดทรัพย์ของจำเลยได้ทราบถึงฐานะการเงินของจำเลยดีว่า ไม่สามารถชำระหนี้ตามเช็คพิพาทได้ แต่ยอมรับเช็คพิพาทไว้เพื่อ จะได้งดการบังคับคดีไว้ก่อนเท่านั้นการสั่งจ่ายเช็คของจำเลย จึงมีลักษณะเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและเพื่อประกันหนี้ ในทางแพ่งที่ต้องรับผิดไว้ก่อน กรณียังถือไม่ได้ว่าจำเลยกระทำผิด ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๔

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2237/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาออกเช็คเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ไม่ถือเป็นความผิดตาม พ.ร.บ. เช็ค
ขณะ ช. พนักงานของผู้เสียหายในฐานะตัวแทนของผู้เสียหายนำยึดทรัพย์ของจำเลยได้ทราบถึงฐานะการเงินของจำเลยดีว่าไม่สามารถชำระหนี้ตามเช็คพิพาทได้ แต่ยอมรับเช็คพิพาทไว้เพื่อจะได้งดการบังคับคดีไว้ก่อนเท่านั้นการสั่งจ่ายเช็คของจำเลยจึงมีลักษณะเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและเพื่อประกันหนี้ในทางแพ่งที่ต้องรับผิดไว้ก่อน กรณียังถือไม่ได้ว่าจำเลยกระทำผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534มาตรา 4

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2237/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาออกเช็คเพื่อประวิงหนี้ ไม่ถือเป็นความผิดตาม พ.ร.บ. เช็ค หากผู้รับทราบฐานะทางการเงินของผู้สั่งจ่าย
ขณะช. พนักงานของผู้เสียหายในฐานะตัวแทนของผู้เสียหายนำยึดทรัพย์ของจำเลยได้ทราบถึงฐานะการเงินของจำเลยดีว่าไม่สามารถชำระหนี้ตามเช็คพิพาทได้แต่ยอมรับเช็คพิพาทไว้เพื่อจะได้งดการบังคับคดีไว้ก่อนเท่านั้นการสั่งจ่ายเช็คของจำเลยจึงมีลักษณะเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและเพื่อประกันหนี้ในทางแพ่งที่ต้องรับผิดไว้ก่อนกรณียังถือไม่ได้ว่าจำเลยกระทำผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ.2534มาตรา4

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2237/2539

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาออกเช็คเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้และประกันหนี้ ไม่ถือเป็นความผิดตาม พ.ร.บ. เช็ค
ขณะช.พนักงานของผู้เสียหายในฐานะตัวแทนของผู้เสียหายนำยึดทรัพย์ของจำเลยได้ทราบถึงฐานะการเงินของจำเลยดีว่าไม่สามารถชำระหนี้ตามเช็คพิพาทได้แต่ยอมรับเช็คพิพาทไว้เพื่อจะได้งดการบังคับคดีไว้ก่อนเท่านั้นการสั่งจ่ายเช็คของจำเลยจึงมีลักษณะเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหนี้และเพื่อประกันหนี้ในทางแพ่งที่ต้องรับผิดไว้ก่อนกรณียังถือไม่ได้ว่าจำเลยกระทำผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ.2534มาตรา4

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2209/2539 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หนังสือค้ำประกัน: ความรับผิดของผู้ค้ำประกันไม่มีเงื่อนไข แม้มีกำหนดเวลาแจ้งเหตุ
หนังสือค้ำประกันข้อ 2 ระบุว่า ธนาคาร (จำเลยที่ 3) รับรองว่าขณะใดที่ได้รับหนังสือแจ้งความจากโจทก์ว่า จำเลยที่ 1 ปฏิบัติผิดสัญญาและไม่ชำระหนี้ให้แก่โจทก์ภายในวงเงินที่ค้ำประกัน ไม่ว่าทั้งหมดหรือเฉพาะส่วนใดก็ตามจำเลยที่ 3 ยอมชำระเงินแทนภายในกำหนด 15 วัน นับแต่วันได้รับหนังสือแจ้งความดังกล่าวเป็นต้นไป แต่โจทก์จะต้องแจ้งเหตุแห่งการปฏิบัติผิดสัญญาให้ธนาคารทราบภายในกำหนด 15 วัน นับแต่วันที่เหตุการณ์นั้น ๆ ได้เกิดขึ้น ข้อความดังกล่าวเป็นการค้ำประกันจำเลยที่ 1 ต่อโจทก์โดยไม่มีเงื่อนไข แม้ข้อความตอนท้ายระบุให้โจทก์แจ้งให้จำเลยที่ 3 ทราบภายในกำหนด 15 วัน ก็เป็นเพียงกำหนดเวลาที่จะต้องแจ้งให้ผู้ค้ำประกันรู้ตัวว่าจะต้องรับผิดเท่านั้น หาใช่เงื่อนไขจำกัดความรับผิดของผู้ค้ำประกันไม่ การที่จำเลยที่ 1 แจ้งให้จำเลยที่ 3 ทราบถึงการปฏิบัติผิดสัญญาของจำเลยที่ 1 เกินกำหนด 15 วัน ย่อมไม่ทำให้จำเลยที่ 3 พ้นความรับผิด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2209/2539

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หนังสือค้ำประกัน: การแจ้งเหตุผิดสัญญาเกินกำหนด 15 วัน ไม่ทำให้ผู้ค้ำประกันพ้นความรับผิด
หนังสือค้ำประกันข้อ2ระบุว่าธนาคาร(จำเลยที่3)รับรองว่าขณะใดที่ได้รับหนังสือแจ้งความจากโจทก์ว่าจำเลยที่1ปฏิบัติผิดสัญญาและไม่ชำระหนี้ให้แก่โจทก์ภายในวงเงินที่ค้ำประกันไม่ว่าทั้งหมดหรือเฉพาะส่วนใดก็ตามจำเลยที่3ยอมชำระเงินทดแทนภายในกำหนด15วันนับแต่วันได้รับหนังสือแจ้งความดังกล่าวเป็นต้นไปแต่โจทก์จะต้องแจ้งเหตุแห่งการปฏิบัติผิดสัญญาให้ธนาคารทราบภายในกำหนด15วันนับแต่วันที่เหตุการณ์นั้นๆได้เกิดขึ้นข้อความข้อดังกล่าวเป็นการค้ำประกันจำเลยที่1ต่อโจทก์โดยไม่มีเงื่อนไขแม้ข้อความตอนท้ายระบุให้โจทก์แจ้งให้จำเลยที่3ทราบภายในกำหนด15วันก็เป็นเพียงกำหนดเวลาที่จะต้องแจ้งให้ผู้ค้ำประกันรู้ตัวว่าจะต้องรับผิดเท่านั้นหาใช่เงื่อนไขจำกัดความรับผิดของผู้ค้ำประกันไม่การที่จำเลยที่1แจ้งให้จำเลยที่3ทราบถึงการปฏิบัติผิดสัญญาของจำเลยที่1เกินกำหนด15วันย่อมไม่ทำให้จำเลยที่3พ้นความรับผิด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2209/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หนังสือค้ำประกันโดยไม่มีเงื่อนไข การแจ้งเหตุผิดสัญญาเกินกำหนดไม่ทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นความรับผิด
หนังสือค้ำประกันข้อ 2 ระบุว่า ธนาคาร (จำเลยที่ 3) รับรองว่าขณะใดที่ได้รับหนังสือแจ้งความจากโจทก์ว่า จำเลยที่ 1ปฏิบัติผิดสัญญาและไม่ชำระหนี้ให้แก่โจทก์ภายในวงเงินที่ค้ำประกันไม่ว่าทั้งหมดหรือเฉพาะส่วนใดก็ตามจำเลยที่ 3 ยอมชำระเงินแทนภายในกำหนด 15 วัน นับแต่วันได้รับหนังสือแจ้งความดังกล่าวเป็นต้นไป แต่โจทก์จะต้องแจ้งเหตุแห่งการปฏิบัติผิดสัญญาให้ธนาคารทราบภายในกำหนด 15 วัน นับแต่วันที่เหตุการณ์นั้น ๆได้เกิดขึ้น ข้อความดังกล่าวเป็นการค้ำประกันจำเลยที่ 1 ต่อโจทก์โดยไม่มีเงื่อนไข แม้ข้อความตอนท้ายระบุให้โจทก์แจ้งให้จำเลยที่ 3ทราบภายในกำหนด 15 วัน ก็เป็นเพียงกำหนดเวลาที่จะต้องแจ้งให้ผู้ค้ำประกันรู้ตัวว่าจะต้องรับผิดเท่านั้น หาใช่เงื่อนไขจำกัดความรับผิดของผู้ค้ำประกันไม่ การที่จำเลยที่ 1 แจ้งให้จำเลยที่ 3ทราบถึงการปฏิบัติผิดสัญญาของจำเลยที่ 1 เกินกำหนด 15 วันย่อมไม่ทำให้จำเลยที่ 3 พ้นความรับผิด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2209/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หนังสือค้ำประกันโดยไม่มีเงื่อนไข: การแจ้งเหตุผิดสัญญาเกินกำหนดไม่ทำให้ผู้ค้ำประกันพ้นความรับผิด
หนังสือค้ำประกันข้อ2ระบุว่าธนาคาร(จำเลยที่3)รับรองว่าขณะใดที่ได้รับหนังสือแจ้งความจากโจทก์ว่าจำเลยที่1ปฏิบัติผิดสัญญาและไม่ชำระหนี้ให้แก่โจทก์ภายในวงเงินที่ค้ำประกันไม่ว่าทั้งหมดหรือเฉพาะส่วนใดก็ตามจำเลยที่3ยอมชำระเงินแทนภายในกำหนด15วันนับแต่วันได้รับหนังสือแจ้งความดังกล่าวเป็นต้นไปแต่โจทก์จะต้องแจ้งเหตุแห่งการปฏิบัติผิดสัญญาให้ธนาคารทราบภายในกำหนด15วันนับแต่วันที่เหตุการณ์นั้นๆได้เกิดขึ้นข้อความดังกล่าวเป็นการค้ำประกันจำเลยที่1ต่อโจทก์โดยไม่มีเงื่อนไขแม้ข้อความตอนท้ายระบุให้โจทก์แจ้งให้จำเลยที่3ทราบภายในกำหนด15วันก็เป็นเพียงกำหนดเวลาที่จะต้องแจ้งให้ผู้ค้ำประกันรู้ตัวว่าจะต้องรับผิดเท่านั้นหาใช่เงื่อนไขจำกัดความรับผิดของผู้ค้ำประกันไม่การที่จำเลยที่1แจ้งให้จำเลยที่3ทราบถึงการปฏิบัติผิดสัญญาของจำเลยที่1เกินกำหนด15วันย่อมไม่ทำให้จำเลยที่3พ้นความรับผิด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1917/2539

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การนับระยะเวลาขยายอุทธรณ์: การกำหนดวันเริ่มต้นและผลของการขยายต่อเนื่อง
ศาลชั้นต้นพิพากษาเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2536 โจทก์ต้องยื่นอุทธรณ์ภายใน 1 เดือน นับแต่วันที่ได้อ่านคำพิพากษา ตาม ป.วิ.พ.มาตรา229 ซึ่งการนับเวลายื่นอุทธรณ์ 1 เดือน ต้องนับวันรุ่งขึ้นเป็นวันแรกตาม ป.พ.พ.มาตรา 193/3 โดยอุทธรณ์ของโจทก์จะครบกำหนดวันที่ 29 มกราคม 2537โจทก์ยื่นคำร้องขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์มีกำหนด 15 วัน ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตให้ขยายระยะเวลาอุทธรณ์ออกไปอีก 15 วัน นับแต่วันครบกำหนดอุทธรณ์คือวันที่ 31 มกราคม 2537 เนื่องจากวันที่ 29 และ 30 มกราคม 2537 เป็นวันหยุดราชการ ดังนั้น เมื่อศาลชั้นต้นระบุในคำสั่งให้ขยายระยะเวลาอุทธรณ์ไปอีก 15 วัน โดยให้นับแต่วันที่ 31 มกราคม 2537 จึงเป็นการที่ศาลชั้นต้นกำหนดวันเริ่มต้นแห่งระยะเวลาที่ขยายออกไปว่าจะต้องเริ่มนับจากวันที่ 1กุมภาพันธ์ 2537 ตาม ป.พ.พ.มาตรา 193/7 โจทก์จึงสามารถยื่นอุทธรณ์ได้ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2537 อันเป็นวันครบกำหนดที่ได้ขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์ออกไป ต่อมาโจทก์ยื่นคำร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์อีกครั้งศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตให้ขยายระยะเวลาอุทธรณ์ออกไปอีก 10 วัน นับแต่วันครบกำหนด โดยมิได้กำหนดวันเริ่มต้นแห่งระยะเวลาที่ขยายออกไป กรณีดังกล่าวนี้จึงต้องนับกำหนดระยะเวลาเดิมกับระยะเวลาที่ขยายออกไปติดต่อกันซึ่งจะครบกำหนดขยายระยะเวลาที่โจทก์มีสิทธิยื่นอุทธรณ์ได้ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์2537 เมื่อโจทก์ยื่นอุทธรณ์ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2537 ภายในระยะเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนด ศาลต้องรับอุทธรณ์โจทก์ไว้พิจารณา

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1797/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การปิดกั้นทางเข้าออกและการฟ้องร้อง: การกระทำที่ไม่เป็นการละเมิด
การที่โจทก์ทำประตูเหล็กปิดกั้นถนนพิพาท ไม่ยอมให้จำเลยเข้าออก เว้นแต่จะยอมเสียค่าตอบแทนแก่โจทก์ ย่อมทำให้จำเลยเชื่อโดยสุจริตว่าถูกโจทก์โต้แย้งสิทธิ ดังนั้นที่จำเลยได้ยื่นฟ้องโจทก์ต่อศาลชั้นต้นขอให้เปิดถนนพิพาทและในระหว่างพิจารณาได้ยื่นคำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษา จึงเป็นการใช้สิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ แม้ต่อมาศาลฎีกาพิพากษายกฟ้อง แต่ทางนำสืบของโจทก์ไม่ปรากฏว่า ศาลชั้นต้นมีคำสั่งโดยมีความเห็นหลงไปว่า การมีคำสั่งเช่นนั้นมีเหตุผลอันสมควรโดยความผิดหรือเลินเล่อของจำเลย ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 263 (1)การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์ โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนจากจำเลย
เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า จำเลยมิได้ทำละเมิดต่อโจทก์ แม้ข้อเท็จจริงจะฟังได้ว่า ถนนพิพาทเป็นของโจทก์และมิได้ตกอยู่ในภาระจำยอมดังที่โจทก์อ้าง ก็ไม่อาจทำให้ผลของคำพิพากษาเปลี่ยนแปลงไป ที่ศาลชั้นต้นไม่วินิจฉัยประเด็นข้อพิพาทดังกล่าวจึงชอบแล้ว
of 45