พบผลลัพธ์ทั้งหมด 897 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7079/2540 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขคำฟ้อง, ตัวแทน, การขายฝาก, และค่าขึ้นศาล: ผลกระทบต่อการพิจารณาคดี
วัตถุประสงค์ของ ป.วิ.พ.มาตรา 179 ที่ให้โจทก์หรือจำเลยจะแก้ไขข้อหา ข้อต่อสู้ ข้ออ้าง หรือข้อเถียง อันกล่าวไว้ในคำฟ้องหรือคำให้การที่เสนอต่อศาลแต่แรกได้นั้น ก็เพื่อให้โอกาสแก่โจทก์หรือจำเลยแก้ไขข้อบกพร่องผิดพลาดที่มีอยู่ในคำฟ้องหรือคำให้การเพื่อให้มีความสมบูรณ์ คำฟ้องของโจทก์คดีนี้ แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์และคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นแล้ว เป็นคำฟ้องที่บริบูรณ์ คำฟ้องของโจทก์เมื่ออ่านแล้วก็สามารถเข้าใจในคำฟ้องได้ดีอยู่แล้ว แม้ศาลชั้นต้นจะมีคำสั่งอนุญาตให้โจทก์แก้ฟ้องที่เป็นเพียงรายละเอียดได้หรือไม่ ก็ไม่ทำให้ข้อเท็จจริงหรือในที่สุดผลของคดีจะเปลี่ยนแปลงไปการที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่อนุญาตให้โจทก์แก้ไขคำฟ้องและให้ยกคำร้องเสียนั้นชอบแล้ว
จำเลยที่ 1 มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินแทนในส่วนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ครึ่งหนึ่ง จำเลยที่ 1 จึงมีฐานะเป็นตัวแทนของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับที่ดินของโจทก์ และโจทก์อยู่ในฐานะเป็นตัวการซึ่งมิได้เปิดเผยชื่อ การที่จำเลยที่ 1 นำที่ดินไปขายฝากแก่สามีจำเลยที่ 2 ก็ต้องถือว่าโจทก์ยอมให้จำเลยที่ 1 ทำการออกหน้าเป็นตัวการในการขายฝาก โจทก์จึงหาอาจจะทำให้เสื่อมเสียถึงสิทธิของสามีจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกอันเขามีต่อจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นตัวแทน และสามีจำเลยที่ 2 ขวนขวายได้มาแต่ก่อนที่จะรู้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไม่ ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 806 การขายฝากที่จำเลยที่ 1 ทำไว้แก่สามีจำเลยที่ 2 จึงมีผลผูกพันกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนของโจทก์ด้วย
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการขายฝากที่ดินพิพาท เป็นการฟ้องร้องให้ได้ทรัพย์พิพาทคืนมาเป็นของโจทก์เป็นคดีมีทุนทรัพย์ แต่เมื่อศาลชั้นต้นสั่งว่า คดีพอวินิจฉัยได้ จึงงดสืบพยานแล้วพิพากษาไปโดยข้อกฎหมาย เป็นการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อกฎหมายซึ่งทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่องตาม ป.วิ.พ.มาตรา 24 การที่โจทก์อุทธรณ์คำพิพากษาโดยขอให้ศาลชั้นต้นรับคำร้องขอแก้ไขคำฟ้องและสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไป จึงเป็นการอุทธรณ์ตามมาตรา 227 ซึ่งตาราง 1 ข้อ 2 ข. ท้าย ป.วิ.พ.กำหนดให้เสียค่าขึ้นศาลเพียง 200 บาทแต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์อย่างคดีมีทุนทรัพย์จำนวน 200,000 บาท จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่โจทก์ และแม้ศาลอุทธรณ์พิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาใหม่ และจำเลยที่ 2 ฎีกาขอให้ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 และให้บังคับคดีไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง ก็เห็นได้ว่าเป็นคำขอให้จำเลยที่ 2 ชนะคดีในประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ดังข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นอันเป็นข้อกฎหมายนั่นเอง จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
จำเลยที่ 1 มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินแทนในส่วนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ครึ่งหนึ่ง จำเลยที่ 1 จึงมีฐานะเป็นตัวแทนของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับที่ดินของโจทก์ และโจทก์อยู่ในฐานะเป็นตัวการซึ่งมิได้เปิดเผยชื่อ การที่จำเลยที่ 1 นำที่ดินไปขายฝากแก่สามีจำเลยที่ 2 ก็ต้องถือว่าโจทก์ยอมให้จำเลยที่ 1 ทำการออกหน้าเป็นตัวการในการขายฝาก โจทก์จึงหาอาจจะทำให้เสื่อมเสียถึงสิทธิของสามีจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกอันเขามีต่อจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นตัวแทน และสามีจำเลยที่ 2 ขวนขวายได้มาแต่ก่อนที่จะรู้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไม่ ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 806 การขายฝากที่จำเลยที่ 1 ทำไว้แก่สามีจำเลยที่ 2 จึงมีผลผูกพันกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนของโจทก์ด้วย
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการขายฝากที่ดินพิพาท เป็นการฟ้องร้องให้ได้ทรัพย์พิพาทคืนมาเป็นของโจทก์เป็นคดีมีทุนทรัพย์ แต่เมื่อศาลชั้นต้นสั่งว่า คดีพอวินิจฉัยได้ จึงงดสืบพยานแล้วพิพากษาไปโดยข้อกฎหมาย เป็นการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อกฎหมายซึ่งทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่องตาม ป.วิ.พ.มาตรา 24 การที่โจทก์อุทธรณ์คำพิพากษาโดยขอให้ศาลชั้นต้นรับคำร้องขอแก้ไขคำฟ้องและสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไป จึงเป็นการอุทธรณ์ตามมาตรา 227 ซึ่งตาราง 1 ข้อ 2 ข. ท้าย ป.วิ.พ.กำหนดให้เสียค่าขึ้นศาลเพียง 200 บาทแต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์อย่างคดีมีทุนทรัพย์จำนวน 200,000 บาท จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่โจทก์ และแม้ศาลอุทธรณ์พิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาใหม่ และจำเลยที่ 2 ฎีกาขอให้ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 และให้บังคับคดีไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง ก็เห็นได้ว่าเป็นคำขอให้จำเลยที่ 2 ชนะคดีในประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ดังข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นอันเป็นข้อกฎหมายนั่นเอง จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7079/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขายฝากที่ดินโดยตัวแทนที่ไม่เปิดเผยชื่อ ผลผูกพันต่อโจทก์และค่าขึ้นศาล
การที่จำเลยที่ 1 มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินเป็นการมีชื่อแทนในส่วนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ครึ่งหนึ่ง จำเลยที่ 1 จึงมีฐานะเป็นตัวแทนของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับที่ดินของโจทก์ และโจทก์อยู่ในฐานะเป็นตัวการซึ่งมิได้เปิดเผยชื่อ เมื่อจำเลยที่ 1 ซึ่งมีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในโฉนดนำที่ดินไปขายฝากแก่สามีจำเลยที่ 2 ก็ต้องถือว่าโจทก์ยอมให้จำเลยที่ 1 ทำการออกหน้าเป็นตัวการในการขายฝาก โจทก์หาอาจจะทำให้เสื่อมเสียถึงสิทธิของสามีจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกอันเขามีต่อจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นตัวแทนและสามีจำเลยที่ 2 ขวนขวายได้มาแต่ก่อนที่จะรู้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไม่ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 806 การขายฝากที่จำเลยที่ 1 ทำไว้แก่สามีจำเลยที่ 2 จึงมีผลผูกพันกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนของโจทก์ด้วย
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการขายฝากที่ดินพิพาท เป็นการฟ้องร้องให้ได้ทรัพย์พิพาทคืนมาเป็นของโจทก์เป็นคดีมีทุนทรัพย์ แต่เมื่อศาลชั้นต้นสั่งว่า คดีพอวินิจฉัยได้จึงงดสืบพยานแล้วพิพากษาคดีไปโดยข้อกฎหมายนั้น เป็นการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อกฎหมายซึ่งทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 24 เมื่อโจทก์อุทธรณ์คำพิพากษาโดยขอให้ศาลชั้นต้นรับคำร้องขอแก้ไขคำฟ้องและสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไป จึงเป็นการอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 227 ซึ่งตาราง 1 ข้อ 2 ข. ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กำหนดให้เสียค่าขึ้นศาลเพียง 200 บาท แต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์อย่างคดีมีทุนทรัพย์จำนวน 200,000 บาท จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่โจทก์ และแม้ศาลอุทธรณ์ภาค 3 พิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาใหม่ และจำเลยที่ 2 ฎีกาขอให้ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 และให้บังคับคดีไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง เห็นได้ว่าเป็นคำขอให้จำเลยที่ 2 ชนะคดีในประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ดังข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นอันเป็นข้อกฎหมายนั่นเอง กรณีจึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการขายฝากที่ดินพิพาท เป็นการฟ้องร้องให้ได้ทรัพย์พิพาทคืนมาเป็นของโจทก์เป็นคดีมีทุนทรัพย์ แต่เมื่อศาลชั้นต้นสั่งว่า คดีพอวินิจฉัยได้จึงงดสืบพยานแล้วพิพากษาคดีไปโดยข้อกฎหมายนั้น เป็นการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อกฎหมายซึ่งทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 24 เมื่อโจทก์อุทธรณ์คำพิพากษาโดยขอให้ศาลชั้นต้นรับคำร้องขอแก้ไขคำฟ้องและสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไป จึงเป็นการอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 227 ซึ่งตาราง 1 ข้อ 2 ข. ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กำหนดให้เสียค่าขึ้นศาลเพียง 200 บาท แต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์อย่างคดีมีทุนทรัพย์จำนวน 200,000 บาท จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่โจทก์ และแม้ศาลอุทธรณ์ภาค 3 พิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาใหม่ และจำเลยที่ 2 ฎีกาขอให้ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 และให้บังคับคดีไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง เห็นได้ว่าเป็นคำขอให้จำเลยที่ 2 ชนะคดีในประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ดังข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นอันเป็นข้อกฎหมายนั่นเอง กรณีจึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7079/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขคำฟ้อง, ผลผูกพันจากการขายฝาก, และค่าขึ้นศาลในคดีแพ่ง
วัตถุประสงค์ของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 179 ที่ให้โจทก์หรือจำเลยจะแก้ไขข้อหา ข้อต่อสู้ ข้ออ้าง หรือข้อเถียง อันกล่าวไว้ในคำฟ้องหรือคำให้การที่เสนอต่อศาลแต่แรกได้นั้น ก็เพื่อให้โอกาสแก่โจทก์หรือจำเลยแก้ไขข้อบกพร่องผิดพลาดที่มีอยู่ในคำฟ้องหรือคำให้การเพื่อให้มีความสมบูรณ์ คำฟ้องของโจทก์คดีนี้แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์และคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นแล้ว เป็นคำฟ้องที่บริบูรณ์ คำฟ้องของโจทก์เมื่ออ่านแล้วก็สามารถเข้าใจในคำฟ้องได้ดีอยู่แล้ว แม้ศาลชั้นต้นจะมีคำสั่งอนุญาตให้โจทก์แก้ฟ้องที่เป็นเพียงรายละเอียดได้หรือไม่ ก็ไม่ทำให้ข้อเท็จจริงหรือในที่สุดผลของคดีจะเปลี่ยนแปลงไปการที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่อนุญาตให้โจทก์แก้ไขคำฟ้องและให้ยกคำร้องเสียนั้นชอบแล้ว
จำเลยที่ 1 มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินแทนในส่วนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ครึ่งหนึ่ง จำเลยที่ 1 จึงมีฐานะเป็นตัวแทนของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับที่ดินของโจทก์ และโจทก์อยู่ในฐานะเป็นตัวการซึ่งมิได้เปิดเผยชื่อ การที่จำเลยที่ 1 ทำที่ดินไปขายฝากแก่สามีจำเลยที่ 2 ก็ต้องถือว่าโจทก์ยอมให้จำเลยที่ 1 ทำการออกหน้าเป็นตัวการในการขายฝากโจทก์จึงหาอาจจะทำให้เสื่อมเสียถึงสิทธิของสามีจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกอันเขามีต่อจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นตัวแทน และสามีจำเลยที่ 2 ขวนขวายได้มาแต่ก่อนที่จะรู้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไม่ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 806 การขายฝากที่จำเลยที่ 1 ทำไว้แก่สามีจำเลยที่ 2 จึงมีผลผูกพันกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนของโจทก์ด้วย
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการขายฝากที่ดินพิพาท เป็นการฟ้องร้องให้ได้ทรัพย์พิพาทคืนมาเป็นของโจทก์เป็นคดีมีทุนทรัพย์ แต่เมื่อศาลชั้นต้นสั่งว่า คดีพอวินิจฉัยได้จึงงดสืบพยานแล้วพิพากษาไปโดยข้อกฎหมาย เป็นการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อกฎหมายซึ่งทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 24 การที่โจทก์อุทธรณ์คำพิพากษาโดยขอให้ศาลชั้นต้นรับคำร้องขอแก้ไขคำฟ้องและสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไป จึงเป็นการอุทธรณ์ตามมาตรา 227 ซึ่งตาราง 1 ข้อ 2 ข.ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กำหนดให้เสียค่าขึ้นศาลเพียง 200 บาท แต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์อย่างคดีมีทุนทรัพย์จำนวน 200,000 บาท จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่โจทก์ และแม้ศาลอุทธรณ์พิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาใหม่ และจำเลยที่ 2 ฎีกาขอให้ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 และให้บังคับคดีไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง ก็เห็นได้ว่าเป็นคำขอให้จำเลยที่ 2 ชนะคดีในประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ดังข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นอันเป็นข้อกฎหมายนั่นเอง จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
จำเลยที่ 1 มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินแทนในส่วนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ครึ่งหนึ่ง จำเลยที่ 1 จึงมีฐานะเป็นตัวแทนของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับที่ดินของโจทก์ และโจทก์อยู่ในฐานะเป็นตัวการซึ่งมิได้เปิดเผยชื่อ การที่จำเลยที่ 1 ทำที่ดินไปขายฝากแก่สามีจำเลยที่ 2 ก็ต้องถือว่าโจทก์ยอมให้จำเลยที่ 1 ทำการออกหน้าเป็นตัวการในการขายฝากโจทก์จึงหาอาจจะทำให้เสื่อมเสียถึงสิทธิของสามีจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกอันเขามีต่อจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นตัวแทน และสามีจำเลยที่ 2 ขวนขวายได้มาแต่ก่อนที่จะรู้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไม่ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 806 การขายฝากที่จำเลยที่ 1 ทำไว้แก่สามีจำเลยที่ 2 จึงมีผลผูกพันกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนของโจทก์ด้วย
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการขายฝากที่ดินพิพาท เป็นการฟ้องร้องให้ได้ทรัพย์พิพาทคืนมาเป็นของโจทก์เป็นคดีมีทุนทรัพย์ แต่เมื่อศาลชั้นต้นสั่งว่า คดีพอวินิจฉัยได้จึงงดสืบพยานแล้วพิพากษาไปโดยข้อกฎหมาย เป็นการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อกฎหมายซึ่งทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 24 การที่โจทก์อุทธรณ์คำพิพากษาโดยขอให้ศาลชั้นต้นรับคำร้องขอแก้ไขคำฟ้องและสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไป จึงเป็นการอุทธรณ์ตามมาตรา 227 ซึ่งตาราง 1 ข้อ 2 ข.ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กำหนดให้เสียค่าขึ้นศาลเพียง 200 บาท แต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์อย่างคดีมีทุนทรัพย์จำนวน 200,000 บาท จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่โจทก์ และแม้ศาลอุทธรณ์พิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาใหม่ และจำเลยที่ 2 ฎีกาขอให้ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 และให้บังคับคดีไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง ก็เห็นได้ว่าเป็นคำขอให้จำเลยที่ 2 ชนะคดีในประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ดังข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นอันเป็นข้อกฎหมายนั่นเอง จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6822/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนับโทษกักขังต่อกันเมื่อศาลลงโทษกักขังแทนโทษจำคุก และประเด็นการอุทธรณ์เพื่อให้นับโทษต่อ
เมื่อศาลพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย แต่โทษจำคุกจำเลยไม่เกินสามเดือนจึงให้ลงโทษกักขังแทน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 23 และกำหนดวันเวลากักขังคงเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในคำพิพากษา ดังนั้นเมื่อโทษกักขังเป็นเพียงโทษที่ลงแทนโทษจำคุก ศาลจึงอาศัยอำนาจตามมาตรา 22 ให้นับโทษกักขังติดต่อกันได้
แม้โจทก์จะขอให้นับโทษต่อในคดีซึ่งมิได้อุทธรณ์ก็ตาม แต่การที่จะนับโทษต่อกันนั้นต้องพิจารณาจากคดีที่พิพากษาในภายหลังว่าจะนับโทษต่อได้หรือไม่ ดังนั้นคดีที่ต้องอุทธรณ์ฎีกาในปัญหาเรื่องการนับโทษต่อ จึงต้องเป็นคดีนี้ ซึ่งเป็นคดีที่พิพากษาในภายหลัง หาใช่อุทธรณ์ในคดีก่อนหรืออุทธรณ์พร้อมกันทั้งสองคดีไม่
แม้โจทก์จะขอให้นับโทษต่อในคดีซึ่งมิได้อุทธรณ์ก็ตาม แต่การที่จะนับโทษต่อกันนั้นต้องพิจารณาจากคดีที่พิพากษาในภายหลังว่าจะนับโทษต่อได้หรือไม่ ดังนั้นคดีที่ต้องอุทธรณ์ฎีกาในปัญหาเรื่องการนับโทษต่อ จึงต้องเป็นคดีนี้ ซึ่งเป็นคดีที่พิพากษาในภายหลัง หาใช่อุทธรณ์ในคดีก่อนหรืออุทธรณ์พร้อมกันทั้งสองคดีไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6822/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนับโทษกักขังต่อจากโทษจำคุกที่ศาลเปลี่ยนโทษ และประเด็นการอุทธรณ์เพื่อขอนับโทษต่อ
เมื่อศาลพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย แต่โทษจำคุกจำเลยไม่เกินสามเดือนจึงให้ลงโทษกักขังแทน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 23 และกำหนดวันเวลากักขังคงเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในคำพิพากษา ดังนั้นเมื่อโทษกักขังเป็นเพียงโทษที่ลงแทนโทษจำคุก ศาลจึงอาศัยอำนาจตามมาตรา 22 ให้นับโทษกักขังติดต่อกันได้
แม้โจทก์จะขอให้นับโทษต่อในคดีซึ่งมิได้อุทธรณ์ก็ตาม แต่การที่จะนับโทษต่อกันนั้นต้องพิจารณาจากคดีที่พิพากษาในภายหลังว่าจะนับโทษต่อได้หรือไม่ ดังนั้นคดีที่ต้องอุทธรณ์ฎีกาในปัญหาเรื่องการนับโทษต่อ จึงต้องเป็นคดีนี้ ซึ่งเป็นคดีที่พิพากษาในภายหลัง หาใช่อุทธรณ์ในคดีก่อนหรืออุทธรณ์พร้อมกันทั้งสองคดีไม่
แม้โจทก์จะขอให้นับโทษต่อในคดีซึ่งมิได้อุทธรณ์ก็ตาม แต่การที่จะนับโทษต่อกันนั้นต้องพิจารณาจากคดีที่พิพากษาในภายหลังว่าจะนับโทษต่อได้หรือไม่ ดังนั้นคดีที่ต้องอุทธรณ์ฎีกาในปัญหาเรื่องการนับโทษต่อ จึงต้องเป็นคดีนี้ ซึ่งเป็นคดีที่พิพากษาในภายหลัง หาใช่อุทธรณ์ในคดีก่อนหรืออุทธรณ์พร้อมกันทั้งสองคดีไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6822/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนับโทษกักขังแทนโทษจำคุก และคดีที่ต้องอุทธรณ์เพื่อพิจารณาการนับโทษต่อ
เมื่อศาลพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย แต่โทษจำคุกจำเลยไม่เกินสามเดือน จึงให้ลงโทษกักขังแทน ตาม ป.อ.มาตรา 23 และกำหนดวันเวลากักขังคงเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในคำพิพากษา ดังนั้นเมื่อโทษกักขังเป็นเพียงโทษที่ลงแทนโทษจำคุก ศาลจึงอาศัยอำนาจตามมาตรา 22 ให้นับโทษกักขังติดต่อกันได้
แม้โจทก์จะขอให้นับโทษต่อในคดีซึ่งมิได้อุทธรณ์ก็ตาม แต่การที่จะนับโทษต่อกันนั้นต้องพิจารณาจากคดีที่พิพากษาในภายหลังว่าจะนับโทษต่อได้หรือไม่ ดังนั้น คดีที่ต้องอุทธรณ์ฎีกาในปัญหาเรื่องการนับโทษต่อ จึงต้องเป็นคดีนี้ ซึ่งเป็นคดีที่พิพากษาในภายหลัง หาใช่อุทธรณ์ในคดีก่อนหรืออุทธรณ์พร้อมกันทั้งสองคดีไม่
แม้โจทก์จะขอให้นับโทษต่อในคดีซึ่งมิได้อุทธรณ์ก็ตาม แต่การที่จะนับโทษต่อกันนั้นต้องพิจารณาจากคดีที่พิพากษาในภายหลังว่าจะนับโทษต่อได้หรือไม่ ดังนั้น คดีที่ต้องอุทธรณ์ฎีกาในปัญหาเรื่องการนับโทษต่อ จึงต้องเป็นคดีนี้ ซึ่งเป็นคดีที่พิพากษาในภายหลัง หาใช่อุทธรณ์ในคดีก่อนหรืออุทธรณ์พร้อมกันทั้งสองคดีไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6690/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอายัดที่ดินหลังศาลฎีกาพิพากษาให้ระงับการแบ่งแยก และผลกระทบต่อผู้ซื้อที่ดินโดยสุจริต
ศาลฎีกามีคำพิพากษาถึงที่สุดให้โจทก์ระงับการนำรังวัดแบ่งแยกที่ดินพิพาทจนกว่าคดีที่โจทก์จำเลยถูกฟ้องจะถึงที่สุด โจทก์จึงไม่มีสิทธิที่จะนำรังวัดแบ่งแยกที่ดินพิพาทและนำไปโอนขายให้แก่ผู้ร้องมาแต่ต้น ผู้ร้องจะอ้างว่าโจทก์ได้ทำการรังวัดแบ่งแยกเสร็จเรียบร้อยแล้วและโอนขายให้แก่ผู้ร้องก่อนมีคำพิพากษาศาลฎีกาไม่ได้ คดีไม่เกี่ยวกับเรื่องคำพิพากษาผูกพันเฉพาะคู่ความโดยไม่ผูกพันผู้ร้องซึ่งเป็นบุคคลภายนอกหรือในฐานะผู้ซื้อซึ่งรับโอนโดยสุจริต จำเลยมีสิทธิขออายัดการทำนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินพิพาทได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6690/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอายัดที่ดินหลังศาลฎีกาพิพากษาให้ระงับการแบ่งแยก และสิทธิของผู้ซื้อที่ดินโดยสุจริต
ศาลฎีกามีคำพิพากษาถึงที่สุดให้โจทก์ระงับการนำรังวัดแบ่งแยกที่ดินพิพาทจนกว่าคดีที่โจทก์จำเลยถูกฟ้องจะถึงที่สุด โจทก์จึงไม่มีสิทธิที่จะนำรังวัดแบ่งแยกที่ดินพิพาทและนำไปโอนขายให้แก่ผู้ร้องมาแต่ต้น ผู้ร้องจะอ้างว่าโจทก์ได้ทำการรังวัดแบ่งแยกเสร็จเรียบร้อยแล้วและโอนขายให้แก่ผู้ร้องก่อนมีคำพิพากษาศาลฎีกาไม่ได้ คดีไม่เกี่ยวกับเรื่องคำพิพากษาผูกพันเฉพาะคู่ความโดยไม่ผูกพันผู้ร้องซึ่งเป็นบุคคลภายนอกหรือในฐานะผู้ซื้อซึ่งรับโอนโดยสุจริต จำเลยมีสิทธิขออายัดการทำนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินพิพาทได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6443/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงงานตามสัญญาจ้างและการตกลงเพิ่มเติม: จำเลยไม่ต้องรับผิดชอบค่าจ้างงานเพิ่มหากไม่ได้รับความยินยอม
คณะกรรมการตรวจการจ้างเป็นเพียงคณะบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งจากจำเลยผู้ว่าจ้างให้ทำหน้าที่แทนผู้ว่าจ้างตามระเบียบสำนักนายก-รัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2521 ตามคำสั่งจำเลยที่แต่งตั้งให้มีหน้าที่ตรวจการจ้างและควบคุมงาน ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามขั้นตอนของระเบียบตลอดจนควบคุมตรวจรับงานให้ถูกต้องตามสัญญาและรายละเอียดตามแบบแปลนคณะกรรมการตรวจการจ้างจึงไม่ใช่คู่สัญญากับโจทก์ และจำเลยก็มิได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจการจ้างตกลงหรือตัดสินใจแทนจำเลยในเรื่องที่เกี่ยวกับสัญญาจ้าง และการที่โจทก์สำรวจพบหินพืดและหินผุในสายทาง ซึ่งต้องระเบิดทิ้งและอยู่นอกเหนือจากแบบและรายการประมูล โจทก์จะต้องปฏิบัติตามสัญญาจ้างโดยตกลงเพิ่มเติมงานและคิดราคากับจำเลยใหม่ เมื่อโจทก์เพียงแต่สอบถามคณะกรรมการตรวจการจ้างถึงวิธีดำเนินการ แม้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาแล้วเห็นชอบด้วยกับวิธีการที่จะระเบิดหินและให้ดำเนินการไปได้แต่เมื่อลักษณะงานที่เพิ่มขึ้นเช่นนี้เป็นสาระสำคัญของสัญญาเพราะเกี่ยวข้องกับเงินค่าจ้างที่เปลี่ยนแปลงเป็นจำนวนมาก ซึ่งหากจะดำเนินงานต่อไปคู่สัญญาจำต้องทำความตกลงกันใหม่เสียก่อนตามเงื่อนไขของสัญญาจ้าง แต่โจทก์กลับทำข้ามขั้นตอน โดยจำเลยไม่ได้รู้เห็นหรือร่วมตกลงด้วยเพราะอุปสรรคที่พบและจำนวนค่าจ้างที่สูงขึ้นอาจมีผลทำให้ต้องยกเลิกการจ้างได้ โจทก์จึงไม่อาจนำมากล่าวอ้างเพื่อเรียกร้องเอาเงินเพิ่มได้ ดังนี้ เป็นความผิดพลาดบกพร่องของโจทก์แต่ฝ่ายเดียว จำเลยจึงไม่ต้องรับผิดชอบชำระค่าจ้างในส่วนงานที่เพิ่มแก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6443/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงงานสัญญาจ้างก่อสร้าง จำเลยต้องตกลงเพิ่มเติมงานและราคากับผู้รับเหมา การกระทำโดยไม่ได้รับความยินยอมของผู้ว่าจ้างถือเป็นความผิดของผู้รับเหมา
คณะกรรมการตรวจการจ้างเป็นเพียงคณะบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งจากจำเลยผู้ว่าจ้างให้ทำหน้าที่แทนผู้ว่าจ้างตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2521 ตามคำสั่งจำเลยที่แต่งตั้งให้มีหน้าที่ตรวจการจ้างและควบคุมงานปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามขั้นตอนของระเบียบตลอดจนควบคุมตรวจรับงานให้ถูกต้องตามสัญญาและรายละเอียดตามแบบแปลนคณะกรรมการตรวจการจ้างจึงไม่ใช่คู่สัญญากับโจทก์ และจำเลยก็มิได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจการจ้างตกลงหรือตัดสินใจแทนจำเลยในเรื่องที่เกี่ยวกับสัญญาจ้าง และการที่โจทก์สำรวจพบหินพืดและหินผุในสายทาง ซึ่งต้องระเบิดทิ้งและอยู่นอกเหนือจากแบบและรายการประมูล โจทก์จะต้อง ปฏิบัติตามสัญญาจ้างโดยตกลงเพิ่มเติมงานและคิดราคากับจำเลยใหม่เมื่อโจทก์เพียงแต่สอบถามคณะกรรมการตรวจการจ้างถึงวิธีดำเนินการ แม้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาแล้วเห็นชอบด้วยกับวิธีการที่จะระเบิดหินและให้ดำเนินการไปได้แต่เมื่อลักษณะงานที่เพิ่มขึ้นเช่นนี้เป็นสาระสำคัญของสัญญาเพราะเกี่ยวข้องกับเงินค่าจ้างที่เปลี่ยนแปลงเป็นจำนวนมากซึ่งหากจะดำเนินงานต่อไปคู่สัญญาจำต้องทำความตกลงกันใหม่เสียก่อนตามเงื่อนไขของสัญญาจ้าง แต่โจทก์กลับทำข้ามขั้นตอนโดยจำเลยไม่ได้รู้เห็นหรือร่วมตกลงด้วยเพราะอุปสรรคที่พบและจำนวนค่าจ้างที่สูงขึ้นอาจมีผลทำให้ต้องยกเลิกการจ้างได้ โจทก์จึงไม่อาจนำมากล่าวอ้างเพื่อเรียกร้องเอาเงินเพิ่มได้ ดังนี้ เป็นความผิดพลาดบกพร่องของโจทก์แต่ฝ่ายเดียว จำเลยจึงไม่ต้องรับผิดชอบชำระค่าจ้างในส่วนงานที่เพิ่มแก่โจทก์