พบผลลัพธ์ทั้งหมด 499 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2683/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้ามในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อศาลอุทธรณ์แก้โทษจำคุกและเรื่องสินบนนำจับตาม พ.ร.บ.ป่าไม้
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกในความผิดฐานมีไม้ไว้ในความครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต และฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานโดยลงโทษจำคุกจำเลยแต่ละกระทงไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้เป็นให้ลงโทษจำคุกสถานเดียวโดยไม่ปรับและไม่รอการลงโทษ ก็เป็นกรณีที่ศาลอุทธรณ์ยังคงลงโทษจำเลยให้จำคุกแต่ละกระทงไม่เกินหนึ่งปีจึงเป็นคดีที่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219 จำเลยฎีกาขอให้รอการลงโทษ เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงจึงต้องห้าม ในกรณีที่มีคำขอให้จ่ายเงินสินบนนำจับแก่ผู้นำจับตามพระราชบัญญัติ ป่าไม้ พ.ศ. 2484 มาตรา 74 จัตวา ศาลจะพิพากษาให้จ่ายเงินสินบนนำจับแก่ผู้นำจับได้ก็ต่อเมื่อมีการลงโทษปรับจำเลยด้วย เพราะจำนวนเงินค่าปรับจะต้องนำมาเป็นเกณฑ์ในการคำนวณว่าจะต้องจ่ายเงินสินบนนำจับแก่ผู้นำจับเป็นจำนวนเท่าใด เมื่อความผิดตามพระราชบัญญัติป่าไม้ศาลพิพากษาลงโทษจำคุกแต่อย่างเดียวโดยไม่ลงโทษปรับก็ต้องยกคำขอที่ให้จ่ายเงินสินบนนำจับแก่ผู้นำจับด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2683/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้าม, การรอการลงโทษ, เงินสินบนนำจับ: ข้อจำกัดการฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงและหลักเกณฑ์การจ่ายสินบน
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกในความผิดฐานมีไม้ไว้ในความครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต และฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานโดยลงโทษจำคุกจำเลยแต่ละกระทงไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทแม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้เป็นให้ลงโทษจำคุกสถานเดียวโดยไม่ปรับและไม่รอการลงโทษ ก็เป็นกรณีที่ศาลอุทธรณ์ยังคงลงโทษจำเลยให้จำคุกแต่ละกระทงไม่เกินหนึ่งปี จึงเป็นคดีที่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 219 จำเลยฎีกาขอให้รอการลงโทษ เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงจึงต้องห้าม
ในกรณีที่มีคำขอให้จ่ายเงินสินบนนำจับแก่ผู้นำจับตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2483 มาตรา 74 จัตวา ศาลจะพิพากษาให้จ่ายเงินสินบนนำจับแก่ผู้นำจับได้ก็ต่อเมื่อมีการลงโทษปรับจำเลยด้วย เพราะจำนวนเงินค่าปรับจะต้องนำมาเป็นเกณฑ์ในการคำนวณว่าจะต้องจ่ายเงินสินบนนำจับแก่ผู้นำจับเป็นจำนวนเท่าใด เมื่อความผิดตามพระราชบัญญัติป่าไม้ศาลพิพากษาลงโทษจำคุกแต่อย่างเดียวโดยไม่ลงโทษปรับ ก็ต้องยกคำขอที่ให้จ่ายเงินสินบนนำจับแก่ผู้นำจับด้วย
ในกรณีที่มีคำขอให้จ่ายเงินสินบนนำจับแก่ผู้นำจับตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2483 มาตรา 74 จัตวา ศาลจะพิพากษาให้จ่ายเงินสินบนนำจับแก่ผู้นำจับได้ก็ต่อเมื่อมีการลงโทษปรับจำเลยด้วย เพราะจำนวนเงินค่าปรับจะต้องนำมาเป็นเกณฑ์ในการคำนวณว่าจะต้องจ่ายเงินสินบนนำจับแก่ผู้นำจับเป็นจำนวนเท่าใด เมื่อความผิดตามพระราชบัญญัติป่าไม้ศาลพิพากษาลงโทษจำคุกแต่อย่างเดียวโดยไม่ลงโทษปรับ ก็ต้องยกคำขอที่ให้จ่ายเงินสินบนนำจับแก่ผู้นำจับด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2489/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้ามตามมาตรา 219: การโต้แย้งดุลพินิจศาลอุทธรณ์เรื่องการรอการลงโทษและคุมความประพฤติ
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำเลยรวม 2 กระทง โดยเรียงกระทงลงโทษจำคุกกระทงละ 1 ปี และปรับกระทงละ 10,000 บาท รอการลงโทษไว้กระทงละ 2 ปี และให้คุมความประพฤติจำเลยมีกำหนด 1 ปี โดยให้จำเลยไปรายงานตัวทุก 3 เดือน ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าไม่รอการลงโทษ ไม่ปรับ และไม่คุมความประพฤติจำเลย ดังนี้เท่ากับศาลอุทธรณ์ยังคงพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินกระทงละ 1 ปีหรือปรับไม่เกินกระทงละ 10,000 บาท ที่จำเลยฎีกาขอให้รอการลงโทษและคุมความประพฤติจำเลย ซึ่งเป็นการโต้แย้งดุลพินิจในการกำหนดโทษของศาลอุทธรณ์อันเป็นปัญหาข้อเท็จจริง จึงต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2489/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้าม เนื่องจากเป็นการโต้แย้งดุลพินิจศาลอุทธรณ์ในการกำหนดโทษคดีเกี่ยวกับยาเสพติด
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำเลยรวม 2 กระทง โดยเรียงกระทงลงโทษจำคุกกระทงละ 1 ปี และปรับกระทงละ 10,000 บาท รอการลงโทษไว้กระทงละ 2 ปี และให้คุมความประพฤติจำเลยมีกำหนด 1 ปี โดยให้จำเลยไปรายงานตัวทุก 3 เดือน ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าไม่รอการลงโทษ ไม่ปรับ และไม่คุมความประพฤติจำเลย ดังนี้ เท่ากับศาลอุทธรณ์ยังคงพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินกระทงละ 1 ปีหรือปรับไม่เกินกระทงละ 10,000 บาท ที่จำเลยฎีกาขอให้รอการลงโทษ และคุมความประพฤติจำเลย ซึ่งเป็นการโต้แย้งดุลพินิจในการกำหนดโทษของศาลอุทธรณ์ อันเป็นปัญหาข้อเท็จจริง จึงต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1247/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้าม: โทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ศาลอุทธรณ์แก้บทแก้ไขโทษ ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงจึงไม่รับ
การที่ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดฐานเป็นตัวการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 จำคุก 1 ปี และศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าจำเลยมีความผิดฐานช่วยเหลือให้ความสะดวกแก่ผู้อื่นกระทำความผิดฉ้อโกงตามมาตรา 341,86 จำคุก 8 เดือน นั้น แม้จะเป็นการแก้ทั้งบทและโทษ แต่ศาลอุทธรณ์ก็คงพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 1 ปี จึงต้องห้ามมิให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1247/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการฎีกาในคดีอาญา: ศาลอุทธรณ์แก้บทและโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ทำให้ไม่สามารถฎีกาข้อเท็จจริงได้
การที่ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดฐานเป็นตัวการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 จำคุก 1 ปี และศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าจำเลยมีความผิดฐานช่วยเหลือให้ความสะดวกแก่ผู้อื่นกระทำความผิดฉ้อโกงตามมาตรา 341,86 จำคุก 8 เดือน นั้น แม้จะเป็นการแก้ทั้งบทและโทษ แต่ศาลอุทธรณ์ก็คงพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 1 ปี จึงต้องห้ามมิให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1247/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงบทและโทษจากตัวการเป็นผู้ช่วยเหลือในคดีฉ้อโกง ทำให้จำเลยต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
การที่ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดฐานเป็นตัวการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 จำคุก 1 ปี และศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าจำเลยมีความผิดฐานช่วยเหลือให้ความสะดวกแก่ผู้อื่นกระทำความผิดฉ้อโกงตามมาตรา 341, 86 จำคุก 8 เดือน นั้น แม้จะเป็นการแก้ทั้งบทและโทษ แต่ศาลอุทธรณ์ก็คงพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 1 ปี จึงต้องห้ามมิให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1828/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันตัวเกินสมควรแก่เหตุ แม้ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษ แต่คดีต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297 จำคุก 1 ปี ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าการกระทำของจำเลยทั้งสองเป็นการป้องกันตัวเกินสมควรแก่เหตุตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 69 ลงโทษจำคุก 4 เดือน ดังนี้คดีจึงต้องห้ามมิให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
ศาลอุทธรณ์ฟังว่าจำเลยที่ 1 ใช้แป๊บน้ำตีโจทก์ร่วมที่ 1 เพราะโจทก์ร่วมที่ 1 ก่อเหตุจะทำร้ายจำเลยที่ 1 ก่อนและจำเลยที่ 2 เข้าช่วยเหลือจำเลยที่ 1 การกระทำของจำเลยทั้งสองเป็นการป้องกันตัวแต่เกินสมควรแก่เหตุการที่โจทก์ฎีกาว่าการกระทำของจำเลยทั้งสองไม่เป็นการป้องกันตัว เพราะข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยที่ 1 เป็นฝ่ายก่อเหตุขึ้นก่อนโดยใช้แป๊บน้ำตีโจทก์ร่วมที่ 1ขณะโจทก์ร่วมที่ 1 เข็นรถเข็นออกจากประตูร้านโดยมิได้รู้ตัว ขณะโจทก์ร่วมที่ 1 เข้ายื้อแย่งแป๊บน้ำจากจำเลยที่ 1จำเลยที่ 2 ก็เข้ามาชกต่อยโจทก์ร่วมที่ 1 นั้นเป็นฎีกาโต้เถียงข้อเท็จจริงซึ่งศาลอุทธรณ์รับฟังมา ฎีกาของโจทก์จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงต้องห้ามตามบทบัญญัติดังกล่าว
การที่จะเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา68 นั้นต้องมีองค์ประกอบข้อสุดท้ายว่าได้กระทำพอสมควรแก่เหตุด้วย
ศาลอุทธรณ์ฟังว่าจำเลยที่ 1 ใช้แป๊บน้ำตีโจทก์ร่วมที่ 1 เพราะโจทก์ร่วมที่ 1 ก่อเหตุจะทำร้ายจำเลยที่ 1 ก่อนและจำเลยที่ 2 เข้าช่วยเหลือจำเลยที่ 1 การกระทำของจำเลยทั้งสองเป็นการป้องกันตัวแต่เกินสมควรแก่เหตุการที่โจทก์ฎีกาว่าการกระทำของจำเลยทั้งสองไม่เป็นการป้องกันตัว เพราะข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยที่ 1 เป็นฝ่ายก่อเหตุขึ้นก่อนโดยใช้แป๊บน้ำตีโจทก์ร่วมที่ 1ขณะโจทก์ร่วมที่ 1 เข็นรถเข็นออกจากประตูร้านโดยมิได้รู้ตัว ขณะโจทก์ร่วมที่ 1 เข้ายื้อแย่งแป๊บน้ำจากจำเลยที่ 1จำเลยที่ 2 ก็เข้ามาชกต่อยโจทก์ร่วมที่ 1 นั้นเป็นฎีกาโต้เถียงข้อเท็จจริงซึ่งศาลอุทธรณ์รับฟังมา ฎีกาของโจทก์จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงต้องห้ามตามบทบัญญัติดังกล่าว
การที่จะเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา68 นั้นต้องมีองค์ประกอบข้อสุดท้ายว่าได้กระทำพอสมควรแก่เหตุด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1828/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันตัวเกินสมควรแก่เหตุและการห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์รับฟังแล้ว
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297 จำคุก 1 ปี ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าการกระทำของจำเลยทั้งสองเป็นการป้องกันตัวเกินสมควรแก่เหตุตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 69 ลงโทษจำคุก 4 เดือนดังนี้คดีจึงต้องห้ามมิให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
ศาลอุทธรณ์ฟังว่าจำเลยที่ 1 ใช้แป๊บน้ำตีโจทก์ร่วมที่ 1 เพราะโจทก์ร่วมที่ 1 ก่อเหตุจะทำร้ายจำเลยที่ 1 ก่อนและจำเลยที่ 2เข้าช่วยเหลือจำเลยที่ 1 การกระทำของจำเลยทั้งสองเป็นการป้องกันตัวแต่เกินสมควรแก่เหตุการที่โจทก์ฎีกาว่าการกระทำของจำเลยทั้งสองไม่เป็นการป้องกันตัวเพราะข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยที่ 1 เป็นฝ่ายก่อเหตุขึ้นก่อนโดยใช้แป๊บน้ำตีโจทก์ร่วมที่ 1 ขณะโจทก์ร่วมที่ 1 เข็นรถเข็นออกจากประตูร้านโดยมิได้รู้ตัว ขณะโจทก์ร่วมที่ 1 เข้ายื้อแย่งแป๊บน้ำจากจำเลยที่ 1จำเลยที่ 2 ก็เข้ามาชกต่อยโจทก์ร่วมที่ 1 นั้นเป็นฎีกาโต้เถียงข้อเท็จจริงซึ่งศาลอุทธรณ์รับฟังมา ฎีกาของโจทก์จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงต้องห้ามตามบทบัญญัติดังกล่าว
การที่จะเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา68 นั้นต้องมีองค์ประกอบข้อสุดท้ายว่าได้กระทำพอสมควรแก่เหตุด้วย
ศาลอุทธรณ์ฟังว่าจำเลยที่ 1 ใช้แป๊บน้ำตีโจทก์ร่วมที่ 1 เพราะโจทก์ร่วมที่ 1 ก่อเหตุจะทำร้ายจำเลยที่ 1 ก่อนและจำเลยที่ 2เข้าช่วยเหลือจำเลยที่ 1 การกระทำของจำเลยทั้งสองเป็นการป้องกันตัวแต่เกินสมควรแก่เหตุการที่โจทก์ฎีกาว่าการกระทำของจำเลยทั้งสองไม่เป็นการป้องกันตัวเพราะข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยที่ 1 เป็นฝ่ายก่อเหตุขึ้นก่อนโดยใช้แป๊บน้ำตีโจทก์ร่วมที่ 1 ขณะโจทก์ร่วมที่ 1 เข็นรถเข็นออกจากประตูร้านโดยมิได้รู้ตัว ขณะโจทก์ร่วมที่ 1 เข้ายื้อแย่งแป๊บน้ำจากจำเลยที่ 1จำเลยที่ 2 ก็เข้ามาชกต่อยโจทก์ร่วมที่ 1 นั้นเป็นฎีกาโต้เถียงข้อเท็จจริงซึ่งศาลอุทธรณ์รับฟังมา ฎีกาของโจทก์จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงต้องห้ามตามบทบัญญัติดังกล่าว
การที่จะเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา68 นั้นต้องมีองค์ประกอบข้อสุดท้ายว่าได้กระทำพอสมควรแก่เหตุด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1706/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฎีกาในคดีอาญาที่ศาลอุทธรณ์แก้ไขโทษจากปรับเป็นจำคุก ทำให้จำเลยต้องห้ามฎีกาในประเด็นข้อเท็จจริง
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำเลยฐานมีเครื่องกระสุนปืนซึ่งนายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้ไว้ในความครอบครอง ปรับ 2,400 บาท ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นให้จำคุกจำเลย 1 ปีสถานเดียว จึงต้องห้ามมิให้จำเลยฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยบังอาจมีกระสุนปืนเล็กกลจำนวน 23 นัดอันเป็นเครื่องกระสุนปืนนอกจากที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงฉบับที่ 11 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาวุธปืน ฯ พ.ศ. 2490 ซึ่งนายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้ไว้ในความครอบครองของจำเลย จำเลยให้การรับสารภาพ ดังนี้ ข้อเท็จจริงจึงฟังได้ดังฟ้องโจทก์จำเลยจะฎีกาโต้เถียงว่าไม่มีเจตนาครอบครองกระสุนปืนเล็กกลของกลางดังกล่าวหาได้ไม่ เพราะเป็นการโต้เถียงข้อเท็จจริงที่จำเลยให้การรับสารภาพแล้ว
ฎีกาขอให้ศาลรอการลงโทษให้แก่จำเลยนั้น เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง.
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยบังอาจมีกระสุนปืนเล็กกลจำนวน 23 นัดอันเป็นเครื่องกระสุนปืนนอกจากที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงฉบับที่ 11 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาวุธปืน ฯ พ.ศ. 2490 ซึ่งนายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้ไว้ในความครอบครองของจำเลย จำเลยให้การรับสารภาพ ดังนี้ ข้อเท็จจริงจึงฟังได้ดังฟ้องโจทก์จำเลยจะฎีกาโต้เถียงว่าไม่มีเจตนาครอบครองกระสุนปืนเล็กกลของกลางดังกล่าวหาได้ไม่ เพราะเป็นการโต้เถียงข้อเท็จจริงที่จำเลยให้การรับสารภาพแล้ว
ฎีกาขอให้ศาลรอการลงโทษให้แก่จำเลยนั้น เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง.