พบผลลัพธ์ทั้งหมด 6 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4147/2541
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลทหาร: คดีความผิดร่วมระหว่างทหารและพลเรือน ศาลพลเรือนยังมีอำนาจพิจารณาได้ตามเงื่อนไข
กรณีที่ทหารกับพลเรือนกระทำผิดด้วยกันเป็นคดีที่บุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารกับบุคคลที่มิได้อยู่ในอำนาจศาลทหารกระทำผิดด้วยกัน ย่อมไม่อยู่ในอำนาจศาลทหารตามพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. 2498 มาตรา 14(1) จึงต้องดำเนินคดีในศาลพลเรือนตามมาตรา 15 วรรคหนึ่ง โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยกระทำความผิดร่วมกับพวกอีก 3 คน ซึ่งเป็นพลเรือน และขณะฟ้องคดีนี้ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าพวกของจำเลยเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารอันจะ ทำให้คดีอยู่ในอำนาจศาลทหาร ดังนี้ เมื่อศาลชั้นต้นซึ่งเป็นศาลพลเรือนสั่งประทับฟ้องไว้แล้ว ถึงแม้จะปรากฏตามทางพิจารณาในภายหลังว่าเป็นคดีอยู่ในอำนาจศาลทหารก็ตามศาลชั้นต้นก็มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีได้ตามพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. 2498 มาตรา 15 วรรคสอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4147/2541 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลทหาร: คดีความผิดร่วมทหาร-พลเรือน ไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร หากมีผู้กระทำผิดเป็นพลเรือน
กรณีที่ทหารกับพลเรือนกระทำผิดด้วยกันเป็นคดีที่บุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารกับบุคคลที่มิได้อยู่ในอำนาจศาลทหารกระทำผิดด้วยกัน ย่อมไม่อยู่ในอำนาจศาลทหารตาม พ.ร.บ.ธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ.2498 มาตรา 14 (1)จึงต้องดำเนินคดีในศาลพลเรือนตามมาตรา 15 วรรคหนึ่ง
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยกระทำความผิดร่วมกับพวกอีก3 คน ซึ่งเป็นพลเรือน และขณะฟ้องคดีนี้ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าพวกของจำเลยเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารอันจะทำให้คดีอยู่ในอำนาจศาลทหาร ดังนี้ เมื่อศาลชั้นต้นซึ่งเป็นศาลพลเรือนสั่งประทับฟ้องไว้แล้ว ถึงแม้จะปรากฏตามทางพิจารณาในภายหลังว่าเป็นคดีอยู่ในอำนาจศาลทหารก็ตาม ศาลชั้นต้นก็มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีได้ตาม พ.ร.บ.ธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ.2498 มาตรา 15 วรรคสอง
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยกระทำความผิดร่วมกับพวกอีก3 คน ซึ่งเป็นพลเรือน และขณะฟ้องคดีนี้ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าพวกของจำเลยเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารอันจะทำให้คดีอยู่ในอำนาจศาลทหาร ดังนี้ เมื่อศาลชั้นต้นซึ่งเป็นศาลพลเรือนสั่งประทับฟ้องไว้แล้ว ถึงแม้จะปรากฏตามทางพิจารณาในภายหลังว่าเป็นคดีอยู่ในอำนาจศาลทหารก็ตาม ศาลชั้นต้นก็มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีได้ตาม พ.ร.บ.ธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ.2498 มาตรา 15 วรรคสอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 191/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลักทรัพย์โดยใช้ยานพาหนะเพื่อหลบหนี ศาลฎีกาชี้ขาดความผิดฐานลักทรัพย์ ไม่ใช่วิ่งราวทรัพย์
การที่จำเลยขออนุญาตเอาพระพุทธรูปบูชาของผู้เสียหายลงไปดูกลางแสงแดดที่พื้นดินหน้าบ้านแล้วอุ้มพระพุทธรูปวิ่งหนีไปขึ้นรถยนต์ปิกอัพซึ่งพวกของจำเลยจอดรออยู่โดยมีการวางแผนเตรียมการมาก่อนแล้วหลบหนีไปกับรถยนต์คันดังกล่าวไม่เป็นความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์เพราะไม่ได้ฉกฉวยเอาซึ่งหน้าคงเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา335(7)วรรคแรกประกอบด้วยมาตรา336ทวิความผิดฐานลักทรัพย์เป็นส่วนหนึ่งของความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ศาลจึงมีอำนาจลงโทษจำเลยในความผิดฐานดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา192วรรคท้าย จำเลยซึ่งเป็นทหารร่วมกับพวกกระทำความผิดฐานลักทรัพย์แต่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าพวกของจำเลยเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารหรือไม่โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องจำเลยต่อศาลชั้นต้นซึ่งเป็นศาลพลเรือนตามมาตรา14(1)และมาตรา15วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติ ธรรมนูญศาลทหารพ.ศ.2484
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 191/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลักทรัพย์โดยใช้ยานพาหนะ เตรียมการก่อนหลบหนี แม้ไม่ฉกฉวยเฉพาะหน้า ศาลลงโทษฐานลักทรัพย์ได้
การที่จำเลยขออนุญาตเอาพระพุทธรูปบูชาของผู้เสียหายลงไปดูกลางแสงแดดที่พื้นดินหน้าบ้าน แล้วอุ้มพระพุทธรูปวิ่งหนีไปขึ้นรถยนต์ปิกอัพซึ่งพวกของจำเลยจอดรออยู่ โดยมีการวางแผนเตรียมการมาก่อนแล้วหลบหนีไปกับรถยนต์คันดังกล่าว ไม่เป็นความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ เพราะไม่ได้ฉกฉวยเอาซึ่งหน้า คงเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335(7) วรรคแรก ประกอบด้วย มาตรา 336 ทวิความผิดฐานลักทรัพย์เป็นส่วนหนึ่งของความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ศาลจึงมีอำนาจลงโทษจำเลยในความผิดฐานดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรคท้าย จำเลยซึ่งเป็นทหารร่วมกับพวกกระทำความผิดฐานลักทรัพย์แต่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าพวกของจำเลยเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารหรือไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องจำเลยต่อศาลชั้นต้น ซึ่งเป็นศาลพลเรือนตามมาตรา 14(1) และมาตรา 15 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ ธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. 2484
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 191/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานลักทรัพย์โดยใช้ยานพาหนะหลบหนี ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าเป็นการลักทรัพย์ ไม่ใช่วิ่งราวทรัพย์
การที่จำเลยขออนุญาตเอาพระพุทธรูปบูชาของผู้เสียหายลงไปดูกลางแสงแดดที่พื้นดินหน้าบ้าน แล้วอุ้มพระพุทธรูปวิ่งหนีไปขึ้นรถยนต์ปิกอัพซึ่งพวกของจำเลยจอดรออยู่โดยมีการวางแผนเตรียมการมาก่อนแล้วหลบหนีไปกับรถยนต์ดังกล่าวไม่เป็นความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ เพราะไม่ได้ฉกฉวยเอาซึ่งหน้า คงเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335(7) วรรคแรกประกอบด้วยมาตรา 336 ทวิ ความผิดฐานลักทรัพย์เป็นส่วนหนึ่งของความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ ศาลจึงมีอำนาจลงโทษจำเลยในความผิดฐานดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192วรรคท้าย
จำเลยซึ่งเป็นทหารร่วมกับพวกกระทำความผิดฐานลักทรัพย์แต่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าพวกของจำเลยเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารหรือไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องจำเลยต่อศาลชั้นต้นซึ่งเป็นศาลพลเรือนตามมาตรา 14(1) และมาตรา 15 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติ ธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. 2498.(ที่มา-ส่งเสริม)
จำเลยซึ่งเป็นทหารร่วมกับพวกกระทำความผิดฐานลักทรัพย์แต่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าพวกของจำเลยเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารหรือไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องจำเลยต่อศาลชั้นต้นซึ่งเป็นศาลพลเรือนตามมาตรา 14(1) และมาตรา 15 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติ ธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. 2498.(ที่มา-ส่งเสริม)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1684/2521
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาล: คดีทหารกับพลเรือนทำร้ายร่างกายซึ่งกันและกัน ศาลพลเรือนมีอำนาจพิจารณา
ทหารกับพลเรือนใช้อาวุธปืนและมีดเข้าทำร้ายกัน กรณีเช่นนี้เป็นเรื่องที่บุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารกับบุคคลที่มิได้อยู่ในอำนาจศาลทหารกระทำผิดด้วยกัน ตามพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหารฯ มาตรา 14(1) คดีดังกล่าวอยู่ในอำนาจศาลพลเรือนที่จะพิจารณาพิพากษา