พบผลลัพธ์ทั้งหมด 653 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4769/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเบิกความเท็จในคดีแพ่ง ไม่ถือเป็นการละเมิด หากรายละเอียดไม่สำคัญต่อผลคดี
โจทก์ฟ้องเรื่องละเมิดว่าจำเลยที่1เป็นโจทก์ฟ้องโจทก์เป็นจำเลยให้รับผิดชำระหนี้ตามเช็คจำเลยที่2และที่3เบิกความเท็จและจำเลยที่1เป็นผู้ก่อให้จำเลยที่3เบิกความเท็จเป็นเหตุให้ศาลเชื่อว่าโจทก์เป็นผู้สลักหลังเช็คและพิพากษาให้โจทก์รับผิดชำระหนี้ตามเช็คทำให้โจทก์เสียหายจำเลยทั้งสามต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่โจทก์ศาลอุทธรณ์ภาค2วินิจฉัยว่าเมื่อฟังว่าโจทก์เป็นผู้สลักหลังเช็คโจทก์ต้องรับผิดชำระหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา900วรรคแรก,901ส่วนที่จำเลยที่2และที่3เบิกความว่าโจทก์นำเช็คมาให้แก่จำเลยที่1เป็นเพียงรายละเอียดไม่เป็นข้อสำคัญในคดีแม้เป็นความเท็จจำเลยที่1และที่3ก็ไม่มีความผิดฐานเบิกความเท็จอันจะเป็นการละเมิดต่อโจทก์การที่ศาลอุทธรณ์ภาค2หยิบยกมาตรา900วรรคแรก,901ขึ้นมาวินิจฉัยคดีก็เพื่อชี้ให้เห็นว่าแม้ข้อเท็จจริงจะรับฟังได้ว่าที่จำเลยที่2และที่3เบิกความว่าโจทก์นำเช็คพิพาทมาให้แก่จำเลยที่1เป็นความเท็จคำเบิกความดังกล่าวก็เป็นเพียงรายละเอียดไม่เป็นข้อสำคัญในคดีจำเลยที่2และที่3ไม่มีความผิดฐานเบิกความเท็จไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์จึงไม่ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่โจทก์จำเลยที่1ก็ไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์ด้วยเป็นการวินิจฉัยในเรื่องละเมิดตามอุทธรณ์ของโจทก์ไม่ใช่เป็นการนำตัวบทกฎหมายในเรื่องอื่นไม่เกี่ยวกับประเด็นมาวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4717/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ-ค่าเสียหายบุกรุก: ศาลฎีกาแก้ค่าใช้ที่ดินจากข้อเท็จจริงที่คลาดเคลื่อน
คดีก่อนโจทก์ฟ้องจำเลยว่าจำเลยกระทำละเมิดโจทก์โดยจำเลยก่อสร้างตีนช้างหรือฐานรากอาคารรุกล้ำที่ดินของโจทก์และเรียกค่าเสียหายจากจำเลยฐานละเมิดส่วนคดีนี้โจทก์ฟ้องจำเลยขอให้ชดใช้ค่าใช้ที่ดินในกรณีที่ตีนช้างหรือบานรากอาคารของจำเลยปลูกสร้างรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของโจทก์กับให้จำเลยไปจดทะเบียนภารจำยอมในส่วนที่รุกล้ำนั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1312จึงเป็นข้อพิพาทคนละประเด็นกันมิใช่ประเด็นที่ศาลได้วินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกันไม่เป็นฟ้องซ้ำตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา148 ศาลล่างทั้งสองฟังข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเนื้อที่ดินที่ก่อสร้างตีนช้างผิดพลาดไปเป็นเนื้อที่ดินครึ่งต่อครึ่งซึ่งจำนวนเนื้อที่ดินที่ผิดพลาดนี้ไม่ว่าจะคิดเฉพาะจุดที่ก่อสร้างตีนช้างหรือจะคิดเป็นเนื้อที่ตลอดแนวความยาวก่อสร้างตีนช้างทั้งแถวย่อมมีผลกระทบกระเทือนถึงการกำหนดค่าใช้ที่ดินของศาลให้ผิดพลาดไปด้วยศาลฎีกาเห็นสมควรฟังข้อเท็จจริงเสียใหม่และกำหนดค่าเสียหายลดลงจากที่ศาลทั้งสองกำหนด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4717/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรุกล้ำที่ดินและค่าใช้ที่ดิน: ศาลฎีกาพิจารณาข้อเท็จจริงใหม่เพื่อกำหนดค่าเสียหายที่ถูกต้อง
คดีก่อนโจทก์ฟ้องจำเลยว่าจำเลยกระทำละเมิดโจทก์ โดยจำเลยก่อสร้างตีนช้างหรือฐานรากอาคารรุกล้ำที่ดินของโจทก์ และเรียกค่าเสียหายจากจำเลยฐานละเมิด ส่วนคดีนี้โจทก์ฟ้องจำเลยขอให้ชดใช้ค่าใช้ที่ดินในกรณีที่ตีนช้างหรือฐานรากอาคารของจำเลยปลูกสร้างรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของโจทก์ กับให้จำเลยไปจดทะเบียนภาระจำยอมในส่วนที่รุกล้ำนั้นตาม ป.พ.พ. มาตรา 1312 จึงเป็นข้อพิพาทคนละประเด็นกัน มิใช่ประเด็นที่ศาลได้วินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกันไม่เป็นฟ้องซ้ำตาม ป.วิ.พ. มาตรา 148
ศาลล่างทั้งสองฟังข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเนื้อที่ดินที่ก่อสร้างตีนช้างผิดพลาดไปเป็นเนื้อที่ดินครึ่งต่อครึ่ง ซึ่งจำนวนเนื้อที่ดินที่ผิดพลาดนี้ไม่ว่าจะคิดเฉพาะจุดที่ก่อสร้างตีนช้างหรือจะคิดเป็นเนื้อที่ตลอดแนวความยาวก่อสร้างตีนช้างทั้งแถวย่อมมีผลกระทบกระเทือนถึงการกำหนดค่าใช้ที่ดินของศาลให้ผิดพลาดไปด้วยศาลฎีกาเห็นสมควรฟังข้อเท็จจริงเสียใหม่ และกำหนดค่าเสียหายลดลงจากที่ศาลล่างทั้งสองกำหนด
ศาลล่างทั้งสองฟังข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเนื้อที่ดินที่ก่อสร้างตีนช้างผิดพลาดไปเป็นเนื้อที่ดินครึ่งต่อครึ่ง ซึ่งจำนวนเนื้อที่ดินที่ผิดพลาดนี้ไม่ว่าจะคิดเฉพาะจุดที่ก่อสร้างตีนช้างหรือจะคิดเป็นเนื้อที่ตลอดแนวความยาวก่อสร้างตีนช้างทั้งแถวย่อมมีผลกระทบกระเทือนถึงการกำหนดค่าใช้ที่ดินของศาลให้ผิดพลาดไปด้วยศาลฎีกาเห็นสมควรฟังข้อเท็จจริงเสียใหม่ และกำหนดค่าเสียหายลดลงจากที่ศาลล่างทั้งสองกำหนด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4713/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายเวลาวางค่าฤชาธรรมเนียม: ศาลไม่อนุญาตเนื่องจากผู้ร้องไม่ยากจน และเป็นการประวิงคดี
ศาลอุทธรณ์ภาค 1 กำหนดเวลาให้ผู้ร้องวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมถึง 7 วัน ทั้งศาลอุทธรณ์ภาค 1 ฟังข้อเท็จจริงเป็นยุติว่าผู้ร้องไม่ใช่คนยากจนโดยไม่อนุญาตให้ดำเนินคดีอย่างคนอนาถาในชั้นอุทธรณ์แล้ว การที่ผู้ร้องกลับมาขอขยายระยะเวลาวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมต่อศาลชั้นต้นว่า ผู้ร้องเป็นคนยากจน ระยะเวลาที่กำหนดให้ไม่เพียงพอ จึงมีลักษณะเป็นการประวิงคดีถือไม่ได้ว่ามีพฤติการณ์พิเศษที่จะขอให้ขยายระยะเวลาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 23
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4713/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายเวลาวางค่าฤชาธรรมเนียมเมื่อศาลไม่อนุญาตให้ดำเนินคดีแบบคนอนาถา ถือเป็นการประวิงคดีหรือไม่
ศาลอุทธรณ์ภาค1กำหนดเวลาให้ผู้ร้องวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมถึง7วันทั้งศาลอุทธรณ์ภาค1ฟังข้อเท็จจริงเป็นยุติว่าผู้ร้องไม่ใช่คนยากจนโดยไม่อนุญาตให้ดำเนินคดีอย่างคนอนาถาในชั้นอุทธรณ์แล้วการที่ผู้ร้องกลับมาขอขยายระยะเวลาวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมต่อศาลชั้นต้นว่าผู้ร้องเป็นคนยากจนระยะเวลาที่กำหนดให้ไม่เพียงพอจึงมีลักษณะเป็นการประวิงคดีถือไม่ได้ว่ามีพฤติการณ์พิเศษที่จะขอให้ขยายระยะเวลาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา23
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4713/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายเวลาวางค่าฤชาธรรมเนียมหลังศาลไม่อนุญาตให้ดำเนินคดีอย่างคนอนาถา ศาลฎีกาเห็นว่าเป็นการประวิงคดี
ศาลอุทธรณ์ภาค 1 กำหนดเวลาให้ผู้ร้องวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมถึง 7 วัน ทั้งศาลอุทธรณ์ภาค 1 ฟังข้อเท็จจริงเป็นยุติว่าผู้ร้องไม่ใช่คนยากจนโดยไม่อนุญาตให้ดำเนินคดีอย่างคนอนาถาในชั้นอุทธรณ์แล้ว การที่ผู้ร้องกลับมาขอขยายระยะเวลาวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมต่อศาลชั้นต้นว่า ผู้ร้องเป็นคนยากจน ระยะเวลาที่กำหนดให้ไม่เพียงพอจึงมีลักษณะเป็นการประวิงคดี ถือไม่ได้ว่ามีพฤติการณ์พิเศษที่จะขอให้ขยายระยะเวลาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 23
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4713/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายเวลาวางค่าฤชาธรรมเนียม: ศาลไม่อนุญาตขยายเวลาให้ผู้ไม่ยากจน แม้จะอ้างเหตุผลทางการเงิน
ศาลอุทธรณ์ภาค1กำหนดเวลาให้ผู้ร้องวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมถึง7วันทั้งศาลอุทธรณ์ภาค1ฟังข้อเท็จจริงเป็นยุติว่าผู้ร้องไม่ใช่คนยากจนโดยไม่อนุญาตให้ดำเนินคดีอย่างคนอนาถาในชั้นอุทธรณ์แล้วการที่ผู้ร้องกลับมาขอขยายระยะเวลาวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมต่อศาลชั้นต้นว่าผู้ร้องเป็นคนยากจนระยะเวลาที่กำหนดให้ไม่เพียงพอจึงมีลักษณะเป็นการประวิงคดีถือไม่ได้ว่ามีพฤติการณ์พิเศษที่จะขอให้ขยายระยะเวลาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา23
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3821/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือมอบอำนาจฟ้องคดี, อำนาจฟ้อง, นิติบุคคล, การทำสัญญา, การพิสูจน์สถานะทางกฎหมาย
หนังสือมอบอำนาจที่โจทก์แต่ฝ่ายเดียวลงลายมือชื่อเป็นผู้มอบอำนาจให้ ก. กระทำกิจการติดตามทวงถามหนี้สินตลอดจนดำเนินคดีแก่จำเลยทั้งสามแทนโจทก์นั้น แม้ ก. ไม่ได้ลงชื่อเป็นผู้รับมอบอำนาจด้วย เพียงแต่มาเบิกความยืนยันว่าได้รับมอบอำนาจจากโจทก์ตามหนังสือมอบอำนาจก็ตาม หนังสือมอบอำนาจย่อมสมบูรณ์และมีผลใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ก. จึงมีอำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์ หนังสือมอบอำนาจทำขึ้นในต่างประเทศ มีการรับรองโดยโนตารีปับลิกและหัวหน้าฝ่ายกงสุลเมืองจากาตาร์ประเทศอินโดนีเซีย รับรองอีกชั้นหนึ่งว่า ได้มีการจัดทำเอกสารขึ้นอย่างแท้จริง หนังสือมอบอำนาจดังกล่าวถือว่าถูกต้องตามกฎหมายประเทศดังกล่าวแล้ว ไม่อยู่ในบังคับที่ต้องปิดอากรแสตมป์ตามประมวลรัษฎากร จึงเป็นหนังสือมอบอำนาจที่ชอบด้วยกฎหมาย โจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์เป็นนิติบุคคลโดยจดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย มีวัตถุประสงค์ประกอบกิจการด้านประมงจำเลยทั้งสามให้การต่อสู้คดีว่า โจทก์เป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซียและมีวัตถุประสงค์ประกอบกิจการขอออกใบอนุญาตในการทำการประมงภายในขอบข่ายงานการดำเนินการของบริษัทโจทก์กับเรือประมงต่างด้าวเพื่อการประมงในเขตน่านน้ำของประเทศอินโดนีเซีย(อีซีแซด) ตามกฎหมายหรือไม่จำเลยทั้งสามไม่ทราบและไม่ยอมรับว่าโจทก์สามารถที่จะทำได้คำให้การของจำเลยทั้งสามดังกล่าวจึงเป็นคำให้การที่ไม่ชัดแจ้งเพราะมิได้แสดงเหตุแห่งการปฏิเสธไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 177 วรรคสอง ไม่ก่อให้เกิดประเด็นข้อพิพาทข้อเท็จจริงจึงต้องฟังตามที่โจทก์กล่าวอ้างในฟ้องว่าโจทก์เป็นนิติบุคคลตามกฎหมายโดยโจทก์ไม่ต้องนำสืบถึงหนังสือรับรองการเป็นนิติบุคคลของโจทก์อีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3821/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือมอบอำนาจฟ้องคดีสมบูรณ์ แม้ผู้รับมอบอำนาจไม่ได้ลงลายมือชื่อ และการจดทะเบียนนิติบุคคลต่างประเทศ
หนังสือมอบอำนาจที่โจทก์แต่ฝ่ายเดียวลงลายมือชื่อเป็นผู้มอบอำนาจให้ ก. กระทำกิจการติดตามทวงถามหนี้สินตลอดจนดำเนินคดีแก่จำเลยทั้งสามแทนโจทก์นั้นแม้ ก. ไม่ได้ลงชื่อเป็นผู้รับมอบอำนาจด้วยเพียงแต่มาเบิกความยืนยันว่าได้รับมอบอำนาจจากโจทก์ตามหนังสือมอบอำนาจก็ตามหนังสือมอบอำนาจย่อมสมบูรณ์และมีผลใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ก. จึงมีอำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์ หนังสือมอบอำนาจทำขึ้นในต่างประเทศมีการรับรองโดยโนตารีปับลิกและหัวหน้าฝ่ายกงสุลเมือง จากาตาร์ประเทศ อินโดนีเซีย รับรองอีกชั้นหนึ่งว่าได้มีการจัดทำเอกสารขึ้นอย่างแท้จริงหนังสือมอบอำนาจดังกล่าวถือว่าถูกต้องตามกฎหมายประเทศดังกล่าวแล้วไม่อยู่ในบังคับที่ต้องปิดอากรแสตมป์ตามประมวลรัษฎากรจึงเป็นหนังสือมอบอำนาจที่ชอบด้วยกฎหมาย โจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์เป็นนิติบุคคลโดยจดทะเบียนในประเทศ อินโดนีเซีย มีวัตถุประสงค์ประกอบกิจการด้านประมงจำเลยทั้งสามให้การต่อสู้คดีว่าโจทก์เป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัดจดทะเบียนในประเทศ อินโดนีเซียและมีวัตถุประสงค์ประกอบกิจการขอออกใบอนุญาตในการทำการประมงภายในขอบข่ายงานการดำเนินการของบริษัทโจทก์กับเรือประมงต่างด้าวเพื่อการประมงในเขตน่านน้ำของประเทศ อินโดนีเซีย(อีซีแซด) ตามกฎหมายหรือไม่จำเลยทั้งสามไม่ทราบและไม่ยอมรับว่าโจทก์สามารถที่จะทำได้คำให้การของจำเลยทั้งสามดังกล่าวจึงเป็นคำให้การที่ไม่ชัดแจ้งเพราะมิได้แสดงเหตุแห่งการปฏิเสธไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา177วรรคสองไม่ก่อให้เกิดประเด็นข้อพิพาทข้อเท็จจริงจึงต้องฟังตามที่โจทก์กล่าวอ้างในฟ้องว่าโจทก์เป็นนิติบุคคลตามกฎหมายโดยโจทก์ไม่ต้องนำสืบถึงหนังสือรับรองการเป็นนิติบุคคลของโจทก์อีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3821/2538 เวอร์ชัน 5 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์, หนังสือมอบอำนาจ, ความสมบูรณ์ของเอกสาร, และการปฏิเสธข้อกล่าวหาที่ไม่ชัดแจ้ง
การมอบอำนาจให้ ก.ฟ้องคดีของโจทก์นั้น เมื่อโจทก์แต่ฝ่ายเดียวได้ลงลายมือชื่อเป็นผู้มอบอำนาจให้กระทำกิจการติดตามทวงถามหนี้สินตลอดจนดำเนินคดีแก่จำเลยทั้งสามแทนโจทก์แล้ว แม้ ก.ไม่ได้ลงชื่อเป็นผู้รับ-มอบอำนาจด้วย เพียงแต่มาเบิกความยืนยันว่าได้รับมอบอำนาจจากโจทก์ตามหนังสือมอบอำนาจก็ตามหนังสือมอบอำนาจย่อมสมบูรณ์และมีผลใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ก.จึงมีอำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์
ปัญหาว่าหนังสือมอบอำนาจของโจทก์มิได้ปิดอากรแสตมป์จึงไม่สมบูรณ์ ก.ไม่มีอำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์นั้น เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จำเลยทั้งสามมิได้ยกขึ้นต่อสู้ไว้ในคำให้การ จำเลยทั้งสามก็ยกขึ้นฎีกาได้
หนังสือมอบอำนาจทำขึ้นในต่างประเทศ มีการรับรองโดยโนตารี ปับลิก และหัวหน้าฝ่ายกงสุล-เมืองจากาตาร์ ประเทศอินโดนีเซียรับรองอีกชั้นหนึ่งว่า ได้มีการจัดทำเอกสารขึ้นอย่างแท้จริง หนังสือมอบอำนาจดังกล่าวถือว่าถูกต้องตามกฎหมายประเทศดังกล่าวแล้ว ไม่อยู่ในบังคับที่ต้องปิดอากรแสตมป์ตาม ป.รัษฎากร จึงเป็นหนังสือมอบอำนาจที่ชอบด้วยกฎหมาย ก.มีอำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์
โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์เป็นนิติบุคคลโดยจดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย มีวัตถุประสงค์ประกอบกิจการด้านประมง จำเลยทั้งสามให้การต่อสู้คดีว่า โจทก์เป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซียและมีวัตถุประสงค์ประกอบกิจการขอออกใบอนุญาตในการทำการประมงภายในขอบข่ายงานการดำเนินการของบริษัทโจทก์กับเรือประมงต่างด้าว เพื่อการประมงในเขตน่านน้ำของประเทศอินโดนีเซีย (อีซีแซด) ตามกฎหมายหรือไม่ จำเลยทั้งสามไม่ทราบและไม่ยอมรับว่าโจทก์สามารถที่จะทำได้ คำให้การของจำเลยทั้งสามดังกล่าวจึงเป็นคำให้การที่ไม่ชัดแจ้ง เพราะมิได้แสดงเหตุแห่งการปฏิเสธไว้ ตามป.วิ.พ.มาตรา 177 วรรคสอง ไม่ก่อให้เกิดประเด็นข้อพิพาท ข้อเท็จจริงจึงต้องฟังตามที่โจทก์กล่าวอ้างในฟ้องว่าโจทก์เป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย โดยโจทก์ไม่ต้องนำสืบถึงหนังสือรับรองการเป็นนิติบุคคลของโจทก์อีก
ปัญหาว่าหนังสือมอบอำนาจของโจทก์มิได้ปิดอากรแสตมป์จึงไม่สมบูรณ์ ก.ไม่มีอำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์นั้น เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จำเลยทั้งสามมิได้ยกขึ้นต่อสู้ไว้ในคำให้การ จำเลยทั้งสามก็ยกขึ้นฎีกาได้
หนังสือมอบอำนาจทำขึ้นในต่างประเทศ มีการรับรองโดยโนตารี ปับลิก และหัวหน้าฝ่ายกงสุล-เมืองจากาตาร์ ประเทศอินโดนีเซียรับรองอีกชั้นหนึ่งว่า ได้มีการจัดทำเอกสารขึ้นอย่างแท้จริง หนังสือมอบอำนาจดังกล่าวถือว่าถูกต้องตามกฎหมายประเทศดังกล่าวแล้ว ไม่อยู่ในบังคับที่ต้องปิดอากรแสตมป์ตาม ป.รัษฎากร จึงเป็นหนังสือมอบอำนาจที่ชอบด้วยกฎหมาย ก.มีอำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์
โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์เป็นนิติบุคคลโดยจดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย มีวัตถุประสงค์ประกอบกิจการด้านประมง จำเลยทั้งสามให้การต่อสู้คดีว่า โจทก์เป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซียและมีวัตถุประสงค์ประกอบกิจการขอออกใบอนุญาตในการทำการประมงภายในขอบข่ายงานการดำเนินการของบริษัทโจทก์กับเรือประมงต่างด้าว เพื่อการประมงในเขตน่านน้ำของประเทศอินโดนีเซีย (อีซีแซด) ตามกฎหมายหรือไม่ จำเลยทั้งสามไม่ทราบและไม่ยอมรับว่าโจทก์สามารถที่จะทำได้ คำให้การของจำเลยทั้งสามดังกล่าวจึงเป็นคำให้การที่ไม่ชัดแจ้ง เพราะมิได้แสดงเหตุแห่งการปฏิเสธไว้ ตามป.วิ.พ.มาตรา 177 วรรคสอง ไม่ก่อให้เกิดประเด็นข้อพิพาท ข้อเท็จจริงจึงต้องฟังตามที่โจทก์กล่าวอ้างในฟ้องว่าโจทก์เป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย โดยโจทก์ไม่ต้องนำสืบถึงหนังสือรับรองการเป็นนิติบุคคลของโจทก์อีก