คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
มีพาศน์ โปตระนันทน์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 385 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1945/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิผู้เช่าบ้านฟ้องขจัดความเดือดร้อนรำคาญจากการกระทำของจำเลย แม้ไม่ใช่เจ้าของที่ดิน
แม้โจทก์เป็นเพียง ผู้เช่าที่ดินปลูกบ้านอาศัยเมื่อโจทก์ซึ่งเป็น เจ้าของบ้านอันเป็นอสังหาริมทรัพย์ได้รับความเดือดร้อนรำคาญเป็นพิเศษจากการกระทำของจำเลยย่อมมี อำนาจฟ้องให้ขจัดความเดือดร้อนนั้นได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1337

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1945/2538

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิของผู้เช่าบ้านในการฟ้องขจัดความเดือดร้อนรำคาญจากการปลูกสร้างกีดขวาง
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยปลูกเพิงชายตลิ่งหน้าบ้านโจทก์กีดขวางบังหน้าบ้านโจทก์ปิดบังทางลมแสงสว่างปิดบังทิวทัศน์ขอให้จำเลยรื้อเพิงออกไปเป็นการขอให้ขจัดความเดือดร้อนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1337แต่ในขณะเดียวกันก็มีลักษณะให้จำเลยยุติการกระทำที่เป็นละเมิดด้วยแม้โจทก์จะเป็นเพียงผู้เช่าที่ดินหากได้รับความเดือดร้อนรำคาญจากการกระทำของจำเลยและได้รับความเดือดร้อนเป็นพิเศษโจทก์อยู่ในฐานะที่จะฟ้องให้ขจัดความเดือดร้อนเป็นพิเศษนั้นได้โจทก์จึงมีสิทธิฟ้อง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1945/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิผู้เช่าบ้านฟ้องขจัดความเดือดร้อนจากการรบกวนการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน
แม้โจทก์เป็นเพียง ผู้เช่าที่ดินปลูกบ้านอาศัยเมื่อโจทก์ซึ่งเป็น เจ้าของบ้านอันเป็นอสังหาริมทรัพย์ได้รับความเดือดร้อนรำคาญเป็นพิเศษจากการกระทำของจำเลยย่อมมี อำนาจฟ้องให้ขจัดความเดือดร้อนนั้นได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1337

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1945/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิผู้เช่าบ้านในการขจัดความเดือดร้อนรำคาญจากการกระทำของผู้อื่นที่กระทบต่อการอยู่อาศัย
โจทก์เป็นผู้เช่าที่ดินของวัดปลูกบ้านอยู่อาศัยหากได้รับความเดือดร้อนรำคาญจากการกระทำของจำเลยและได้รับความเดือดร้อนเป็นพิเศษโจทก์ก็อยู่ในฐานะที่จะฟ้องให้ขจัดความเดือดร้อนเป็นพิเศษนั้นได้เพราะเป็นเจ้าของบ้านซึ่งปลูกอยู่ในที่ดินดังกล่าวและบ้านเป็นอสังหาริมทรัพย์จึงเข้ากรณีที่ระบุไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1337

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1945/2538 เวอร์ชัน 5 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิผู้เช่าบ้านฟ้องขจัดความเดือดร้อนจากละเมิด แม้ไม่ใช่เจ้าของที่ดิน
แม้โจทก์เป็นเพียงผู้เช่าที่ดินปลูกบ้านอาศัย เมื่อโจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของบ้านอันเป็นอสังหาริมทรัพย์ได้รับความเดือดร้อนรำคาญเป็นพิเศษจากการกระทำของจำเลย ย่อมมีอำนาจฟ้องให้ขจัดความเดือดร้อนนั้นได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1337

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1945/2538 เวอร์ชัน 6 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิฟ้องเรียกขจัดความเดือดร้อนจากการปลูกสร้างกีดขวาง แม้เป็นผู้เช่า
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยปลูกเพิงชายตลิ่งหน้าบ้านโจทก์กีดขวางบังหน้าบ้านโจทก์ ปิดบังทางลม แสงสว่าง ปิดบังทิวทัศน์ ขอให้จำเลยรื้อเพิงออกไปเป็นการขอให้ขจัดความเดือดร้อนตาม ป.พ.พ.มาตรา 1337 แต่ในขณะเดียวกันก็มีลักษณะให้จำเลยยุติการกระทำที่เป็นละเมิดด้วย แม้โจทก์จะเป็นเพียงผู้เช่าที่ดินหากได้รับความเดือดร้อนรำคาญจากการกระทำของจำเลย และได้รับความเดือดร้อนเป็นพิเศษ โจทก์อยู่ในฐานะที่จะฟ้องให้ขจัดความเดือดร้อนเป็นพิเศษนั้นได้ โจทก์จึงมีสิทธิฟ้อง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1944/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ขอบเขตความระมัดระวังของยามรักษาความปลอดภัย: การประเมินความประมาทเลินเล่อในสถานการณ์พื้นที่กว้าง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่ได้ให้คำจำกัดความคำว่าประมาทเลินเล่อตามมาตรา420ไว้คงมีแต่ในประมวลกฎหมายอาญามาตรา59วรรคสี่และตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.2525แต่ก็กล่าวโดยสรุปได้ความหมายว่าการขาดความระมัดระวังนั่นเอง ระเบียบของวิทยาลัยโจทก์ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยกำหนดอำนาจหน้าที่ยามต้องตรวจตราความเรียบร้อยตลอดเวลาอยู่ประจำทางเข้าออกประตูหน้าวิทยาลัยขณะเปิดปิดประตูอยู่อย่างน้อย1คนตลอดเวลาวิทยาลัยของโจทก์มีเนื้อที่ถึง150ไร่มีอาคาร30หลังทรัพย์สินที่หายเก็บไว้ในอาคาร2โดยไม่มีระเบียบชัดแจ้งให้จำเลยต้องสำรวจพื้นที่และทรัพย์สินในอาคารให้ครบทั้ง30อาคารและโดยวิสัยของผู้มีหน้าที่ยามซึ่งต้องดูแลบริเวณที่มีพื้นที่และอาคารมากขนาดนี้ขณะเข้าเวรเพียงผลัดละ2คนจำเลยทั้งสองไม่น่าจะต้องใช้ความระมัดระวังถึงระดับนั้นจึงฟังไม่ได้ว่าจำเลยทั้งสองประมาทเลินเล่อ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1944/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความรับผิดของยามต่อทรัพย์สินสูญหาย: พิจารณาความเหมาะสมของระดับความระมัดระวังตามพื้นที่และจำนวนกำลัง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่ได้ให้คำจำกัดความคำว่าประมาทเลินเล่อตามมาตรา 420 ไว้ คงมีแต่ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรคสี่ และตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 แต่ก็กล่าวโดยสรุปได้ความหมายว่า การขาดความระมัดระวังนั่นเอง ระเบียบของวิทยาลัยโจทก์ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยกำหนดอำนาจหน้าที่ยามต้องตรวจตราความเรียบร้อยตลอดเวลาอยู่ประจำทางเข้าออกประตูหน้าที่วิทยาลัยขณะเปิดปิดประตูอยู่อย่างน้อย 1 คน ตลอดเวลา วิทยาลัยของโจทก์มีเนื้อที่ถึง 150 ไร่ มีอาคาร 30 หลัง ทรัพย์สินที่หายเก็บไว้ในอาคาร 2 โดยไม่มีระเบียบชัดแจ้งให้จำเลยต้องสำรวจพื้นที่และทรัพย์สินในอาคารให้ครบทั้ง 30 อาคาร และโดยวิสัยของผู้มีหน้าที่ยามซึ่งต้องดูแลบริเวณที่มีพื้นที่และอาคารมากขนาดนี้ ขณะเข้าเวรเพียงผลัดละ 1 คน จำเลยทั้งสองไม่น่า จะต้องใช้ความระมัดระวังถึงระดับนั้นจึงฟังไม่ได้ว่าจำเลยทั้งสองประมาทเลินเล่อ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1944/2538

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความประมาทเลินเล่อของยามรักษาความปลอดภัย: การพิจารณาความรับผิดในกรณีทรัพย์สินสูญหาย
จำเลยเป็นลูกจ้างประจำของวิทยาลัยครูซึ่งสังกัดอยู่กับโจทก์ทำหน้าที่ยามรักษาการณ์และรักษาความปลอดภัยจำเลยมีหน้าที่เข้าเวรตั้งแต่เวลา24นาฬิกาถึง6นาฬิกาวันรุ่งขึ้นปรากฏว่ามีคนร้ายงัดหน้าต่างเข้าไปลักเอาเครื่องอัดสำเนาเอกสารในอาคารหลังหนึ่งซึ่งมีเวรประจำตึกเฝ้าอยู่1คนโดยยังมีอาจารย์เวรและอาจารย์ผู้ตรวจเวรคอยดูแลตรวจตราอีกชั้นหนึ่งตามระเบียบผู้อยู่เวรประจำตึกมีสิทธินอนได้ส่วนยามต้องตรวจตราทั่วบริเวณไม่มีสิทธินอนพักจนกว่าจะออกเวรยามจะต้องตรวจตราความเรียบร้อยตลอดเวลาเมื่อโจทก์ไม่ได้นำสืบให้เห็นว่าหลังจากจำเลยได้เข้ารับเวรต่อจากผลัดก่อนแล้วนั้นจำเลยทั้งสองมีหน้าที่ต้องสำรวจพื้นที่และทรัพย์สินในอาคารให้ครบทั้ง30อาคารซึ่งโดยวิสัยของผู้มีหน้าที่อยู่ยามที่ต้องดูแลบริเวณที่มีพื้นที่ถึง150ไร่และมีอาคารถึง30อาคารขณะที่มีการเข้าเวรเพียงผลัดละ2คนทั้งไม่มีระเบียบชัดแจ้งให้กระทำการดังกล่าวจำเลยไม่น่าจะต้องใช้ความระมัดระวังถึงระดับนั้นอีกทั้งของอาจจะหายในช่วงการอยู่เวรยามของผลัดก่อนก็ได้จึงฟังไม่ได้ว่าจำเลยทั้งสองประมาทเลินเล่อทำให้ทรัพย์สินของโจทก์เสียหายไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1944/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความรับผิดของยามรักษาความปลอดภัยต่อทรัพย์สินที่สูญหาย – การประมาทเลินเล่อ
จำเลยเป็นลูกจ้างประจำของวิทยาลัยครู ซึ่งสังกัดอยู่กับโจทก์ทำหน้าที่ยามรักษาการณ์และรักษาความปลอดภัย จำเลยมีหน้าที่เข้าเวรตั้งแต่เวลา24 นาฬิกา ถึง 6 นาฬิกาวันรุ่งขึ้น ปรากฏว่ามีคนร้ายงัดหน้าต่างเข้าไปลักเอาเครื่องอัดสำเนาเอกสารในอาคารหลังหนึ่งซึ่งมีเวรประจำตึกเฝ้าอยู่ 1 คน โดยยังมีอาจารย์เวรและอาจารย์ผู้ตรวจเวรคอยดูแล ตรวจตราอีกชั้นหนึ่ง ตามระเบียบผู้อยู่เวรประจำตึกมีสิทธินอนได้ ส่วนยามต้องตรวจตราทั่วบริเวณไม่มีสิทธินอนพักจนกว่าจะออกเวร ยามจะต้องตรวจตราความเรียบร้อยตลอดเวลา เมื่อโจทก์ไม่ได้นำสืบให้เห็นว่า หลังจากจำเลยได้เข้ารับเวรต่อจากผลัดก่อนแล้วนั้น จำเลยทั้งสองมีหน้าที่ต้องสำรวจพื้นที่ และทรัพย์สินในอาคารให้ครบทั้ง 30 อาคาร ซึ่งโดยวิสัยของผู้มีหน้าที่อยู่ยามที่ต้องดูแลบริเวณที่มีพื้นที่ถึง 150 ไร่ และมีอาคารถึง 30 อาคารขณะที่มีการเข้าเวรเพียงผลัดละ 2 คน ทั้งไม่มีระเบียบชัดแจ้งให้กระทำการดังกล่าวจำเลยไม่น่าจะต้องใช้ความระมัดระวังถึงระดับนั้น อีกทั้งของอาจจะหายในช่วงการอยู่เวรยามของผลัดก่อนก็ได้ จึงฟังไม่ได้ว่าจำเลยทั้งสองประมาทเลินเล่อทำให้ทรัพย์สินของโจทก์เสียหาย ไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์
of 39