พบผลลัพธ์ทั้งหมด 933 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 232/2540 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องและฟ้องแย้งที่ไม่เกี่ยวเนื่องกับฟ้องเดิม เป็นปัญหาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
เดิมโจทก์ฟ้องกล่าวอ้างว่าจำเลยทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินและสัญญาว่าจ้างปลูกสร้างอาคารกับโจทก์ แต่ปรากฏว่าจำเลยไม่โอนที่ดินและอาคารให้โจทก์ จึงฟ้องขอให้ศาลบังคับให้จำเลยปฎิบัติตามสัญญา ซึ่งมูลคดีที่โจทก์ฟ้องสืบเนื่องมาจากกรณีจำเลยผิดสัญญา ส่วนจำเลยฟ้องแย้งอ้างว่าโจทก์เข้าไปอยู่ในที่ดินและอาคารของจำเลยโดยไม่มีสิทธิ ซึ่งมูลคดีที่จำเลยฟ้องแย้งสืบเนื่องมาจากโจทก์กระทำละเมิดต่อทรัพย์สินของจำเลย ฟ้องแย้งของจำเลยดังกล่าวจึงไม่เกี่ยวกับฟ้องเดิม ปัญหาฟ้องแย้งเกี่ยวกับฟ้องเดิมหรือไม่นั้น เป็นปัญหาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องซึ่งเป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนศาลมีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 232/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องแย้งไม่เกี่ยวเนื่องกับฟ้องเดิม เป็นปัญหาอำนาจฟ้อง ศาลมีอำนาจวินิจฉัยได้เอง
เดิมโจทก์ฟ้องกล่าวอ้างว่าจำเลยทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินและสัญญาว่าจ้างปลูกสร้างอาคารกับโจทก์แต่ปรากฎว่าจำเลยไม่่โอนที่ดินและอาคารให้โจทก์จึงฟ้องขอให้ศาลบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาซึ่งมูลคดีที่โจทก์ฟ้องสืบเนื่องมาจากกรณีจำเลยผิดสัญญาส่วนจำเลยฟ้องแย้งอ้างว่าโจทก์เข้าไปอยู่ในที่ดินและอาคารของจำเลยโดยไม่มีสิทธิซึ่งมูลคดีที่จำเลยฟ้องแย้งสืบเนื่องมาจากโจทก์กระทำละเมิดต่อทรัพย์สินของจำเลยฟ้องแย้งของจำเลยดังกล่าวจึงไม่เกี่ยวกับฟ้องเดิมปัญหาฟ้องแย้งเกี่ยวกับฟ้องเดิมหรือไม่นั้นเป็นปัญหาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องซึ่งเป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนศาลมีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 232/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องแย้งไม่เกี่ยวกับฟ้องเดิม เป็นปัญหาอำนาจฟ้อง ศาลอุทธรณ์มีอำนาจวินิจฉัยได้
เดิมโจทก์ฟ้องกล่าวอ้างว่าจำเลยทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินและสัญญาว่าจ้างปลูกสร้างอาคารกับโจทก์ แต่ปรากฎว่าจำเลยไม่โอนที่ดินและอาคารให้โจทก์ จึงฟ้องขอให้ศาลบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญา ซึ่งมูลคดีที่โจทก์ฟ้องสืบเนื่องมาจากกรณีจำเลยผิดสัญญา ส่วนจำเลยฟ้องแย้งอ้างว่าโจทก์เข้าไปอยู่ในที่ดินและอาคารของจำเลยโดยไม่มีสิทธิ ซึ่งมูลคดีที่จำเลยฟ้องแย้งสืบเนื่องมาจากโจทก์กระทำละเมิดต่อทรัพย์สินของจำเลย ฟ้องแย้งของจำเลยดังกล่าวจึงไม่เกี่ยวกับฟ้องเดิม ปัญหาฟ้องแย้งเกี่ยวกับฟ้องเดิมหรือไม่นั้น เป็นปัญหาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องซึ่งเป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลมีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 232/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องแย้งไม่เกี่ยวข้องกับฟ้องเดิม เป็นปัญหาอำนาจฟ้อง ศาลอุทธรณ์มีอำนาจวินิจฉัยได้
เดิมโจทก์ฟ้องกล่าวอ้างว่าจำเลยทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินและสัญญาว่าจ้างปลูกสร้างอาคารกับโจทก์แต่ปรากฏว่าจำเลยไม่โอนที่ดินและอาคารให้โจทก์จึงฟ้องขอให้ศาลบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาซึ่งมูลคดีที่โจทก์ฟ้องสืบเนื่องมาจากกรณีจำเลยผิดสัญญาส่วนจำเลยฟ้องแย้งอ้างว่าโจทก์เข้าไปอยู่ในที่ดินและอาคารของจำเลยโดยไม่มีสิทธิซึ่งมูลคดีที่จำเลยฟ้องแย้งสืบเนื่องมาจากโจทก์กระทำละเมิดต่อทรัพย์สินของจำเลยฟ้องแย้งของจำเลยดังกล่าวจึงไม่เกี่ยวกับฟ้องเดิมปัญหาฟ้องแย้งเกี่ยวกับฟ้องเดิมหรือไม่นั้นเป็นปัญหาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องซึ่งเป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนศาลมีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 10/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนคำสั่งถอนการบังคับคดี: การไต่สวนทางลัดและการพิจารณาพยานหลักฐานเพียงพอ
คำร้องของโจทก์ที่ขอให้ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเพิกถอนคำสั่งถอนการบังคับคดีได้แนบเอกสารต่างๆที่โจทก์ได้ติดต่อดำเนินการต่อเจ้าพนักงานบังคับคดีของศาลจังหวัดสวรรคโลกในการขายทอดตลาดแทนหลายครั้งตลอดมาโดยมีจ่าศาลจังหวัดสวรรคโลกรับรองสำเนาถูกต้องและในวันนัดไต่สวนคำร้องศาลได้สอบถามทนายโจทก์และเจ้าพนักงานบังคับคดีกรมบังคับคดีแล้วเจ้าพนักงานบังคับคดีแถลงว่าเหตุที่ขอให้ศาลชั้นต้นมีคำสั่งถอนการบังคับคดีเนื่องจากไม่ได้รับเอกสารเกี่ยวกับการบังคับคดีดังกล่าวจากศาลจังหวัดสวรรคโลกศาลชั้นต้นได้บันทึกข้อเท็จจริงที่ได้ความตามที่สอบถามไว้ซึ่งพยานหลักฐานที่ได้ดังกล่าวมีรายละเอียดเกี่ยวกับการดำเนินการต่างๆในการบังคับคดีสมบูรณ์เพียงพอที่จะวินิจฉัยได้จึงไม่จำเป็นต้องไต่สวนต่อไปและการที่ศาลได้สอบถามข้อเท็จจริงจนได้ความดังกล่าวมาถือได้ว่าเป็นการไต่สวนแล้วฉะนั้นที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้เพิกถอนการบังคับคดีโดยไม่ไต่สวนคำร้องของโจทก์ต่อไปจึงชอบแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 10306/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดจากสัญญาจ้างรักษาความปลอดภัย: ความประมาทเลินเล่อในการดูแลทรัพย์สิน
ตามสัญญาว่าจ้างรักษาความปลอดภัย จำเลยจะต้องดูแลรักษาความปลอดภัยทรัพย์สินทั้งหมดภายในและภายนอกห้าง พนักงานรักษาความปลอดภัยของจำเลยมีหน้าที่ดูแลรถยนต์ทุกคันที่นำมาจอด รับมอบและเก็บรักษากุญแจรถไว้และพนักงานรักษาความปลอดภัยจะต้องดูแลทรัพย์สินของห้างในบริเวณโรงงานและรถยนต์ที่จอดอยู่นอกโรงงานด้วย และต้องเขียนรายงานเหตุการณ์ทุก ๆ ชั่วโมงการที่ ว.นำรถไปจอดแล้วนำกุญแจรถมามอบให้แก่ ส.พนักงานรักษาความปลอดภัยของจำเลย และ ส.รับมอบกุญแจรถไว้ โดยมิได้ทักท้วงซึ่งแสดงว่า ว.นำรถไปจอดในเขตความรับผิดชอบดูแลของพนักงานรักษาความปลอดภัยลูกจ้างของจำเลยแล้วต่อมามีคนร้ายลักรถยนต์คันดังกล่าวไป แสดงว่า พนักงานรักษาความปลอดภัย ลูกจ้างของจำเลยปฎิบัติหน้าที่ด้วยความประมาทเลินเล่อ จำเลยจึงต้องรับผิดตามสัญญา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 10306/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างรักษาความปลอดภัย: ความรับผิดต่อรถยนต์ที่จอดในบริเวณที่ดูแล ความประมาทเลินเล่อ
ตามสัญญาว่าจ้างรักษาความปลอดภัยจำเลยจะต้องดูแลรักษาความปลอดภัยทรัพย์สินทั้งหมดภายในและภายนอกห้ามพนักงานรักษาความปลอดภัยของจำเลยมีหน้าที่ดูแลรถยนต์ทุกคันที่นำมาจอดรับมอบและเก็บรักษากุญแจรถไว้และพนักงานรักษาความปลอดภัยจะต้องดูแลทรัพย์สินของห้างในบริเวณโรงงานและรถยนต์ที่จอดอยู่นอกโรงงานด้วยและต้องเขียนรายงานเหตุการณ์ทุกๆชั่วโมงการที่ว.นำรถไปจอดแล้วนำกุญแจรถมามอบให้แก่ส.พนักงานรักษาความปลอดภัยของจำเลยและส.รับมอบกุญแจรถไว้โดยมิได้ทักท้วงซึ่งแสดงว่าว.นำรถไปจอดในเขตความรับผิดชอบดูแลของพนักงานรักษาความปลอดภัยลูกจ้างของจำเลยแล้วต่อมามีคนร้ายลักรถยนต์คันดังกล่าวไปแสดงว่าพนักงานรักษาความปลอดภัยลูกจ้างของจำเลยปฏิบัติหน้าที่ด้วยความประมาทเลินเล่อจำเลยจึงต้องรับผิดตามสัญญา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 10188/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันตัวเกินกว่ากรณีจำต้อง การทำร้ายผู้อื่นจนถึงแก่ความตาย
จำเลยและผู้ตายต่างเป็นบุตร ค. ขณะที่ ค.นั่งดูโทรทัศน์อยู่ในบ้าน ผู้ตายมาขอเงินไปเที่ยว ค.จะให้เพียง ๓๐ บาท ผู้ตายแสดงอาการไม่พอใจชกกระจกตู้เสื้อผ้าแตกแล้วตรงเข้าบีบคอ ค. ค.ตะโกนให้คนช่วย จำเลยได้ยินจึงขึ้นมาบนบ้าน บอกให้ผู้ตายปล่อย ค. แต่ผู้ตายกลับชกต่อยจำเลย จำเลยตกใจกลัวจะมีภัยถึงตนและ ค. จึงใช้ไม้ตีป้องกันตัวไป ๒ ครั้ง ทำให้ผู้ตายหมดสตินอนนิ่งจำเลยลากผู้ตายไปที่กระบะพ่วงท้ายรถไถนาเพื่อส่งแพทย์ เมื่อผู้ตายคืนสติจะลงจากกระบะท้ายรถและตะโกนว่าจะฆ่าล้างโคตร จำเลยก็ใช้ไม้ท่อนอันใหญ่ตีผู้ตายอีก๒ ครั้ง ผู้ตายล้มถึงแก่ความตาย ดังนี้ ภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายที่เกิดแก่ ค.มารดาจำเลย คือ ค.ถูกผู้ตายบีบคอยังหาได้ผ่านพ้นไปไม่เนื่องจากผู้ตายสลบ เมื่อผู้ตายฟื้นคืนสติขึ้นมาก็พูดทันทีว่า "ไอ้ห่าจะฆ่าทั้งแม่ทั้งลูกเลย"อันแสดงให้เห็นเจตนาของผู้ตายที่ยังมีเจตนาเดิมอยู่ ดังนั้น การที่จำเลยใช้ไม้ตีผู้ตายขณะนั้นจึงเป็นการจำต้องกระทำเพื่อป้องกันสิทธิของมารดาจำเลยและตัวจำเลยเองแต่การที่จำเลยใช้ไม้ตีที่ศีรษะผู้ตายโดยแรงในขณะที่ผู้ตายเมาสุรา เห็นได้ว่าขณะนั้นผู้ตายไม่มีสภาพทางร่างกายที่จะเป็นอันตรายแก่บุคคลใดได้ และจำเลยในขณะนั้นแข็งแรงกว่าผู้ตายมาก จึงน่าจะมีวิธีการอื่นที่ดีกว่าที่จำเลยใช้ไม้ตีผู้ตายโดยแรงที่ศีรษะจนผู้ตายถึงแก่ความตาย การกระทำของจำเลยจึงเป็นการป้องกันเกินกว่ากรณีแห่งการจำต้องกระทำเพื่อป้องกัน
จำเลยเป็นพี่ชายผู้ตาย ไม่มีสาเหตุโกรธเคืองกัน เหตุที่เกิดคดีนี้ขึ้นก็เนื่องจากผู้ตายก่อเหตุขึ้นก่อน จำเลยจึงเข้าไปช่วยมารดาเพื่อให้พ้นภยันตรายขณะผู้ตายสลบ จำเลยยังมีเจตนาที่จะช่วยผู้ตายโดยจะพาไปส่งโรงพยาบาล แสดงให้เห็นเจตนาของจำเลยอย่างแท้จริงว่าไม่มีเจตนาฆ่าผู้ตาย และที่จำเลยตีผู้ตายอีกครั้งหลังจากที่ผู้ตายฟื้นคืนสติขึ้นมาก็น่าจะมีเจตนาทำร้ายไม่ให้ผู้ตายไปก่อเหตุร้ายขึ้นอีกเมื่อผู้ตายถึงแก่ความตายจำเลยจึงมีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่น เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายเท่านั้น
จำเลยเป็นพี่ชายผู้ตาย ไม่มีสาเหตุโกรธเคืองกัน เหตุที่เกิดคดีนี้ขึ้นก็เนื่องจากผู้ตายก่อเหตุขึ้นก่อน จำเลยจึงเข้าไปช่วยมารดาเพื่อให้พ้นภยันตรายขณะผู้ตายสลบ จำเลยยังมีเจตนาที่จะช่วยผู้ตายโดยจะพาไปส่งโรงพยาบาล แสดงให้เห็นเจตนาของจำเลยอย่างแท้จริงว่าไม่มีเจตนาฆ่าผู้ตาย และที่จำเลยตีผู้ตายอีกครั้งหลังจากที่ผู้ตายฟื้นคืนสติขึ้นมาก็น่าจะมีเจตนาทำร้ายไม่ให้ผู้ตายไปก่อเหตุร้ายขึ้นอีกเมื่อผู้ตายถึงแก่ความตายจำเลยจึงมีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่น เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 10135/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีเงินได้จากดอกเบี้ยตั๋วเงินและเช็คของขวัญ ความชอบธรรมในการประเมินเมื่อพยานหลักฐานพิรุธ
ที่โจทก์อุทธรณ์ว่า การประเมินภาษีอากรไม่ชอบด้วยมาตรา ๔๙แห่ง ป.รัษฎากร เพราะมิได้รับอนุมัติจากอธิบดีนั้น แม้จะมิใช่ปัญหาที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลภาษีอากรกลาง แต่เป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกาจึงรับวินิจฉัยให้
คดีนี้เจ้าพนักงานประเมินมิได้ใช้วิธีพิเศษกำหนดจำนวนเงินได้สุทธิขึ้นเองโดยถือเงินหรือทรัพย์สินซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์หรือเข้ามาอยู่ในครอบครองของผู้มีเงินได้เป็นหลักในการพิจารณาซึ่งจะต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๔๙ แต่เป็นกรณีออกหมายเรียกตรวจสอบไต่สวนและแจ้งประเมินตามวิธีปกติตามมาตรา ๑๙, ๒๐, ๒๓, ๒๔ แห่ง ป.รัษฎากร จึงไม่ต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากร
โจทก์มอบเงินจำนวน ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท ให้ ด.ไปหาผลประโยชน์ร่วมกับบุคคลอื่น แล้ว ด.ได้นำเงินของโจทก์กับบุคคลอื่นดังกล่าวไปซื้อตั๋วสัญญาใช้เงินจากบริษัทเงินทุนต่าง ๆ ต่อมา ด.จึงได้นำเงินมาคืนให้โจทก์จำนวน ๑๖,๓๐๑,๙๔๖.๔๘ บาท ซึ่งแม้โจทก์จะได้เงินเพิ่มขึ้นจากเดิมจำนวน๑,๓๐๑,๙๔๖.๔๘ บาท น่าเชื่อว่าเป็นเงินดอกเบี้ยจากตั๋วเงินที่ ด.นำเงินของโจทก์กับบุคคลอื่นไปซื้อตั๋วสัญญาใช้เงิน และโจทก์ก็อ้างว่า ด.ได้เสียภาษีเงินได้ในส่วนนี้แล้ว ซึ่งตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๕๐ ก็ได้บัญญัติให้บริษัทผู้จ่ายดอกเบี้ยตั๋วเงินหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ เมื่อ ด.ในฐานะผู้จัดการของคณะบุคคลที่มอบหมายให้นำเงินไปหาผลประโยชน์ได้เสียภาษีเงินได้ในส่วนนี้แล้ว โจทก์จึงไม่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้ในส่วนนี้อีก ตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๖, ๔๒ (๑๔) และ ๕๖ วรรคสุดท้าย
เช็คของขวัญที่โจทก์ได้รับในปี ๒๕๓๓ จำนวน ๔๖ ฉบับ รวมเป็นเงิน ๘๓,๑๐๒,๕๐๐ บาท นั้น โจทก์นำสืบว่า บริษัท ส.จำกัด มอบให้โจทก์เป็นค่าซื้อที่ดิน โดยบริษัท ส.รับเช็คของขวัญดังกล่าวมาจากลูกค้าของบริษัทอีกต่อหนึ่งเช่นนี้ แม้บริษัท ส.จะได้ซื้อที่ดินจากโจทก์เป็นเงินถึง ๘๕,๐๐๐,๐๐๐ บาทเศษดังที่โจทก์นำสืบจริง ก็ไม่มีเหตุผลใดที่บริษัท ส.จะต้องชำระค่าที่ดินให้โจทก์โดยใช้เช็คแบ่งย่อยออกเป็นหลายฉบับ โดยเฉพาะเป็นเช็คของขวัญที่มิใช่เช็คของบริษัทเองหรือแคชเชียร์เช็ค ซึ่งน่าจะใช้เป็นหลักฐานในการชำระเงินได้ดีกว่าดังนี้เมื่อพยานหลักฐานโจทก์พิรุธไร้น้ำหนักไม่น่าเชื่อ การที่เจ้าพนักงานประเมินและคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ถือว่าเงินตามเช็คดังกล่าวเป็นเงินได้พึงประเมินตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๔๐ (๘) ของโจทก์จึงชอบแล้ว
คดีนี้เจ้าพนักงานประเมินมิได้ใช้วิธีพิเศษกำหนดจำนวนเงินได้สุทธิขึ้นเองโดยถือเงินหรือทรัพย์สินซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์หรือเข้ามาอยู่ในครอบครองของผู้มีเงินได้เป็นหลักในการพิจารณาซึ่งจะต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๔๙ แต่เป็นกรณีออกหมายเรียกตรวจสอบไต่สวนและแจ้งประเมินตามวิธีปกติตามมาตรา ๑๙, ๒๐, ๒๓, ๒๔ แห่ง ป.รัษฎากร จึงไม่ต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากร
โจทก์มอบเงินจำนวน ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท ให้ ด.ไปหาผลประโยชน์ร่วมกับบุคคลอื่น แล้ว ด.ได้นำเงินของโจทก์กับบุคคลอื่นดังกล่าวไปซื้อตั๋วสัญญาใช้เงินจากบริษัทเงินทุนต่าง ๆ ต่อมา ด.จึงได้นำเงินมาคืนให้โจทก์จำนวน ๑๖,๓๐๑,๙๔๖.๔๘ บาท ซึ่งแม้โจทก์จะได้เงินเพิ่มขึ้นจากเดิมจำนวน๑,๓๐๑,๙๔๖.๔๘ บาท น่าเชื่อว่าเป็นเงินดอกเบี้ยจากตั๋วเงินที่ ด.นำเงินของโจทก์กับบุคคลอื่นไปซื้อตั๋วสัญญาใช้เงิน และโจทก์ก็อ้างว่า ด.ได้เสียภาษีเงินได้ในส่วนนี้แล้ว ซึ่งตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๕๐ ก็ได้บัญญัติให้บริษัทผู้จ่ายดอกเบี้ยตั๋วเงินหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ เมื่อ ด.ในฐานะผู้จัดการของคณะบุคคลที่มอบหมายให้นำเงินไปหาผลประโยชน์ได้เสียภาษีเงินได้ในส่วนนี้แล้ว โจทก์จึงไม่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้ในส่วนนี้อีก ตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๖, ๔๒ (๑๔) และ ๕๖ วรรคสุดท้าย
เช็คของขวัญที่โจทก์ได้รับในปี ๒๕๓๓ จำนวน ๔๖ ฉบับ รวมเป็นเงิน ๘๓,๑๐๒,๕๐๐ บาท นั้น โจทก์นำสืบว่า บริษัท ส.จำกัด มอบให้โจทก์เป็นค่าซื้อที่ดิน โดยบริษัท ส.รับเช็คของขวัญดังกล่าวมาจากลูกค้าของบริษัทอีกต่อหนึ่งเช่นนี้ แม้บริษัท ส.จะได้ซื้อที่ดินจากโจทก์เป็นเงินถึง ๘๕,๐๐๐,๐๐๐ บาทเศษดังที่โจทก์นำสืบจริง ก็ไม่มีเหตุผลใดที่บริษัท ส.จะต้องชำระค่าที่ดินให้โจทก์โดยใช้เช็คแบ่งย่อยออกเป็นหลายฉบับ โดยเฉพาะเป็นเช็คของขวัญที่มิใช่เช็คของบริษัทเองหรือแคชเชียร์เช็ค ซึ่งน่าจะใช้เป็นหลักฐานในการชำระเงินได้ดีกว่าดังนี้เมื่อพยานหลักฐานโจทก์พิรุธไร้น้ำหนักไม่น่าเชื่อ การที่เจ้าพนักงานประเมินและคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ถือว่าเงินตามเช็คดังกล่าวเป็นเงินได้พึงประเมินตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๔๐ (๘) ของโจทก์จึงชอบแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 10135/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีอากร: การซื้อขายหุ้น, การรับเช็คของขวัญ, และการหาผลประโยชน์จากตั๋วสัญญาใช้เงิน การประเมินและพิสูจน์แหล่งที่มาของเงิน
ที่โจทก์อุทธรณ์ว่าการประเมินภาษีอากรไม่ชอบด้วยมาตรา49แห่งประมวลรัษฎากรเพราะมิได้รับอนุญาตจากอธิบดีนั้นแม้จะมิใช่ปัญหาที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลภาษีอากรกลางแต่เป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนศาลฎีกาจึงรับวินิจฉัยให้ คดีนี้เจ้าพนักงานประเมินมิได้ใช้วิธีพิเศษกำหนดจำนวนเงินได้สุทธิขึ้นเองโดยถือเงินหรือทรัพย์สินซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์หรือเข้ามาอยู่ในครอบครองของผู้มีเงินได้เป็นหลักในการพิจารณาซึ่งจะต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรตามประมวลรัษฎากรมาตรา49แต่เป็นกรณีออกหมายเรียกตรวจสอบไต่สวนและแจ้งประเมินตามวิธีปกติตามมาตรา19,20,23,24แห่งประมวลรัษฎากรจึงไม่ต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากร โจทก์มอบเงินจำนวน15,000,000บาทให้ด. ไปหาผลประโยชน์ร่วมกับบุคคลอื่นแล้วด. ได้นำเงินของโจทก์กับบุคคลอื่นดังกล่าวไปซื้อตั๋วสัญญาใช้เงินของบริษัทเงินทุนต่างๆต่อมาด. จึงได้นำเงินมาคืนให้โจทก์จำนวน16,301,946.48บาทซึ่งแม้โจทก์จะได้เงินเพิ่มขึ้นจากเดิมจำนวน1,301,946.48บาทน่าเชื่อว่าเป็นเงินดอกเบี้ยจากตั๋วเงินที่ด. นำเงินของโจทก์กับบุคคลอื่นไปซื้อตั๋วสัญญาใช้เงินและโจทก์ก็อ้างว่าด. ได้เสียภาษีเงินได้ในส่วนนี้แล้วซึ่งตามประมวลรัษฎากรมาตรา50ก็ได้บัญญัติให้บริษัทผู้จ่ายดอกเบี้ยตั๋วเงินหักภาษีณที่จ่ายไว้เมื่อด. ในฐานะผู้จัดการของคณะบุคคลที่มอบหมายให้นำเงินไปหาผลประโยชน์ได้เสียภาษีเงินได้ในส่วนนี้แล้วโจทก์จึงไม่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้ในส่วนนี้อีกตามประมวลรัษฎากรมาตรา6,42(14)และ56วรรคสุดท้าย เช็คของขวัญที่โจทก์ได้รับในปี2533จำนวน46ฉบับรวมเป็นเงิน83,102,500บาทนั้นโจทก์นำสืบว่าบริษัทส. จำกัดมอบให้โจทก์เป็นค่าซื้อที่ดินโดยบริษัทส. รับเช็คของขวัญดังกล่าวมาจากลูกค้าของบริษัทอีกต่อหนึ่งเช่นนี้แม้บริษัทส. จะได้ซื้อที่ดินจากโจทก์เป็นเงินถึง85,000,000บาทเศษดังที่โจทก์นำสืบจริงก็ไม่มีเหตุผลใดที่บริษัทส. จะต้องชำระค่าที่ดินให้โจทก์โดยใช้เช็คแบ่งย่อยออกเป็นหลายฉบับโดยเฉพาะเป็นเช็คของขวัญที่มิใช่เช็คของบริษัทเองหรือแคชเชียร์เช็คซึ่งน่าจะใช้เป็นหลักฐานในการชำระเงินได้ดีกว่าดังนี้เมื่อพยานหลักฐานโจทก์พิรุธไร้น้ำหนักไม่น่าเชื่อการที่เจ้าพนักงานประเมินและคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ถือว่าเงินตามเช็คดังกล่าวเป็นเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากรมาตรา40(8)ของโจทก์จึงชอบแล้ว