พบผลลัพธ์ทั้งหมด 633 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4360/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เขตอำนาจศาลหลังเลิกห้าง: ภูมิลำเนาผู้ชำระบัญชีและสำนักงานเดิม
เดิมห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 1 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่เลขที่422 ซอยสันติสุข ถนนสุขุมวิท 71 แขวงคลองตัน เขตพระโขนง กรุงเทพมหานครซึ่งอยู่ในเขตอำนาจศาลแพ่งกรุงเทพใต้ แต่ต่อมาจำเลยที่ 1 ได้จดทะเบียนเลิกห้างเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2535 และจดทะเบียนเสร็จการชำระบัญชีเมื่อวันที่ 26พฤษภาคม 2535 การที่โจทก์ยื่นฟ้องคดีนี้เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2537 ต่อศาลแพ่งกรุงเทพใต้ โดยขณะยื่นฟ้องผู้ชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 1 มีภูมิลำเนาอยู่ที่จังหวัดสมุทรปราการ และจำเลยที่ 2 มีภูมิลำเนาอยู่ที่จังหวัดนครพนม ดังนี้เมื่อจำเลยที่ 1 จดทะเบียนเลิกห้างและชำระบัญชีเสร็จแล้วถือว่าจำเลยที่ 1 มิได้ประกอบกิจการต่อไป จึงถือเอาสำนักงานใหญ่เดิมเป็นภูมิลำเนาหรือที่ประกอบธุรกิจในขณะยื่นฟ้องมิได้ กรณีนี้จำเลยที่ 1 คงมีได้แต่เพียงภูมิลำเนาเฉพาะการ คือภูมิลำเนาของผู้ชำระบัญชีซึ่งปรากฏว่าอยู่นอกเขตอำนาจของศาลแพ่งกรุงเทพใต้เมื่อโจทก์ยื่นฟ้องคดีนี้ภายหลังจำเลยที่ 1 จดทะเบียนเลิกห้างและเสร็จการชำระบัญชีเกินกว่า 1 ปีแล้ว โจทก์จึงไม่มีสิทธิยื่นฟ้องคดีนี้ต่อศาลแพ่งกรุงเทพใต้ตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 150
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4360/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องล้มละลายหลังเลิกห้าง – เขตอำนาจศาล – ภูมิลำเนาผู้ชำระบัญชี
เดิมห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่1มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่เลขที่422ซอยสันติสุขถนนสุขุมวิท71แขวงคลองตันเขตพระโขนง กรุงเทพมหานครซึ่งอยู่ในเขตอำนาจศาลแพ่งกรุงเทพใต้แต่ต่อมาจำเลยที่1ได้จดทะเบียนเลิกห้างเมื่อวันที่9มกราคม2535และจดทะเบียนเสร็จการชำระบัญชีเมื่อวันที่26พฤษภาคม2535การที่โจทก์ยื่นฟ้องคดีนี้เมื่อวันที่25พฤษภาคม2537ต่อศาลแพ่งกรุงเทพใต้โดยขณะยื่นฟ้องผู้ชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่1มีภูมิลำเนาอยู่ที่จังหวัดสมุทรปราการและจำเลยที่2มีภูมิลำเนาอยู่ที่จังหวัดนครพนมดังนี้เมื่อจำเลยที่1จดทะเบียนเลิกห้างและชำระบัญชีเสร็จแล้วถือว่าจำเลยที่1มิได้ประกอบกิจการต่อไปจึงถือเอาสำนักงานใหญ่เดิมเป็นภูมิลำเนาหรือที่ประกอบธุรกิจในขณะยื่นฟ้องมิได้กรณีนี้จำเลยที่1คงมีได้แต่เพียงภูมิลำเนาเฉพาะการคือภูมิลำเนาของผู้ชำระบัญชีซึ่งปรากฏว่าอยู่นอกเขตอำนาจของศาลแพ่งกรุงเทพใต้เมื่อโจทก์ยื่นฟ้องคดีนี้ภายหลังจำเลยที่1จดทะเบียนเลิกห้างและเสร็จการชำระบัญชีเกินกว่า1ปีแล้วโจทก์จึงไม่มีสิทธิยื่นฟ้องคดีนี้ต่อศาลแพ่งกรุงเทพใต้ตามพระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ.2483มาตรา150
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4265/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อ, ภาษีมูลค่าเพิ่ม, อายุความ, ดอกเบี้ย: ประเด็นการคำนวณราคารถยนต์, การคิดดอกเบี้ย และอายุความที่เกี่ยวข้อง
จำเลยเช่าซื้อรถยนต์จากโจทก์แต่ผิดสัญญา โจทก์ยึดรถยนต์ที่เช่าซื้อออกประมูลขายไปตามใบเสร็จรับเงินซึ่งระบุว่า ค่าประมูลรถยนต์ 365,000 บาทภาษีมูลค่าเพิ่ม 25,550 บาท ยอดรวม 390,550 บาท เมื่อปรากฏว่าโจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำสัญญาเช่าซื้อรถยนต์ตามฟ้องกันเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2533 ก่อนที่ พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 30) พ.ศ.2534 ซึ่งเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มจะใช้บังคับ การที่โจทก์ได้รับเงินค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม 25,550 บาท จากผู้ซื้อนำไปจ่ายให้แก่รัฐ เป็นการปฏิบัติตามที่กฎหมายบัญญัติให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการเท่านั้น ภาษีมูลค่าเพิ่ม 25,550 บาท จึงถือไม่ได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของราคารถยนต์ที่ประมูลขายได้
ข้อสัญญาที่ว่า ผู้เช่าซื้อต้องจ่ายเงินเพิ่มเติมอีกจำนวนหนึ่งซึ่งเมื่อรวมกับจำนวนที่จ่ายเป็นค่าเช่าซื้อแล้วจะเท่ากับครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินทั้งหมดที่จะต้องจ่ายถ้าหากว่าการเช่าซื้อดำเนินต่อไปตลอดระยะเวลาแห่งสัญญานั้น ข้อตกลงเช่นนี้เป็นข้อกำหนดค่าตอบแทนการใช้ทรัพย์ไว้ล่วงหน้ากรณีเลิกสัญญา เป็นการกำหนดค่าเสียหายวิธีหนึ่งมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับ และในกรณีฟ้องเรียกราคารถยนต์เช่าซื้อที่ยังขาดอยู่ตามสัญญาเช่าซื้อเช่นนี้ ไม่มีกฎหมายบัญญัติอายุความไว้โดยเฉพาะ จึงต้องใช้อายุความสิบปีตาม ป.พ.พ.มาตรา 190/30 มิใช่อายุความหกเดือนตามมาตรา 563
ราคารถยนต์เช่าซื้อที่ยังขาดอยู่ ค่าติดตามยึดรถยนต์ที่เช่าซื้อคืนและค่าใช้ทรัพย์หรือค่าขาดประโยชน์ มิใช่เงินอื่นใดที่ค้างชำระตามสัญญาเช่าซื้อโจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกร้องให้ใช้ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 15 ต่อปี ตามที่ระบุไว้ในสัญญาเช่าซื้อ โจทก์คงมีสิทธิเรียกร้องให้ใช้ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปีตาม ป.พ.พ.มาตรา 224 เท่านั้น
ข้อสัญญาที่ว่า ผู้เช่าซื้อต้องจ่ายเงินเพิ่มเติมอีกจำนวนหนึ่งซึ่งเมื่อรวมกับจำนวนที่จ่ายเป็นค่าเช่าซื้อแล้วจะเท่ากับครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินทั้งหมดที่จะต้องจ่ายถ้าหากว่าการเช่าซื้อดำเนินต่อไปตลอดระยะเวลาแห่งสัญญานั้น ข้อตกลงเช่นนี้เป็นข้อกำหนดค่าตอบแทนการใช้ทรัพย์ไว้ล่วงหน้ากรณีเลิกสัญญา เป็นการกำหนดค่าเสียหายวิธีหนึ่งมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับ และในกรณีฟ้องเรียกราคารถยนต์เช่าซื้อที่ยังขาดอยู่ตามสัญญาเช่าซื้อเช่นนี้ ไม่มีกฎหมายบัญญัติอายุความไว้โดยเฉพาะ จึงต้องใช้อายุความสิบปีตาม ป.พ.พ.มาตรา 190/30 มิใช่อายุความหกเดือนตามมาตรา 563
ราคารถยนต์เช่าซื้อที่ยังขาดอยู่ ค่าติดตามยึดรถยนต์ที่เช่าซื้อคืนและค่าใช้ทรัพย์หรือค่าขาดประโยชน์ มิใช่เงินอื่นใดที่ค้างชำระตามสัญญาเช่าซื้อโจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกร้องให้ใช้ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 15 ต่อปี ตามที่ระบุไว้ในสัญญาเช่าซื้อ โจทก์คงมีสิทธิเรียกร้องให้ใช้ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปีตาม ป.พ.พ.มาตรา 224 เท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4265/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อ, ค่าเสียหาย, เบี้ยปรับ, อายุความ, ดอกเบี้ย - การกำหนดค่าเสียหายที่เหมาะสมและอายุความ
จำเลยเช่าซื้อรถยนต์จากโจทก์แต่ผิดสัญญาโจทก์ยึดรถยนต์ที่เช่าซื้อออกประมูลขายไปตามใบเสร็จรับเงินซึ่งระบุว่าค่าประมูลรถยนต์365,000บาทภาษีมูลค่าเพิ่ม25,550บาทยอมรวม390,550บาทเมื่อปรากฏว่าโจทก์กับจำเลยที่1ทำสัญญาเช่าซื้อรถยนต์ตามฟ้องกันเมื่อวันที่14กันยายน2533ก่อนที่พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่30)พ.ศ.2534ซึ่งเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มจะใช้บังคับการที่โจทก์ได้รับเงินค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม25,550บาทจากผู้ซื้อนำไปจ่ายให้แก่รัฐเป็นการปฏิบัติตามที่กฎหมายบัญญัติให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการเท่านั้นภาษีมูลค่าเพิ่ม25,550บาทจึงถือไม่ได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของราคารถยนต์ที่ประมูลขายได้ ข้อสัญญาที่ว่าผู้เช่าซื้อต้องจ่ายเงินเพิ่มเติมอีกจำนวนหนึ่งซึ่งเมื่อรวมกับจำนวนที่จ่ายเป็นค่าเช่าซื้อแล้วจะเท่ากับครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินทั้งหมดที่จะต้องจ่ายถ้าหากว่าการเช่าซื้อดำเนินต่อไปตลอดระยะเวลาแห่งสัญญานั้นข้อตกลงเช่นนี้เป็นข้อกำหนดค่าตอบแทนการใช้แทนการใช้ทรัพย์ไว้ล่วงหน้ากรณีเลิกสัญญาเป็นการกำหนดค่าเสียหายวิธีหนึ่งมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับและในกรณีฟ้องเรียกราคารถยนต์เช่าซื้อที่ยังขาดอยู่ตามสัญญาเช่าซื้อเช่นนี้ไม่มีกฎหมายบัญญัติอายุความไว้โดยเฉพาะจึงต้องใช้อายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา190/30มิใช่อายุความหกเดือนตามมาตรา563 ราคารถยนต์ที่เช่าซื้อที่ยังขาดอยู่ค่าติดตามยึดรถยนต์ที่เช่าซื้อคืนและค่าใช้ทรัพย์หรือค่าขาดประโยชน์มิใช่เงินอื่นใดที่ค้างชำระตามสัญญาเช่าซื้อโจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกร้องให้ใช้ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ15ต่อปีตามที่ระบุไว้ในสัญญาเช่าซื้อโจทก์คงมีสิทธิเรียกร้องให้ใช้ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ7.5ต่อปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา224เท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4265/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อ, การผิดนัดชำระ, ค่าเสียหาย, อายุความ, การประมูลทรัพย์
การที่โจทก์รับเงินค่าภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ซื้อรถยนต์แล้วนำไปจ่ายให้แก่รัฐเป็นการปฏิบัติตามที่กฎหมายบัญญัติให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการเท่านั้นดังนั้นภาษีมูลค่าเพิ่มจึงไม่เป็นส่วนหนึ่งของราคารถยนต์ที่ประมูลขายได้ ในสัญญาเช่าซื้อมีข้อสัญญาว่าจำเลยที่1ต้องจ่ายเงินเพิ่มเติมอีกจำนวนหนึ่งซึ่งเมื่อรวมกับจำนวนที่จ่ายเป็นค่าเช่าซื้อแล้วจะเท่ากับครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินทั้งหมดที่จะต้องจ่ายถ้าหากว่าการเช่าซื้อดำเนินต่อไปตลอดระยะเวลาแห่งสัญญานั้นข้อตกลงเช่นนี้เป็นข้อกำหนดค่าตอบแทนการใช้ทรัพย์ไว้ล่วงหน้ากรณีเลิกสัญญาเป็นการกำหนดค่าเสียหายวิธีหนึ่งมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับและในกรณีฟ้องเรียกราคารถยนต์เช่าซื้อที่ยังขาดอยู่ตามสัญญาเช่าซื้อเช่นนี้ไม่มีกฎหมายบัญญัติอายุความไว้โดยเฉพาะจึงต้องใช้อายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา190/30
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4151/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้ามในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อทุนทรัพย์น้อยกว่า 200,000 บาท แม้มีข้อเท็จจริงในสำนวน
ฎีกาผู้ร้องที่ว่า ในทางพิจารณาไม่มีการสืบพยานหลักฐานข้อเท็จจริงที่ว่า จ.ได้จดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินมรดกของ ต.และ จ.ก็ได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ยกให้แก่ผู้คัดค้านในวันเดียวกัน" แต่ศาลอุทธรณ์กลับหยิบยกเอาข้อเท็จจริงนอกสำนวนนี้ขึ้นมาวินิจฉัยพิพากษาคดี จึงเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมายนั้น เมื่อข้อเท็จจริงดังกล่าวมีอยู่ในสำนวนมิใช่ข้อเท็จจริงนอกสำนวน การที่ผู้ร้องกลับฎีกาว่าไม่มีข้อเท็จจริงดังกล่าวจึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง เมื่อทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกิน 200,000 บาท ต้องห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 วรรคหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4151/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาไม่รับวินิจฉัยข้อเท็จจริงนอกสำนวนแม้มีข้อมูลในสำนวน, ทุนทรัพย์ไม่เกิน 200,000 บาท
ฎีกาผู้ร้องที่ว่าในทางพิจารณาไม่มีการสืบพยานหลักฐานข้อเท็จจริงที่ว่าจ. ได้จดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินมรดกของต. และจ. ก็ได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ยกให้แก่ผู้คัดค้านในวันเดียวกันแต่ศาลอุทธรณ์กลับหยิบยกเอาข้อเท็จจริงนอกสำนวนนี้ขึ้นมาวินิจฉัยพิพากษาคดีจึงเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมายนั้นเมื่อข้อเท็จจริงดังกล่าวมีอยู่ในสำนวนมิใช่ข้อเท็จจริงนอกสำนวนการที่ผู้ร้องกลับฎีกาว่าไม่มีข้อเท็จจริงดังกล่าวจึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกิน200,000บาทต้องห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา248วรรคหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4053/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
บันดาลโทสะ: การกระทำความผิดต่อเนื่องจากเหตุข่มเหง แม้มีระยะห่างเวลาและสถานที่
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา72ที่ว่า"การทำความผิดต่อผู้ข่มเหงในขณะนั้น"มิได้หมายความว่าจะต้องเป็นขณะเดียวกันพร้อมกันพร้อมกับการข่มเหงและบันดาลโทสะหากแต่หมายความว่ากระทำความผิดในขณะที่บันดาลโทสะอยู่ ผู้ตายโกรธและทะเลาะกับน้องภริยาจำเลยซึ่งไม่ยอมไปล่ามวัวที่ทำให้ของผู้ตายตื่นผู้ตายร้องด่าไปตลอดทางที่เดินไปบ้านน้องภริยาจำเลยซึ่งเป็นบ้านที่จำเลยพักอาศัยอยู่ด้วยแล้วผู้ตายใช้ไม้ตีฝาบ้านน้องภริยาจำเลย2ถึง3ครั้งจำเลยห้ามปรามผู้ตายไม่ยอมหยุดกลับใช้ไม้ตีฝาบ้านอีกพฤติการณ์ของผู้ตายถือได้ว่าจำเลยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรมทำให้จำเลยโกรธผู้ตายการที่จำเลยใช้ไม้ตีผู้ตายถึงแก่ความตายจึงเป็นการกระทำโดยบันดาลโทสะและแม้จะฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยลุกขึ้นเดินตามผู้ตายไปแล้วร้องห้ามปรามแล้วจำเลยใช้ไม้ตีผู้ตายที่หน้าบ้านจำเลยซึ่งอยู่ห่างออกมาประมาณ15เมตรการกระทำของจำเลยก็เป็นการกระทำความผิดต่อผู้ตายที่ข่มเหงในระยะเวลาต่อเนื่องกระชั้นชิดอันถือได้ว่ากระทำต่อผู้ตายที่ข่มเหงในขณะนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4053/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
บันดาลโทสะ: การกระทำความผิดต่อเนื่องกระชั้นชิด แม้ไม่ทันทีทันใด ก็ถือว่ากระทำในขณะที่บันดาลโทสะ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 72 ที่ว่า "กระทำความผิดต่อผู้ข่มเหงในขณะนั้น" มิได้หมายความว่าจะต้องเป็นขณะเดียวกันพร้อมกับการข่มเหงและบันดาลโทสะ หากแต่หมายความว่ากระทำความผิดในขณะที่บันดาลโทสะอยู่ ผู้ตายโกรธและทะเลาะกับน้องภริยาจำเลยซึ่งไม่ยอมไปล่ามวัวที่ทำให้วัวของผู้ตายตื่น ผู้ตายร้องด่าไปตลอดทางที่เดินไปบ้านน้องภริยาจำเลยซึ่งเป็นบ้านที่จำเลยพักอาศัยอยู่ด้วย แล้วผู้ตายใช้ไม้ตีฝาบ้านน้องภริยาจำเลย 2 ถึง 3 ครั้ง จำเลยห้ามปรามผู้ตายไม่ยอมหยุด กลับใช้ไม้ตีฝาบ้านอีก พฤติการณ์ของผู้ตายถือได้ว่าจำเลยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรมทำให้จำเลยโกรธผู้ตาย การที่จำเลยใช้ไม้ตีผู้ตายถึงแก่ความตายจึงเป็นการกระทำโดยบันดาลโทสะ และแม้จะฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยลุกขึ้นเดินตามผู้ตายไปและร้องห้ามปรามแล้วจำเลยใช้ไม้ตีผู้ตายที่หน้าบ้านจำเลยซึ่งอยู่ห่างออกมาประมาณ 15 เมตร การกระทำของจำเลยก็เป็นการกระทำความผิดต่อผู้ตายที่ข่มเหงในระยะเวลาต่อเนื่องกระชั้นชิดอันถือได้ว่ากระทำต่อผู้ตายที่ข่มเหงในขณะนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4053/2539 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
บันดาลโทสะ: การกระทำความผิดต่อเนื่องจากถูกข่มเหง
ตาม ป.อ. มาตรา 72 ที่ว่า "กระทำความผิดต่อผู้ข่มเหงในขณะนั้น" มิได้หมายความว่าจะต้องเป็นขณะเดียวกัน พร้อมกับการข่มเหงและบันดาลโทสะ หากแต่หมายความว่ากระทำความผิดในขณะที่บันดาลโทสะอยู่
ผู้ตายโกรธและทะเลาะกับน้องภริยาจำเลยซึ่งไม่ยอมไปล่ามวัวที่ทำให้วัวของผู้ตายตื่น ผู้ตายร้องด่าไปตลอดทางที่เดินไปบ้านน้องภริยาจำเลยซึ่งเป็นบ้านที่จำเลยพักอาศัยอยู่ด้วย แล้วผู้ตายใช้ไม้ฝาบ้านตีน้องภริยาจำเลย 2 ถึง3 ครั้ง จำเลยห้ามปราม ผู้ตายไม่ยอมหยุด กลับใช้ไม้ตีฝาบ้านอีก พฤติการณ์ของผู้ตายถือได้ว่าจำเลยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรม ทำให้จำเลยโกรธผู้ตาย การที่จำเลยใช้ไม้ตีผู้ตายถึงแก่ความตายจึงเป็นการกระทำโดยบังดาลโทสะ และแม้จะฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยลุกขึ้นเดินตามผู้ตายไปและร้องห้ามปรามแล้วจำเลยใช้ไม้ตีผู้ตายที่หน้าบ้านจำเลยซึ่งอยู่ห่างออกมาประมาณ 15 เมตร การกระทำของจำเลยก็เป็นการกระทำความผิดต่อผู้ตายที่ข่มเหงในระยะเวลาต่อเนื่องกระชั้นชิดอันถือได้ว่ากระทำต่อผู้ตายที่ข่มเหงในขณะนั้น
ผู้ตายโกรธและทะเลาะกับน้องภริยาจำเลยซึ่งไม่ยอมไปล่ามวัวที่ทำให้วัวของผู้ตายตื่น ผู้ตายร้องด่าไปตลอดทางที่เดินไปบ้านน้องภริยาจำเลยซึ่งเป็นบ้านที่จำเลยพักอาศัยอยู่ด้วย แล้วผู้ตายใช้ไม้ฝาบ้านตีน้องภริยาจำเลย 2 ถึง3 ครั้ง จำเลยห้ามปราม ผู้ตายไม่ยอมหยุด กลับใช้ไม้ตีฝาบ้านอีก พฤติการณ์ของผู้ตายถือได้ว่าจำเลยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรม ทำให้จำเลยโกรธผู้ตาย การที่จำเลยใช้ไม้ตีผู้ตายถึงแก่ความตายจึงเป็นการกระทำโดยบังดาลโทสะ และแม้จะฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยลุกขึ้นเดินตามผู้ตายไปและร้องห้ามปรามแล้วจำเลยใช้ไม้ตีผู้ตายที่หน้าบ้านจำเลยซึ่งอยู่ห่างออกมาประมาณ 15 เมตร การกระทำของจำเลยก็เป็นการกระทำความผิดต่อผู้ตายที่ข่มเหงในระยะเวลาต่อเนื่องกระชั้นชิดอันถือได้ว่ากระทำต่อผู้ตายที่ข่มเหงในขณะนั้น