พบผลลัพธ์ทั้งหมด 883 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5215/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย: เหตุจำเป็นในการใช้กำลังเพื่อป้องกันชีวิตจากผู้มีนิสัยอันตราย
ผู้ตายมีนิสัยเป็นนักเลงอันธพาลใจคอดุร้ายวันเกิดเหตุผู้ตายได้กล่าวคำอาฆาตจำเลยกับบุตรจำเลยแล้วดื่มสุราก่อนมาหาจำเลยเมื่อผู้ตายเข้ามาในบริเวณบ้านจำเลยจำเลยบอกให้ผู้ตายหยุดแต่ผู้ตายไม่ยอมหยุดและเดินตรงเข้าหาจำเลยระยะห่างเพียง5วาพฤติการณ์ของผู้ตายส่อลักษณะอาการที่มุ่งร้ายต่อชีวิตของจำเลยและเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึงจำเลยมีความชอบธรรมที่จะป้องกันภยันตรายได้ตามสมควรจำเลยอายุ68ปีอยู่ในวัยชราส่วนผู้ตายอายุ26ปีเป็นชายฉกรรจ์ในภาระเช่นจำเลยต้องประสบในขณะนั้นย่อมต้องเข้าใจว่าผู้ตายคงจะต้องมีอาวุธติดตัวมาและจะมาฆ่าจำเลยโอกาสไม่อำนวยให้จำเลยได้ตั้งสติไตร่ตรองได้ว่าผู้ตายมีอาวุธร้ายแรงแค่ไหนการที่จำเลยยิงปืนใส่ผู้ตายเพียง1นัดกระสุนปืนถูกผู้ตายและผู้ตายถึงแก่ความตายนั้นถือได้ว่าการกระทำของจำเลยพอสมควรแก่เหตุเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5215/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันตนเองโดยชอบด้วยกฎหมายจากภยันตรายใกล้ถึงของผู้ถูกทำร้าย
ผู้ตายมีนิสัยเป็นนักเลง อันธพาล ใจคอดุร้าย วันเกิดเหตุผู้ตายได้กล่าวคำอาฆาตจำเลยกับบุตรจำเลยแล้วดื่มสุราก่อนมาหาจำเลย เมื่อผู้ตายเข้ามาในบริเวณบ้านจำเลย จำเลยบอกให้ผู้ตายหยุด แต่ผู้ตายไม่ยอมหยุดและเดินตรงเข้าหาจำเลยระยะห่างเพียง 5 วา พฤติการณ์ของผู้ตายส่อลักษณะอาการที่มุ่งร้ายต่อชีวิตของจำเลย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง จำเลยมีความชอบธรรมที่จะป้องกันภยันตรายได้ตามสมควรจำเลยอายุ 68 ปี อยู่ในวัยชรา ส่วนผู้ตายอายุ 26 ปี เป็นชายฉกรรจ์ ในภาวะเช่นจำเลยต้องประสบในขณะนั้นย่อมต้องเข้าใจว่า ผู้ตายคงจะต้องมีอาวุธติดตัวมาและจะมาฆ่าจำเลย โอกาสไม่อำนวยให้จำเลยได้ตั้งสติไตร่ตรองได้ว่า ผู้ตายมีอาวุธร้ายแรงแค่ไหน การที่จำเลยยิงปืนใส่ผู้ตายเพียง 1 นัด กระสุนปืนถูกผู้ตายและผู้ตายถึงแก่ความตายนั้น ถือได้ว่าการกระทำของจำเลยพอสมควรแก่เหตุ เป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5133/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อุทธรณ์ข้อเท็จจริงในคดีมีทุนทรัพย์ต้องห้าม และการที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยคดีผิดประเภท
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยกระทำละเมิด ทำลายและปิดกั้นทางสาธารณประโยชน์ ทำให้โจทก์ไม่สามารถใช้ทางสาธารณะดังกล่าวเข้าไปทำไร่อ้อยในที่ดินของโจทก์ได้ ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหายเป็นเงินจำนวน50,000 บาท ท้ายฟ้องโจทก์ขอให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์เป็นเงินจำนวน 50,000 บาท จึงเป็นคดีมีทุนทรัพย์
การที่ศาลชั้นต้นพิจารณาประเด็นข้อพิพาทว่า จำเลยปิดกั้นและทำลายทางสาธารณประโยชน์เป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหายหรือไม่การพิจารณาว่ามีทางสาธารณประโยชน์อยู่ตามฟ้องหรือไม่ ก็เพื่อวินิจฉัยข้ออ้างอันจะนำไปสู่ข้อหาของโจทก์ที่ว่า จำเลยกระทำการละเมิดต่อโจทก์หรือไม่เท่านั้นดังนี้ โจทก์หาได้ฟ้องขอให้มีการปลดเปลื้องทุกข์ของโจทก์ในการใช้ทางพิพาทไม่เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยใช้เงินจำนวน 20,000 บาท แก่โจทก์ จำเลยอุทธรณ์ว่า ไม่มีทางสาธารณประโยชน์ตามที่โจทก์กล่าวอ้าง อันเป็นการอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง จึงต้องห้ามอุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 224 วรรคหนึ่ง
คดีนี้เป็นคดีมีทุนทรัพย์ ซึ่งต้องห้ามมิให้คู่ความอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงการที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าเป็นคดีที่ฟ้องขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจคำนวนเป็นราคาเงินได้ แล้วพิจารณาพิพากษาคดีไปตามอุทธรณ์ของจำเลยไปเป็นการไม่ชอบและเมื่ออุทธรณ์ของจำเลยเป็นอุทธรณ์ที่ต้องห้ามตามกฎหมายแล้ว ต้องถือว่าข้อเท็จจริงเป็นอันยุติไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นแล้ว จำเลยจึงไม่มีสิทธิฎีกา การที่ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกาของจำเลยมานั้น จึงไม่ชอบเช่นกัน ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
การที่ศาลชั้นต้นพิจารณาประเด็นข้อพิพาทว่า จำเลยปิดกั้นและทำลายทางสาธารณประโยชน์เป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหายหรือไม่การพิจารณาว่ามีทางสาธารณประโยชน์อยู่ตามฟ้องหรือไม่ ก็เพื่อวินิจฉัยข้ออ้างอันจะนำไปสู่ข้อหาของโจทก์ที่ว่า จำเลยกระทำการละเมิดต่อโจทก์หรือไม่เท่านั้นดังนี้ โจทก์หาได้ฟ้องขอให้มีการปลดเปลื้องทุกข์ของโจทก์ในการใช้ทางพิพาทไม่เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยใช้เงินจำนวน 20,000 บาท แก่โจทก์ จำเลยอุทธรณ์ว่า ไม่มีทางสาธารณประโยชน์ตามที่โจทก์กล่าวอ้าง อันเป็นการอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง จึงต้องห้ามอุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 224 วรรคหนึ่ง
คดีนี้เป็นคดีมีทุนทรัพย์ ซึ่งต้องห้ามมิให้คู่ความอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงการที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าเป็นคดีที่ฟ้องขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจคำนวนเป็นราคาเงินได้ แล้วพิจารณาพิพากษาคดีไปตามอุทธรณ์ของจำเลยไปเป็นการไม่ชอบและเมื่ออุทธรณ์ของจำเลยเป็นอุทธรณ์ที่ต้องห้ามตามกฎหมายแล้ว ต้องถือว่าข้อเท็จจริงเป็นอันยุติไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นแล้ว จำเลยจึงไม่มีสิทธิฎีกา การที่ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกาของจำเลยมานั้น จึงไม่ชอบเช่นกัน ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5133/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์ข้อเท็จจริงที่ต้องห้ามตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง และสิทธิในการฎีกา
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทำละเมิดโดยทำลายและปิดกั้นทางสาธารณประโยชน์ทำให้โจทก์ไม่สามารถใช้ทางสาธารณะดังกล่าวเข้าไปทำไร่อ้อยในที่ดินของโจทก์ได้ขอให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์เป็นเงินจำนวน50,000บาทจึงเป็นคดีมีทุนทรัพย์การที่ศาลชั้นต้นพิจารณาประเด็นข้อพิพาทว่าจำเลยปิดกั้นและทำลายทางสาธารณประโยชน์เป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหายหรือไม่ซึ่งจะต้องมีการพิจารณาว่ามีทางสาธารณประโยชน์อยู่ตามฟ้องหรือไม่นั้นก็เพื่อวินิจฉัยข้ออ้างอันจะนำไปสู่ข้อหาของโจทก์ที่ว่าจำเลยกระทำการละเมิดต่อโจทก์หรือไม่เท่านั้นโจทก์หาได้ฟ้องขอให้มีการปลดเปลื้องทุกข์ของโจทก์ในการใช้ทางพิพาทแต่ประการใดดังนั้นเมื่อศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยใช้เงิน20,000บาทแก่โจทก์จำเลยอุทธรณ์ว่าไม่มีทางสาธารณประโยชน์ตามที่โจทก์กล่าวอ้างจึงเป็นการอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริงต้องห้ามอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา224วรรคหนึ่งที่ศาลอุทธรณ์ภาค2วินิจฉัยว่าเป็นคดีที่ฟ้องขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้แล้วมีคำสั่งให้รับอุทธรณ์และพิจารณาพิพากษาคดีไปตามอุทธรณ์ของจำเลยนั้นเป็นการไม่ชอบต้องถือว่าข้อเท็จจริงยุติไปแล้วตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นจำเลยจึงไม่มีสิทธิฎีกา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5133/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาไม่อุทธรณ์ข้อเท็จจริงคดีมีทุนทรัพย์ ศาลอุทธรณ์รับอุทธรณ์ผิดพลาด
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยกระทำละเมิด ทำลายและปิดกั้นทางสาธารณประโยชน์ ทำให้โจทก์ไม่สามารถใช้ ทางสาธารณะดังกล่าวเข้าไปทำไร่อ้อยในที่ดินของโจทก์ได้ ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหายเป็นเงินจำนวน 50,000 บาท ท้ายฟ้องโจทก์ขอให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหาย แก่โจทก์เป็นเงินจำนวน 50,000 บาท จึงเป็นคดี มีทุนทรัพย์ การที่ศาลชั้นต้นพิจารณาประเด็นข้อพิพาทว่า จำเลยปิดกั้นและทำลายทางสาธารณประโยชน์ เป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหายหรือไม่ การพิจารณาว่ามีทางสาธารณประโยชน์อยู่ตามฟ้อง หรือไม่ ก็เพื่อวินิจฉัยข้ออ้างอันจะนำไปสู่ข้อหาของโจทก์ ที่ว่า จำเลยกระทำการละเมิดต่อโจทก์หรือไม่เท่านั้น ดังนี้ โจทก์หาได้ฟ้องขอให้มีการปลดเปลื้องทุกข์ของโจทก์ในการใช้ทางพิพาทไม่เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยใช้เงินจำนวน 20,000 บาทแก่โจทก์ จำเลยอุทธรณ์ว่า ไม่มีทางสาธารณประโยชน์ตามที่โจทก์ กล่าวอ้าง อันเป็นการอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง จึงต้องห้ามอุทธรณ์ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 224 วรรคหนึ่ง คดีนี้เป็นคดีมีทุนทรัพย์ ซึ่งต้องห้ามมิให้คู่ความอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงการที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า เป็นคดีที่ฟ้องขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจคำนวน เป็นราคาเงินได้ แล้วพิจารณาพิพากษาคดีไปตามอุทธรณ์ ของจำเลยไปเป็นการไม่ชอบและเมื่ออุทธรณ์ของจำเลย เป็นอุทธรณ์ที่ต้องห้ามตามกฎหมายแล้ว ต้องถือว่า ข้อเท็จจริงเป็นอันยุติไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นแล้ว จำเลยจึงไม่มีสิทธิฎีกา การที่ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกา ของจำเลยมานั้น จึงไม่ชอบเช่นกัน ศาลฎีกาไม่รับ วินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5029/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตการอนุญาตเข้าบ้าน: การบุกรุกห้องส่วนตัว แม้ได้รับอนุญาตเข้าพื้นที่ส่วนรวม
จำเลยได้รับอนุญาตให้เข้าไปร่วมดื่มสุรากับอ.ภายในบ้านดังกล่าวก็เพียงอยู่ภายในบริเวณที่เป็นห้องโถงซึ่งมีสภาพเป็นห้องรับแขกเท่านั้นไม่มีผู้ใดอนุญาตให้จำเลยเข้าไปในห้องนอนของผู้เสียหายซึ่งมีลักษณะเป็นห้องส่วนตัวและโดยสภาพย่อมไม่ใช่สถานที่ที่บุคคลภายนอกหรือผู้เป็นแขกทั่วไปจะถือวิสาสะเข้าไปได้เมื่อจำเลยเข้าไปในห้องนอนผู้เสียหายโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เสียหายหรือผู้มีสิทธิอนุญาตและไม่มีเหตุอันสมควรที่จะเข้าไปจำเลยย่อมมีความผิดฐานบุกรุก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5029/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกเคหะสถาน: ขอบเขตการอนุญาตและการเข้าถึงพื้นที่ส่วนตัว
จำเลยได้รับอนุญาตให้เข้าไปร่วมดื่มสุรากับ อ.ภายในบ้านดังกล่าวก็เพียงอยู่ภายในบริเวณที่เป็นห้องโถงซึ่งมีสภาพเป็นห้องรับแขกเท่านั้นไม่มีผู้ใดอนุญาตให้จำเลยเข้าไปในห้องนอนของผู้เสียหายซึ่งมีลักษณะเป็นห้องส่วนตัวและโดยสภาพย่อมไม่ใช่สถานที่ที่บุคคลภายนอกหรือผู้เป็นแขกทั่วไปจะถือวิสาสะเข้าไปได้ เมื่อจำเลยเข้าไปในห้องนอนผู้เสียหายโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เสียหายหรือผู้มีสิทธิอนุญาต และไม่มีเหตุอันสมควรที่จะเข้าไปจำเลยย่อมมีความผิดฐานบุกรุก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4872/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลผูกพันสัญญาเช่าต่อผู้รับโอนและข้อยกเว้นความขัดต่อความสงบเรียบร้อย
ตามสัญญาเช่ามีข้อความว่า เมื่อครบกำหนดอายุแล้วผู้ให้เช่าต้องให้ผู้เช่าเช่าอยู่ต่อไป โดยผู้ให้เช่าจะต่ออายุสัญญาเช่าให้ทุก ๆ 3 ปี และเรียกเก็บเงินค่าเช่าเพิ่มเป็นสองเท่าของที่กรมธนารักษ์เรียกเก็บ ข้อสัญญานี้เป็นคำมั่นของผู้ให้เช่าว่าจะให้จำเลยเช่าต่อไป ไม่ปรากฏว่าจำเลยได้ทราบก่อนจะสนองรับว่า ป.ผู้ให้เช่าถึงแก่กรรมไปก่อนแล้ว กรณีจึงไม่ตกอยู่ในบังคับแห่ง ป.พ.พ.มาตรา 360 ต้องนำบทบัญญัติแห่ง ป.พ.พ.มาตรา 169 วรรคสอง มาใช้บังคับคำมั่นของ ป.จึงไม่เสื่อมเสียไป มีผลผูกพันโจทก์ผู้รับโอนให้ต้องปฏิบัติตามให้จำเลยเช่าตึกแถวพิพาทต่อไปตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญาเดิม
ที่โจทก์ฎีกาว่า โดยพฤตินัยและตามหลักฐานที่ปรากฏในสำนวนจำเลยต้องรู้หรือควรรู้ว่า ป.ถึงแก่กรรมไปก่อนแล้วเพราะเป็นคนในอำเภอเมือง-สมุทรสงครามด้วยกัน มีประชากรไม่มากน่าจะทราบข่าวคราวความเคลื่อนไหวของกันและกันดีเป็นฎีกาข้อเท็จจริง
เมื่อฟังว่าคำมั่นของ ป.มีผลผูกพันโจทก์ให้ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในสัญญาเช่า การที่โจทก์เรียกเก็บค่าเช่า ค่าตอบแทนเกินไปกว่าที่กำหนดไว้ในสัญญาข้อดังกล่าว โจทก์จึงเป็นฝ่ายผิดสัญญา
ที่โจทก์ฎีกาว่า สัญญาเช่าเอกสารหมาย จ.4 ขัดต่อความสงบ-เรียบร้อยของประชาชน เพราะเกิดความไม่เป็นธรรมแก่โจทก์และทายาทผู้รับโอนต่อ ๆ ไปในภายหน้าให้ต้องปฏิบัติตามไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุด ไม่ควรมีผลบังคับแม้ปัญหานี้โจทก์จะมิได้ยกขึ้นกล่าวในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ โจทก์ก็ยกขึ้นอ้างอิงในชั้นฎีกาได้ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 249 วรรคท้าย
เจ้าของทรัพย์สินจะให้เช่าทรัพย์สินของตนในลักษณะใดก็ได้เป็นเรื่องระหว่างผู้ให้เช่ากับผู้เช่าโดยเฉพาะ ไม่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก จึงหาได้ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนไม่
ที่โจทก์ฎีกาว่า โดยพฤตินัยและตามหลักฐานที่ปรากฏในสำนวนจำเลยต้องรู้หรือควรรู้ว่า ป.ถึงแก่กรรมไปก่อนแล้วเพราะเป็นคนในอำเภอเมือง-สมุทรสงครามด้วยกัน มีประชากรไม่มากน่าจะทราบข่าวคราวความเคลื่อนไหวของกันและกันดีเป็นฎีกาข้อเท็จจริง
เมื่อฟังว่าคำมั่นของ ป.มีผลผูกพันโจทก์ให้ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในสัญญาเช่า การที่โจทก์เรียกเก็บค่าเช่า ค่าตอบแทนเกินไปกว่าที่กำหนดไว้ในสัญญาข้อดังกล่าว โจทก์จึงเป็นฝ่ายผิดสัญญา
ที่โจทก์ฎีกาว่า สัญญาเช่าเอกสารหมาย จ.4 ขัดต่อความสงบ-เรียบร้อยของประชาชน เพราะเกิดความไม่เป็นธรรมแก่โจทก์และทายาทผู้รับโอนต่อ ๆ ไปในภายหน้าให้ต้องปฏิบัติตามไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุด ไม่ควรมีผลบังคับแม้ปัญหานี้โจทก์จะมิได้ยกขึ้นกล่าวในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ โจทก์ก็ยกขึ้นอ้างอิงในชั้นฎีกาได้ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 249 วรรคท้าย
เจ้าของทรัพย์สินจะให้เช่าทรัพย์สินของตนในลักษณะใดก็ได้เป็นเรื่องระหว่างผู้ให้เช่ากับผู้เช่าโดยเฉพาะ ไม่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก จึงหาได้ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4872/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลผูกพันสัญญาเช่าหลังโอนมรดก: คำมั่นสัญญาเช่ามีผลผูกพันผู้รับโอนหากผู้ให้เช่ายังไม่ได้แจ้งการเปลี่ยนแปลง
ตามสัญญาเช่ามีข้อความว่าเมื่อครบกำหนดอายุแล้วผู้ให้เช่าต้องให้ผู้เช่าอยู่ต่อไปโดยผู้ให้เช่าจะต่ออายุสัญญาเช่าให้ทุกๆ3ปีและเรียกเก็บเงินค่าเช่าเพิ่มเป็นสองเท่าของที่กรมธนารักษ์เรียกเก็บข้อสัญญานี้เป็นคำมั่นของผู้ให้เช่าว่าจะให้จำเลยเช่าต่อไปไม่ปรากฏว่าจำเลยได้ทราบก่อนจะสนองรับว่าป. ผู้ให้เช่าถึงแก่กรรมไปก่อนแล้วกรณีจึงไม่ตกอยู่ในบังคับแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา360ต้องนำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา169วรรคสองมาใช้บังคับคำมั่นของป.จึงไม่เสื่อมเสียไปมีผลผูกพันโจทก์ผู้รับโอนให้ต้องปฏิบัติตามให้จำเลยเช่าตึกแถวพิพาทต่อไปตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญาเดิม ที่โจทก์ฎีกาว่าโดยพฤตินัยและตามหลักฐานที่ปรากฏในสำนวนจำเลยต้องรู้หรือควรรู้ว่าป. ถึงแก่กรรมไปก่อนแล้วเพราะเป็นคนในอำเภอเมืองสมุทรสงครามด้วยกันมีประชากรไม่มากน่าจะทราบข่าวคราวความเคลื่อนไหวของกันและกันดีเป็นฎีกาข้อเท็จจริง เมื่อฟังว่าคำมั่นของป. มีผลผูกพันโจทก์ให้ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในสัญญาเช่าการที่โจทก์เรียกเก็บค่าเช่าค่าตอบแทนเกินไปกว่าที่กำหนดไว้ในสัญญาข้อดังกล่าวโจทก์จึงเป็นฝ่ายผิดสัญญา ที่โจทก์ฎีกาว่าสัญญาเช่าเอกสารหมายจ.4ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนเพราะเกิดความไม่เป็นธรรมแก่โจทก์และทายาทผู้รับโอนต่อๆไปในภายหน้าให้ต้องปฏิบัติตามไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุดไม่ควรมีผลบังคับแม้ปัญหานี้โจทก์จะมิได้ยกขึ้นกล่าวในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์โจทก์ก็ยกขึ้นอ้างอิงในชั้นฎีกาได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา249วรรคท้าย เจ้าของทรัพย์สินจะให้เช่าทรัพย์สินของตนในลักษณะใดก็ได้เป็นเรื่องระหว่างผู้ให้เช่ากับผู้เช่าโดยเฉพาะไม่เกี่ยวกับบุคคลภายนอกจึงหาได้ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4829/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในไม้และละเมิด: การโต้แย้งกรรมสิทธิ์โดยมิชอบทำให้เกิดละเมิดต่อเจ้าของที่แท้จริง
จำเลยที่ 1 ที่ 2 ให้การว่าไม้ของกลางเป็นของจำเลยแต่ละคนและปฏิเสธว่าโจทก์ไม่ใช่เจ้าของไม้ ศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นข้อพิพาทว่า ไม้พิพาทเป็นของฝ่ายโจทก์หรือฝ่ายจำเลย การที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 นำสืบว่าเป็นหุ้นส่วนทำไม้พิพาทกับโจทก์เพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยทั้งสองเป็นเจ้าของร่วมในไม้พิพาท ซึ่งหากฟังได้ว่าเป็นความจริง จำเลยที่ 1 ซึ่งฟ้องแย้งก็ควรได้แต่ส่วนแบ่ง เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลจะพิพากษาให้จำเลยที่ 1 ได้รับแต่ส่วนแบ่งนี้ก็ได้ ไม่ถือว่าเป็นการพิพากษาให้สิ่งใด ๆ เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง ส่วนจำเลยที่ 2ศาลก็อาจพิพากษายกฟ้องโจทก์ได้ จึงถือว่าการนำสืบของจำเลยทั้งสองอยู่ในประเด็นข้อพิพาทที่ศาลชั้นต้นกำหนดไว้
ไม้พิพาททั้งหมดเป็นของโจทก์ การที่จำเลยทั้งสามยื่นคำขอรับไม้พิพาทอ้างว่าเป็นของจำเลยทั้งสาม ทำให้เจ้าพนักงานระงับการคืนไม้พิพาทให้โจทก์ไว้ และทำเรื่องหารือไปทางกองอุทยาน กรมป่าไม้ ในที่สุดต่างมีความเห็นให้ผู้ขอรับไม้พิพาทไปดำเนินคดีทางศาล จึงเป็นเพราะจำเลยทั้งสามได้โต้แย้งกรรมสิทธิ์โดยมิชอบ หาใช่เพราะเป็นดุลพินิจของเจ้าพนักงานที่จะคืนไม้ให้ใครหรือไม่การกระทำของจำเลยทั้งสามจึงเป็นละเมิดต่อโจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของไม้พิพาทที่แท้จริง
ไม้พิพาททั้งหมดเป็นของโจทก์ การที่จำเลยทั้งสามยื่นคำขอรับไม้พิพาทอ้างว่าเป็นของจำเลยทั้งสาม ทำให้เจ้าพนักงานระงับการคืนไม้พิพาทให้โจทก์ไว้ และทำเรื่องหารือไปทางกองอุทยาน กรมป่าไม้ ในที่สุดต่างมีความเห็นให้ผู้ขอรับไม้พิพาทไปดำเนินคดีทางศาล จึงเป็นเพราะจำเลยทั้งสามได้โต้แย้งกรรมสิทธิ์โดยมิชอบ หาใช่เพราะเป็นดุลพินิจของเจ้าพนักงานที่จะคืนไม้ให้ใครหรือไม่การกระทำของจำเลยทั้งสามจึงเป็นละเมิดต่อโจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของไม้พิพาทที่แท้จริง