คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ชลอ ทองแย้ม

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 406 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4146-4147/2539

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างที่ชอบธรรมเนื่องจากผู้บริหารฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับทางการเงินและอนุมัติการเบิกจ่ายโดยมิชอบ
ระเบียบข้อบังคับเรื่องการอนุมัติค่าใช้จ่ายของจำเลยกำหนดว่าในการเบิกค่าใช้จ่ายระหว่างที่ทำงานให้บริษัทห้ามพนักงานอนุมัติค่าใช้จ่ายที่ตนเสนอเองเป็นอันขาดและบรรดาค่าใช้จ่ายทั้งหมดนั้นต้องให้ผู้ควบคุมดูแลงานที่ใกล้ชิดที่สุดของพนักงานนั้นพิจารณาตรวจสอบเสียก่อนและต้องได้รับอนุมัติจากบุคคลซึ่งได้รับมอบอำนาจให้อนุมัติรายงานค่าใช้จ่ายได้ตามรายชื่อผู้มีสิทธิอำนาจทางการเงินหมายความว่าการอนุมัติค่าใช้จ่ายห้ามมิให้อนุมัติข้ามสายงานทั้งจำเลยไม่เคยอนุมัติให้โจทก์ทั้งสองนำทรัพย์สินส่วนตัวมาใช้ในกิจการของจำเลยโดยให้จำเลยเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายและไม่เคยมอบอำนาจให้โจทก์ที่1มีอำนาจกระทำการแทนจำเลยได้ดังนั้นการที่โจทก์ที่1อนุมัติให้โจทก์ที่2นำรถยนต์และวิทยุติดตามตัวซึ่งเป็นทรัพย์สินส่วนตัวของโจทก์ที่2ใช้ในกิจการของจำเลยและให้เบิกจ่ายค่าน้ำมันและค่าบริการสำหรับวิทยุติดตามตัวก่อให้เกิดความผูกพันต่อบุคคลภายนอกโดยไม่มีอำนาจเป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานเมื่อโจทก์ที่2อยู่ในสายงานบังคับบัญชาของผู้อื่นที่โจทก์ที่1อนุมัติให้โจทก์ที่2เบิกจ่ายค่าน้ำมันและค่าบริการวิทยุติดตามตัวจึงเป็นการอนุมัตินอกสายงานเป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานที่จำเลยได้วางไว้แม้โจทก์ที่2มาช่วยทำงานในสายงานของโจทก์ที่1ก็เป็นอำนาจบังคับบัญชาในการปฏิบัติงานเท่านั้นส่วนอำนาจการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆโจทก์ที่2ยังต้องปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานการที่โจทก์ที่1มีตำแหน่งหน้าที่ระดับผู้บริหารเป็นผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงินควรที่จะต้องเคร่งครัดระมัดระวังต่อระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานแต่โจทก์ที่1กลับฝ่าฝืนข้อบังคับหรือระเบียบเกี่ยวกับการทำงานเสียเองถือได้ว่าเป็นการจงใจทำให้จำเลยเสียหายทั้งฝ่าฝืนข้อบังคับหรือระเบียบเกี่ยวกับการทำงานเป็นกรณีร้ายแรงจำเลยมีเหตุอันสมควรที่จะเลิกจ้างโจทก์ที่1ได้จึงมิใช่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรมจำเลยไม่ต้องจ่ายค่าเสียหายค่าชดเชยและสินจ้างแทนการเบิกกล่าวล่วงหน้าให้แก่โจทก์ที่1

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3110/2539 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การซื้อขายในท้องตลาด: สลากกินแบ่งรัฐบาลที่ซื้อจากบุคคลในตลาด ไม่ถือเป็นการซื้อจากท้องตลาด
การซื้อทรัพย์ในท้องตลาดหมายถึงการซื้อทรัพย์จากร้านค้าที่ตั้งอยู่ในท้องตลาด ไม่ใช่เป็นการที่ร้านค้าซึ่งตั้งอยู่ในท้องตลาดซื้อทรัพย์จากบุคคลที่นำมาขายให้แก่ร้านค้านั้น จำเลยตั้งร้านค้าอยู่ในท้องตลาดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของโจทก์ที่ถูกคนร้ายลักไปจากผู้ทีี่นำมาขาย ถือไม่ได้ว่าจำเลยซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลในท้องตลาด จำเลยจึงต้องคืนสลากกินแบ่งรัฐบาลให้โจทก์ วัตถุแห่งหนี้ในการคืนสลากกินแบ่งรัฐบาลให้โจทก์มิใช่เป็นการบังคับให้กระทำนิติกรรม จึงพิพากษาให้ถือเอาคำพิพากษาของศาลแทนการแสดงเจตนาในกรณีที่จำเลยไม่ยอมคืนสลากกินแบ่งรัฐบาลให้โจทก์ไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3110/2539 เวอร์ชัน 5 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การซื้อขายในท้องตลาด: ความหมายและการซื้อสลากกินแบ่งที่ถูกลักมา
การซื้อทรัพย์ในท้องตลาดหมายถึงการซื้อทรัพย์จากร้านค้าที่ตั้งอยู่ในท้องตลาด ไม่ใช่เป็นการที่ร้านค้าซึ่งตั้งอยู่ในท้องตลาดซื้อทรัพย์จากบุคคลที่นำมาขายให้แก่ร้านค้านั้น จำเลยตั้งร้านค้าอยู่ในท้องตลาดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของโจทก์ที่ถูกคนร้ายลักไปจากผู้ที่นำมาขาย ถือไม่ได้ว่าจำเลยซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลในท้องตลาด จำเลยจึงต้องคืนสลากกินแบ่งรัฐบาลให้โจทก์
วัตถุแห่งหนี้ในการคืนสลากกินแบ่งรัฐบาลให้โจทก์มิใช่เป็นการบังคับให้กระทำนิติกรรม จึงพิพากษาให้ถือเอาคำพิพากษาของศาลแทนการแสดงเจตนาในกรณีที่จำเลยไม่ยอมคืนสลากกินแบ่งรัฐบาลให้โจทก์ไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3110/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การซื้อขายในท้องตลาด: การซื้อจากร้านค้า vs. ซื้อจากบุคคล
การซื้อทรัพย์ในท้องตลาดหมายถึงการซื้อทรัพย์จากร้านค้าที่ตั้งอยู่ในท้องตลาดหาใช่เป็นการที่ร้านค้าซึ่งตั้งอยู่ในท้องตลาดซื้อทรัพย์จากบุคคลที่นำมาขายให้แก่ร้านค้านั้นไม่เพราะการซื้อทรัพย์จากบุคคลที่นำทรัพย์มาขายมิใช่เป็นการซื้อจากสถานที่ซึ่งมีร้านค้าเสนอขายแก่คนทั่วไปหรือมิใช่ซื้อจากที่ชุมชนแห่งการค้า

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3110/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การซื้อขายสลากในตลาด: การซื้อจากร้านค้า vs. ซื้อจากบุคคลทั่วไป
การซื้อทรัพย์ในท้องตลาดหมายถึงการซื้อทรัพย์จากร้านค้าที่ตั้งอยู่ในท้องตลาดไม่ใช่เป็นการที่ร้านค้าซึ่งตั้งอยู่ในท้องตลาดซื้อทรัพย์จากบุคคลที่นำมาขายให้แก่ร้านค้านั้นจำเลยตั้งร้านค้าอยู่ในท้องตลาดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของโจทก์ที่ถูกคนร้ายลักไปจากผู้ทีี่นำมาขายถือไม่ได้ว่าจำเลยซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลในท้องตลาดจำเลยจึงต้องคืนสลากกินแบ่งรัฐบาลให้โจทก์ วัตถุแห่งหนี้ในการคืนสลากกินแบ่งรัฐบาลให้โจทก์มิใช่เป็นการบังคับให้กระทำนิติกรรมจึงพิพากษาให้ถือเอาคำพิพากษาของศาลแทนการแสดงเจตนาในกรณีที่จำเลยไม่ยอมคืนสลากกินแบ่งรัฐบาลให้โจทก์ไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3110/2539

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การซื้อขายในตลาด: การซื้อจากร้านค้า vs. ซื้อจากบุคคลทั่วไป และผลต่อการคืนทรัพย์
การซื้อทรัพย์ในท้องตลาดหมายถึงการซื้อทรัพย์จากร้านค้าที่ตั้งอยู่ในท้องตลาดไม่ใช่เป็นการที่ร้านค้าซึ่งตั้งอยู่ในท้องตลาดซื้อทรัพย์จากบุคคลที่นำมาขายให้แก่ร้านค้านั้นจำเลยตั้งร้านค้าอยู่ในท้องตลาดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของโจทก์ที่ถูกคนร้ายลักไปจากผู้ที่นำมาขายถือไม่ได้ว่าจำเลยซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลในท้องตลาดจำเลยจึงต้องคืนสลากกินแบ่งรัฐบาลให้โจทก์ วัตถุแห่งหนี้ในการคืนสลากกินแบ่งรัฐบาลให้โจทก์มิใช่เป็นการบังคับให้กระทำนิติกรรมจึงพิพากษาให้ถือเอาคำพิพากษาของศาลแทนการแสดงเจตนาในกรณีที่จำเลยไม่ยอมคืนสลากกินแบ่งรัฐบาลให้โจทก์ไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2512/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การออกเช็คเพื่อชำระหนี้ค่าสินค้า การบรรยายฟ้อง และการพิสูจน์เจตนาในการออกเช็ค
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยลงชื่อสั่งจ่ายเช็คตามฟ้องมอบให้แก่โจทก์เพื่อชำระหนี้ค่าสินค้าย่อมพอเข้าใจว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์ตามสัญญาซื้อขายสินค้าและจำเลยสั่งจ่ายเช็คดังกล่าวเพื่อชำระหนี้ค่าสินค้าตามสัญญาซื้อขายนั้นเป็นคำฟ้องที่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา158(5) ข้อที่ศาลอุทธรณ์ภาค2ยังไม่ได้วินิจฉัยเมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรย่อมวินิจฉัยไปได้โดยไม่ต้องย้อนสำนวน รายการวันที่และจำนวนเงินที่ลงในเช็คนั้นจำเลยหาจำต้องเขียนลงไว้ในเช็คด้วยลายมือของจำเลยไม่หากข้อความถูกต้องตรงกับเจตนาของจำเลยในการออกเช็คนั้นและจำเลยลงลายมือชื่อผู้สั่งจ่ายก็เป็นการออกเช็คที่สมบูรณ์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2512/2539 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การบรรยายฟ้องเช็ค การออกเช็คชำระหนี้ และการพิสูจน์เจตนา
การบรรยายฟ้องตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4 นั้นไม่จำเป็นต้องใช้คำตามบทบัญญัติดังกล่าวทุกถ้อยคำ การที่โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยลงชื่อสั่งจ่ายเช็คตามฟ้องมอบให้แก่โจทก์เพื่อชำระหนี้ค่าสินค้า ย่อมพอเข้าใจได้ว่า จำเลยเป็นหนี้โจทก์ตามสัญญาซื้อขายสินค้าและจำเลยสั่งจ่ายเช็คดังกล่าวเพื่อชำระหนี้ค่าสินค้าตามสัญญาซื้อขายนั้นเป็นการบรรยายข้อเท็จจริงเพื่อแสดงว่าจำเลยออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายแล้วเป็นคำฟ้องที่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) ปัญหาที่ศาลอุทธรณ์ภาค 2 ยังไม่ได้วินิจฉัย เมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรย่อมวินิจฉัยไปได้โดยไม่ต้องย้อนสำนวน รายการวันที่และจำนวนเงินที่ลงในเช็คนั้นจำเลยหาจำต้องเขียนลงไว้ในเช็คด้วยลายมือของจำเลยไม่ จำเลยอาจให้บุคคลอื่นเขียนหรือพิมพ์ข้อความดังกล่าวให้ก็ได้ หากข้อความถูกต้องตรงกับเจตนาของจำเลยในการออกเช็คนั้นและจำเลยลงลายมือชื่อผู้สั่งจ่ายแล้วก็เป็นการออกเช็คที่สมบูรณ์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2512/2539

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การบรรยายฟ้องเช็คและการพิสูจน์หนี้ การออกเช็คสมบูรณ์แม้ไม่ได้เขียนด้วยลายมือ
การบรรยายฟ้องตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ.2534มาตรา4นั้นไม่จำเป็นต้องใช้คำตามบทบัญญัติดังกล่าวทุกถ้อยคำการที่โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยลงชื่อสั่งจ่ายเช็คตามฟ้องมอบให้แก่โจทก์เพื่อชำระหนี้ค่าสินค้าย่อมพอเข้าใจได้ว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์ตามสัญญาซื้อขายสินค้าและจำเลยสั่งจ่ายเช็คดังกล่าวเพื่อชำระหนี้ค่าสินค้าตามสัญญาซื้อขายนั้นเป็นการบรรยายข้อเท็จจริงเพื่อแสดงว่าจำเลยออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายแล้วเป็นคำฟ้องที่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา158(5) ปัญหาที่ศาลอุทธรณ์ภาค2ยังไม่ได้วินิจฉัยเมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรย่อมวินิจฉัยไปได้โดยไม่ต้องย้อนสำนวน รายการวันที่และจำนวนเงินที่ลงในเช็คนั้นจำเลยหาจำต้องเขียนลงไว้ในเช็คด้วยลายมือของจำเลยไม่จำเลยอาจให้บุคคลอื่นเขียนหรือพิมพ์ข้อความดังกล่าวให้ก็ได้หากข้อความถูกต้องตรงกับเจตนาของจำเลยในการออกเช็คนั้นและจำเลยลงลายมือชื่อผู้สั่งจ่ายแล้วก็เป็นการออกเช็คที่สมบูรณ์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2512/2539 เวอร์ชัน 5 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การบรรยายฟ้องเช็คและการออกเช็คโดยบุคคลอื่น การฟ้องตาม พ.ร.บ.เช็คไม่จำเป็นต้องใช้ถ้อยคำตามกฎหมายเป๊ะ
การบรรยายฟ้องตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.2534 มาตรา 4 นั้น ไม่จำเป็นต้องใช้คำตามบทบัญญัติดังกล่าวทุกถ้อยคำ การที่โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยลงชื่อสั่งจ่ายเช็คตามฟ้องมอบให้แก่โจทก์เพื่อชำระหนี้ค่าสินค้า ย่อมพอเข้าใจได้ว่า จำเลยเป็นหนี้โจทก์ตามสัญญาซื้อขายสินค้าและจำเลยสั่งจ่ายเช็คดังกล่าวเพื่อชำระหนี้ค่าสินค้าตามสัญญาซื้อขายนั้นเป็นการบรรยายข้อเท็จจริงเพื่อแสดงว่า จำเลยออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายแล้ว เป็นคำฟ้องที่ชอบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา 158 (5)
ปัญหาที่ศาลอุทธรณ์ภาค 2 ยังไม่ได้วินิจฉัย เมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรย่อมวินิจฉัยไปได้โดยไม่ต้องย้อนสำนวน
รายการวันที่และจำนวนเงินที่ลงในเช็คนั้นจำเลยหาจำต้องเขียนลงไว้ในเช็คด้วยลายมือของจำเลยไม่ จำเลยอาจให้บุคคลอื่นเขียนหรือพิมพ์ข้อความดังกล่าวให้ก็ได้ หากข้อความถูกต้องตรงกับเจตนาของจำเลยในการออกเช็คนั้นและจำเลยลงลายมือชื่อผู้สั่งจ่ายแล้วก็เป็นการออกเช็คที่สมบูรณ์
of 41