พบผลลัพธ์ทั้งหมด 280 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1605/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข่มขืนกระทำชำเรา: การยอมความไม่สมบูรณ์ ไม่ระงับการฟ้องคดี
คดีข่มขืนกระทำชำเราเมื่อผู้เสียหายยืนยันว่าได้ถูกจำเลยข่มขืนกระทำชำเราจนสำเร็จความใคร่และยังได้บอกให้บิดาทราบในทันทีที่บิดากลับบ้านหลังเกิดเหตุเพียง2ชั่วโมงประกอบกับในการเจรจาระหว่างญาติฝ่ายผู้เสียหายกับฝ่ายจำเลยจำเลยก็ยอมรับว่าได้ข่มขืนกระทำชำเราผู้เสียหายจริงพยานหลักฐานโจทก์จึงฟังลงโทษจำเลยได้ ฝ่ายผู้เสียหายตกลงกับจำเลยและญาติจำเลยว่าฝ่ายจำเลยจะดำเนินการชดใช้ค่าเสียหายและสู่ขอแต่งงานกับผู้เสียหายใน10วันโดยไม่ให้มีการแจ้งความดำเนินคดีแต่จำเลยไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อตกลงกรณีจึงยังถือไม่ได้ว่าเป็นการยอมความตามกฎหมายสิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมไม่ระงับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา39(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาขายฝากขยายเวลาไถ่: ข้อตกลงขัดต่อกฎหมายและเป็นโมฆะ
โจทก์ทั้งสองทำสัญญาขายฝากที่ดินไว้แก่จำเลยที่ 1 มีกำหนดเวลาไถ่ 3 ปี การที่โจทก์ทั้งสองตกลงกับจำเลยที่ 1 ก่อนเวลาไถ่ครบกำหนดว่ายอมให้โจทก์ซื้อในราคาเดิมเมื่อสิ้นสุดสัญญาแล้วข้อตกลงดังกล่าวย่อมมีผลเช่นเดียวกับให้โจทก์ทั้งสองมีสิทธิไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝากคืนได้ แม้จะพ้นกำหนดเวลาไถ่ 3 ปี ตามที่กำหนดไว้ในสัญญาขายฝาก เป็นการขยายกำหนดเวลาไถ่ทรัพย์สินต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 496 ข้อตกลงจึงเป็นโมฆะโจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องบังคับให้จำเลยที่ 1 โอนที่ดินตามข้อตกลงได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงขยายกำหนดเวลาไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝากเกินกว่าที่กฎหมายกำหนดเป็นโมฆะ
โจทก์ทั้งสองทำสัญญาขายฝากที่ดินไว้แก่จำเลยที่1มีกำหนดเวลาไถ่3ปีการที่โจทก์ทั้งสองตกลงกับจำเลยที่1ก่อนเวลาไถ่ครบกำหนดว่ายอมให้โจทก์ซื้อในราคาเดิมเมื่อสิ้นสุดสัญญาแล้วข้อตกลงดังกล่าวย่อมมีผลเช่นเดียวกับให้โจทก์ทั้งสองมีสิทธิไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝากคืนได้แม้จะพ้นกำหนดเวลาไถ่3ปีตามที่กำหนดไว้ในสัญญาขายฝากเป็นการขยายกำหนดเวลาไถ่ทรัพย์สินต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา496ข้อตกลงจึงเป็นโมฆะโจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องบังคับให้จำเลยที่1โอนที่ดินตามข้อตกลงได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงขยายกำหนดไถ่ที่ดินหลังครบกำหนดสัญญาขายฝากเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 496
โจทก์ทั้งสองทำสัญญาขายฝากที่ดินไว้แก่จำเลยที่1มีกำหนดเวลาไถ่3ปีการที่โจทก์ทั้งสองตกลงกับจำเลยที่1ก่อนเวลาไถ่ครบกำหนดว่ายอมให้โจทก์ซื้อในราคาเดิมเมื่อสิ้นสุดสัญญาแล้วข้อตกลงดังกล่าวย่อมมีผลเช่นเดียวกับให้โจทก์ทั้งสองมีสิทธิไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝากคืนได้แม้จะพ้นกำหนดเวลาไถ่3ปีตามที่กำหนดไว้ในสัญญาขายฝากเป็นการขยายกำหนดเวลาไถ่ทรัพย์สินต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา496ข้อตกลงจึงเป็นโมฆะโจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องบังคับให้จำเลยที่1โอนที่ดินตามข้อตกลงได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาขายฝากขยายเวลาไถ่เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดเป็นโมฆะ
โจทก์ทั้งสองทำสัญญาขายฝากที่ดินไว้แก่จำเลยที่ 1 มีกำหนดเวลาไถ่ 3 ปี การที่โจทก์ทั้งสองตกลงกับจำเลยที่ 1 ก่อนเวลาไถ่ครบกำหนดว่ายอมให้โจทก์ซื้อในราคาเดิมเมื่อสิ้นสุดสัญญาแล้ว ข้อตกลงดังกล่าวย่อมมีผลเช่นเดียวกับให้โจทก์ทั้งสองมีสิทธิไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝากคืนได้ แม้จะพ้นกำหนดเวลาไถ่3 ปี ตามที่กำหนดไว้ในสัญญาขายฝาก เป็นการขยายกำหนดเวลาไถ่ทรัพย์สินต้องห้ามตาม ป.พ.พ. มาตรา 496 ข้อตกลงจึงเป็นโมฆะ โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องบังคับให้จำเลยที่ 1 โอนที่ดินตามข้อตกลงได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1473/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานใช้แรงงานเด็ก ต้องพิสูจน์ว่านายจ้างรู้ถึงอายุที่แท้จริงของเด็ก
การที่นายจ้างจะมีความผิดฐานรับเด็กหญิงอายุต่ำกว่า13ปีบริบูรณ์เข้าทำงานอันเป็นการใช้แรงงานเด็กตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน(ฉบับที่10)ข้อ20ซึ่งออกตามความในข้อ2(3)แห่งประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่103ลงวันที่16มีนาคม2515ต้องได้ความว่านายจ้างรู้ว่าเด็กที่ตนรับเป็นลูกจ้างอายุต่ำกว่า13ปีบริบูรณ์ซึ่งโจทก์จะต้องพิสูจน์ให้เห็นว่านายจ้างผู้รับเด็กเข้าทำงานรู้เช่นนั้นเมื่อโจทก์นำสืบไม่ได้นายจ้างก็ไม่มีความผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1473/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานใช้แรงงานเด็ก: นายจ้างต้องรู้ว่าลูกจ้างอายุต่ำกว่า 13 ปี
การที่นายจ้างจะมีความผิดฐานรับเด็กหญิงอายุต่ำกว่า 13 ปีบริบูรณ์เข้าทำงานอันเป็นการใช้แรงงานเด็ก ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 10) ข้อ 20 ซึ่งออกตามความในข้อ 2 (3) แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2515 ต้องได้ความว่านายจ้างรู้ว่าเด็กที่ตนรับเป็นลูกจ้างอายุต่ำกว่า 13 ปีบริบูรณ์ ซึ่งโจทก์จะต้องพิสูจน์ให้เห็นว่านายจ้างผู้รับเด็กเข้าทำงานรู้เช่นนั้น เมื่อโจทก์นำสืบไม่ได้ นายจ้างก็ไม่มีความผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1473/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้แรงงานเด็ก: นายจ้างต้องรู้ถึงอายุที่แท้จริงจึงมีความผิด
ความผิดฐานรับเด็กอายุต่ำกว่า13ปีบริบูรณ์เป็นลูกจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน(ฉบับที่12)ข้อ20ซึ่งออกตามความในข้อ2(3)แห่งประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่103นั้นโจทก์ต้องนำสืบให้เห็นว่าบุคคลที่เป็นนายจ้างรู้ว่าเด็กที่ตนรับเป็นลูกจ้างนั้นมีอายุต่ำกว่า13ปีบริบูรณ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1337/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญา: การสนับสนุนมิให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ vs. การถูกเรียกเงินภายหลัง
โจทก์กล่าวอ้างว่า จำเลยเรียกร้องเงินจากโจทก์ครั้งแรกในวันที่ 6 มิถุนายน 2531 โจทก์เองก็ได้ยอมรับว่าได้ต่อรองจำนวนเงินและตกลงให้เงินแก่จำเลยจำนวน 15,000 บาท ถือได้ว่าโจทก์สมัครใจมอบเงินจำนวนดังกล่าวให้จำเลยเพื่อไม่ต้องการให้จำเลยส่งเรื่องแบ่งแยกที่ดินไปกระทรวงดังจำเลยอ้าง โจทก์จึงมีส่วนสนับสนุนไม่ให้จำเลยกระทำการตามหน้าที่ดังกล่าว โจทก์จึงไม่ใช่ผู้เสียหายไม่มีอำนาจฟ้อง แต่ที่โจทก์กล่าวอ้างว่า ในวันที่ 9 มิถุนายน2532 จำเลยได้เรียกร้องเงินจากโจทก์อีกเป็นครั้งที่สองจำนวน 4,000 บาทจำเลยจึงจะมอบ น.ส.3 ก. ที่แบ่งแยกให้โจทก์นั้น โจทก์ไม่ยินยอมมอบเงินแก่จำเลยแต่อย่างใด โจทก์จึงเป็นผู้เสียหายมีอำนาจฟ้องจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1337/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของโจทก์ในคดีเรียกรับเงินจากเจ้าพนักงาน: การมอบเงินโดยสมัครใจ vs. การถูกเรียกรับเงิน
โจทก์กล่าวอ้างว่าจำเลยเรียกร้องเงินจากโจทก์ครั้งแรกในวันที่6มิถุนายน2531โจทก์เองก็ได้ยอมรับว่าได้ต่อรองจำนวนเงินและตกลงให้เงินแก่จำเลยจำนวน15,000บาทถือได้ว่าโจทก์สมัครใจมอบเงินจำนวนดังกล่าวให้จำเลยเพื่อไม่ต้องการให้จำเลยส่งเรื่องแบ่งแยกที่ดินไปกระทรวงดังจำเลยอ้างโจทก์จึงมีส่วนสนับสนุนไม่ให้จำเลยกระทำการตามหน้าที่ดังกล่าวโจทก์จึงไม่ใช่ผู้เสียหายไม่มีอำนาจฟ้องแต่ที่โจทก์กล่าวอ้างว่าในวันที่9มิถุนายน2532จำเลยได้เรียกร้องเงินจากโจทก์อีกเป็นครั้งที่สองจำนวน4,000บาทจำเลยจึงจะมอบน.ส.3ก.ที่แบ่งแยกให้โจทก์นั้นโจทก์ไม่ยินยอมมอบเงินแก่จำเลยแต่อย่างใดโจทก์จึงเป็นผู้เสียหายมีอำนาจฟ้องจำเลยได้