พบผลลัพธ์ทั้งหมด 178 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 800/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่ศาลในการรับรองอุทธรณ์และการส่งสำนวนไปยังอธิบดีอัยการ: ผู้ต้องดำเนินการเอง
การอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่ส่งสำนวนและอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการพิจารณารับรองตามคำร้องของโจทก์ร่วมนั้น ผู้อุทธรณ์ต้องทำเป็นอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 และชอบที่ศาลอุทธรณ์จะได้วินิจฉัยโดยทำเป็นคำพิพากษามิใช่ทำเป็นคำสั่ง แต่โดยที่ศาลอุทธรณ์ได้ทำคำสั่งโดยผู้พิพากษาสองนาย เพียงแต่ผิดแบบเฉพาะการทำเป็นคำพิพากษาหรือคำสั่งจึงไม่จำเป็นที่จะให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาใหม่ (อ้างฎีกาที่ 1244/2503)
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรอง การรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เอง ผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเอง หาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่ (อ้างฎีกาที่ 656/2506)
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรอง การรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เอง ผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเอง หาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่ (อ้างฎีกาที่ 656/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 800/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่ศาลในการส่งเรื่องขอรับรองอุทธรณ์ไปยังอธิบดีอัยการ และรูปแบบคำวินิจฉัยของศาล
การอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่.ไม่ส่งสำนวนและอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการพิจารณารับรองตามคำร้องของโจทก์ร่วมนั้น. ผู้อุทธรณ์ต้องทำเป็นอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193. และชอบที่ศาลอุทธรณ์จะได้วินิจฉัยโดยทำเป็นคำพิพากษามิใช่ทำเป็นคำสั่ง. แต่โดยที่ศาลอุทธรณ์ได้ทำคำสั่งโดยผู้พิพากษาสองนาย เพียงแต่ผิดแบบเฉพาะการทำเป็นคำพิพากษาหรือคำสั่ง.จึง.ไม่จำเป็นที่จะให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาใหม่(อ้างฎีกาที่ 1244/2503).
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรอง. การรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เอง. ผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเอง. หาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่.(อ้างฎีกาที่ 656/2506).
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรอง. การรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เอง. ผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเอง. หาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่.(อ้างฎีกาที่ 656/2506).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 800/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่ศาลในการรับรองอุทธรณ์และการส่งเรื่องให้อธิบดีอัยการ ผู้ต้องดำเนินการเอง
การอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่ส่งสำนวนและอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการพิจารณารับรองตามคำร้องของโจทก์ร่วมนั้นผู้อุทธรณ์ต้องทำเป็นอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 และชอบที่ศาลอุทธรณ์จะได้วินิจฉัยโดยทำเป็นคำพิพากษามิใช่ทำเป็นคำสั่งแต่โดยที่ศาลอุทธรณ์ได้ทำคำสั่งโดยผู้พิพากษาสองนาย เพียงแต่ผิดแบบเฉพาะการทำเป็นคำพิพากษาหรือคำสั่งจึงไม่จำเป็นที่จะให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาใหม่(อ้างฎีกาที่ 1244/2503)
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรองการรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เองผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเองหาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่ (อ้างฎีกาที่ 656/2506)
การที่จะให้อธิบดีกรมอัยการรับรองอุทธรณ์นั้น กฎหมายมิได้บัญญัติให้ศาลชั้นต้นมีหน้าที่ต้องส่งอุทธรณ์ไปให้อธิบดีกรมอัยการรับรองการรับรองอุทธรณ์เป็นประโยชน์แก่ผู้อุทธรณ์เองผู้อุทธรณ์จึงต้องขวนขวายขอร้องไปยังอธิบดีกรมอัยการเองหาใช่อาศัยศาลเป็นเครื่องมือส่งต่อไปยังอธิบดีกรมอัยการไม่ (อ้างฎีกาที่ 656/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 261/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิจำเลยในการมีทนายความ - การพิจารณาคดีอาญาที่มิชอบ - ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๐๘(๒)
คดีอาญาที่โจทก์ขอให้ลงโทษจำเลยซึ่งมีอัตราโทษจำคุกถึง 10 ปี เมื่อศาลชั้นต้นมิได้สอบถามจำเลยในเรื่องทนายความ และพิพากษาลงโทษจำคุก ทำให้จำเลยเสียเปรียบในการดำเนินคดี ย่อมเป็นการจำเป็นที่จะให้ศาลชั้นต้นทำการพิจารณาพิพากษาใหม่ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 208 (2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 261/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิจำเลยในการมีทนาย - ความจำเป็นในการพิจารณาคดีใหม่ หากจำเลยไม่ได้รับการสอบถามเรื่องทนาย
คดีอาญาที่โจทก์ขอให้ลงโทษจำเลยซึ่งมีอัตราโทษจำคุกถึง10 ปี เมื่อศาลชั้นต้นมิได้สอบถามจำเลยในเรื่องทนายความ และพิพากษาลงโทษจำคุก ทำให้จำเลยเสียเปรียบในการดำเนินคดี ย่อมเป็นการจำเป็นที่จะให้ศาลชั้นต้นทำการพิจารณาพิพากษาใหม่ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 208(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 872/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาฐานไม่เข็ดหลาบต้องกระทำหลังจำเลยมีทนาย และการรับสารภาพก่อนมีทนายยังใช้ได้
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดฐานชิงทรัพย์ตามมาตรา 339 ให้จำคุก 5 ปี และเพิ่มโทษจำเลยตามมาตรา 93 กึ่งหนึ่ง รวมเป็นโทษจำคุก 7 ปี 6 เดือน ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าไม่เพิ่มโทษตามมาตรา 93 คงจำคุกเพียง 5 ปี เช่นนี้ ถือได้ว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ทั้งบทและโทษ เป็นการแก้ไขมาก จึงฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้.
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้ในคดีอุกฉกรรจ์ที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ไม่ได้หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การรับในข้อเคยต้องโทษก่อนตั้งทนาย คำรับก็ไม่เสียไป.
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้ในคดีอุกฉกรรจ์ที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ไม่ได้หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การรับในข้อเคยต้องโทษก่อนตั้งทนาย คำรับก็ไม่เสียไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 872/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาฐานไม่เข็ดหลาบ: จำเลยให้การรับสารภาพก่อนมีทนาย ไม่กระทบคำรับ หากโจทก์มิได้สืบพยานยืนยัน
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดฐานชิงทรัพย์ตามมาตรา 339 ให้จำคุก 5 ปี และเพิ่มโทษจำเลยตามมาตรา 93กึ่งหนึ่ง รวมเป็นโทษจำคุก 7 ปี 6 เดือน ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าไม่เพิ่มโทษตามมาตรา 93 คงจำคุกเพียง 5 ปี เช่นนี้ถือได้ว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ทั้งบทและโทษ เป็นการแก้ไขมาก จึงฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้ในคดีอุกฉกรรจ์ที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ไม่ได้หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การรับในข้อเคยต้องโทษก่อนตั้งทนาย คำรับก็ไม่เสียไป
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้ในคดีอุกฉกรรจ์ที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ไม่ได้หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การรับในข้อเคยต้องโทษก่อนตั้งทนาย คำรับก็ไม่เสียไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 871/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสอบถามจำเลยเรื่องทนายก่อนการพิจารณาคดี และการรับฟังคำให้การเพื่อเพิ่มโทษ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 173 บัญญัติให้ศาลสอบถามจำเลยเรื่องทนาย. ถ้าจำเลยไม่มีทนาย และจำเลยต้องการ ก็ให้ศาลตั้งทนายให้จำเลยเสียก่อนเริ่มพิจารณาถ้าศาลสอบถามคำให้การจำเลยก่อนสอบถามเรื่องทนายก็ย่อมเป็นการไม่ชอบ แต่ก็ไม่จำเป็นต้องให้ดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่ในเมื่อศาลฎีกาเห็นว่าไม่มีเหตุอันสมควรที่จะให้ดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้คดีที่เป็นความผิดอุกฉกรรจ์ มีอัตราโทษจำคุกตามที่ระบุไว้ มิใช่หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย การที่จำเลยจะถูกเพิ่มโทษหรือไม่ เป็นคนละส่วนกับกรณีความผิดที่จำเลยถูกฟ้องร้อง ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การก่อนที่ศาลสอบถามจำเลยเรื่องทนาย คำให้การนั้นก็ไม่เสียไป ทั้งตามรูปคดีก็ไม่มีเหตุน่าสงสัยว่าคำให้การของจำเลยในข้อนี้จะไม่เป็นความจริง คำรับของจำเลยในข้อเคยต้องโทษและพ้นโทษ จึงรับฟังเพื่อเพิ่มโทษจำเลยได้(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 10-11/2509)
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้คดีที่เป็นความผิดอุกฉกรรจ์ มีอัตราโทษจำคุกตามที่ระบุไว้ มิใช่หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย การที่จำเลยจะถูกเพิ่มโทษหรือไม่ เป็นคนละส่วนกับกรณีความผิดที่จำเลยถูกฟ้องร้อง ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การก่อนที่ศาลสอบถามจำเลยเรื่องทนาย คำให้การนั้นก็ไม่เสียไป ทั้งตามรูปคดีก็ไม่มีเหตุน่าสงสัยว่าคำให้การของจำเลยในข้อนี้จะไม่เป็นความจริง คำรับของจำเลยในข้อเคยต้องโทษและพ้นโทษ จึงรับฟังเพื่อเพิ่มโทษจำเลยได้(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 10-11/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 871/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสอบถามจำเลยเรื่องทนายก่อนเริ่มพิจารณา และการรับฟังคำให้การเพื่อเพิ่มโทษ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 173 บัญญัติให้ศาลสอบถามจำเลยเรื่องทนาย ถ้าจำเลยไม่มีทนาย และจำเลยต้องการ ก็ให้ศาลตั้งทนายให้จำเลยเสียก่อนเริ่มพิจารณา การถามคำให้การจำเลยก็เป็นการพิจารณา ถ้าศาลสอบถามคำให้การจำเลยก่อนสอบถามเรื่องทนายก็ย่อมเป็นการไม่ชอบ แต่ก็ไม่จำเป็นต้องให้ดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่ในเมื่อศาลฎีกาเห็นว่าไม่มีเหตุอันสมควรที่จะให้ดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้คดีที่เป็นความผิดอุกฉกรรจ์ มีอัตราโทษจำคุกตามที่ระบุไว้ มิใช่หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย การที่จำเลยจะถูกเพิ่มโทษหรือไม่ เป็นคนละส่วนกับกรณีความผิดที่จำเลยถูกฟ้องร้อง ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การก่อนที่ศาลสอบถามจำเลยเรื่องทนาย คำให้การนั้นก็ไม่เสียไป ทั้งตามรูปคดีก็ไม่มีเหตุน่าสงสัยว่าคำให้การของจำเลยในข้อนี้จะไม่เป็นความจริง คำรับของจำเลยในข้อเคยต้องโทษและพ้นโทษ จึงรับฟังเพื่อเพิ่มโทษจำเลยได้.
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 10 -11/2509)
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้คดีที่เป็นความผิดอุกฉกรรจ์ มีอัตราโทษจำคุกตามที่ระบุไว้ มิใช่หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย การที่จำเลยจะถูกเพิ่มโทษหรือไม่ เป็นคนละส่วนกับกรณีความผิดที่จำเลยถูกฟ้องร้อง ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การก่อนที่ศาลสอบถามจำเลยเรื่องทนาย คำให้การนั้นก็ไม่เสียไป ทั้งตามรูปคดีก็ไม่มีเหตุน่าสงสัยว่าคำให้การของจำเลยในข้อนี้จะไม่เป็นความจริง คำรับของจำเลยในข้อเคยต้องโทษและพ้นโทษ จึงรับฟังเพื่อเพิ่มโทษจำเลยได้.
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 10 -11/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 477/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญาที่ราษฎรเป็นโจทก์: ความสำคัญตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กระบวนการไต่สวนมูลฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 (12), 162, 165, 167 นั้น เป็นเป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
คดีอาญาที่ราษฎรเป็นโจทก์ ศาลชั้นต้นส่งรับประทับฟ้องโดยไม่ไต่สวนมูลฟ้องเสียก่อนนั้น ไม่ใช่การกระทำของโจทก์ จึงปราศจากข้ออ้างที่จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ และการที่จำเลยไม่ให้การรับสารภาพ ไม่ค้าน จะเท่ากับรับว่า คดีโจทก์มีมูลก็ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลล่าง ให้ศาลชั้นต้นดำเนินการไต่สวนมูลฟ้อง และพิจารณาพิพากษาต่อไป
คดีอาญาที่ราษฎรเป็นโจทก์ ศาลชั้นต้นส่งรับประทับฟ้องโดยไม่ไต่สวนมูลฟ้องเสียก่อนนั้น ไม่ใช่การกระทำของโจทก์ จึงปราศจากข้ออ้างที่จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ และการที่จำเลยไม่ให้การรับสารภาพ ไม่ค้าน จะเท่ากับรับว่า คดีโจทก์มีมูลก็ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลล่าง ให้ศาลชั้นต้นดำเนินการไต่สวนมูลฟ้อง และพิจารณาพิพากษาต่อไป