พบผลลัพธ์ทั้งหมด 391 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2360/2539 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโต้แย้งดุลพินิจศาลในการรอการลงโทษจำคุก ถือเป็นการฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง จึงต้องห้ามตามกฎหมาย
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย 6 เดือน ศาลอุทธรณ์ภาค 2 พิพากษาแก้เป็นว่า ให้ปรับจำเลย 10,000 บาท อีกสถานหนึ่ง แล้วรอการลงโทษจำคุกไว้มีกำหนด 2 ปี เป็นกรณีที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ภาค 2 ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 40,000 บาท จึงห้ามมิให้โจทก์ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตาม ป.วิ.อ. มาตรา 219 การที่โจทก์ฎีกาขอให้ไม่รอการลงโทษจำเลยเป็นการโต้เถียงดุลพินิจในการกำหนดโทษของศาลอุทธรณ์ภาค 2 เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง จึงต้องห้ามตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2360/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฎีกาที่ไม่ได้รับอนุญาต เนื่องจากเป็นการโต้เถียงดุลพินิจศาลอุทธรณ์ในการกำหนดโทษ ซึ่งขัดต่อข้อจำกัดการฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย6เดือนศาลอุทธรณ์ภาค2พิพากษาแก้เป็นว่าให้ปรับจำเลย10,000บาทอีกสถานหนึ่งแล้วรอการลงโทษจำคุกไว้มีกำหนด2ปีเป็นกรณีที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ภาค2ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน2ปีและปรับไม่เกิน40,000บาทจึงห้ามมิให้โจทก์ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา219การที่โจทก์ฎีกาขอให้ไม่รอการลงโทษจำเลยเป็นการโต้เถียงดุลพินิจในการกำหนดโทษของศาลอุทธรณ์ภาค2เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงจึงต้องห้ามตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2360/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฎีกาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายเนื่องจากศาลอุทธรณ์แก้ไขโทษจำคุกเป็นปรับและรอการลงโทษ ซึ่งเป็นการโต้เถียงดุลพินิจของศาล
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย 6 เดือน ศาลอุทธรณ์ภาค 2 พิพากษาแก้เป็นว่า ให้ปรับจำเลย 10,000 บาท อีกสถานหนึ่งแล้วรอการลงโทษจำคุกไว้มีกำหนด 2 ปี เป็นกรณีที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ภาค 2 ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน40,000 บาท จึงห้ามมิให้โจทก์ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219 การที่โจทก์ฎีกาขอให้ไม่รอการลงโทษจำเลยเป็นการโต้เถียงดุลพินิจในการกำหนดโทษของศาลอุทธรณ์ภาค 2 เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง จึงต้องห้ามตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2360/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฎีกาที่ไม่ได้รับอนุญาตเนื่องจากศาลอุทธรณ์แก้ไขโทษให้เบาลง และอยู่ในกรอบโทษที่กฎหมายกำหนด
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย6เดือนศาลอุทธรณ์ภาค2พิพากษาแก้เป็นว่าให้ปรับจำเลย10,000บาทอีกสถานหนึ่งแล้วรอการลงโทษจำคุกไว้มีกำหนด2ปีเป็นกรณีที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ภาค2ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน2ปีและปรับไม่เกิน40,000บาทจึงห้ามมิให้โจทก์ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา219การที่โจทก์ฎีกาขอให้ไม่รอการลงโทษจำเลยเป็นการโต้เถียงดุลพินิจในการกำหนดโทษของศาลอุทธรณ์ภาค2เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงจึงต้องห้ามตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2044/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายไม่สมบูรณ์เมื่อมีข้อขัดแย้งเรื่องสาระสำคัญ และการตกลงใหม่ยังไม่เป็นสัญญา
โจทก์ผู้ซื้อและจำเลยที่ 1 ผู้ขายมีเจตนาจะทำสัญญาซื้อขายเครื่องและอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียกันเป็นหนังสือ จึงได้จัดทำหนังสือสัญญาซื้อขายขึ้น แต่จำเลยที่ 1 ขีดฆ่าข้อความยี่ห้อไนเฮาส์อันเป็นข้อสาระสำคัญออก โดยโจทก์ไม่ได้ยินยอมด้วย แสดงว่ายังมีข้อโต้แย้งกันในข้อนี้จนต้องมีการเจรจากันอีก ดังนี้ จึงถือไม่ได้ว่าโจทก์และจำเลยที่ 1 ได้ตกลงกันในข้อดังกล่าว และทำหนังสือสัญญาซื้อขายกันให้ถูกต้องสมบูรณ์ตามที่ตกลงกัน นับว่ายังมิได้มีสัญญาซื้อขายต่อกันตาม ป.พ.พ. มาตรา 366
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1770/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความประมาทในการขับรถตามหลัง การเว้นระยะห่างเพื่อความปลอดภัย และความรับผิดตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก
ก่อนเกิดเหตุมีผู้โดยสารเคาะกระจกให้จำเลยที่1จอดรถจำเลยที่1จึงจอดรถเข้าข้างทางให้ผู้โดยสารลงขณะที่ผู้โดยสารกำลังลงจากรถจำเลยที่2ก็ขับรถจักรยานยนต์แล่นมาชนท้ายรถของจำเลยที่1แม้จะฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่2ขับรถเร็วแต่พฤติการณ์แห่งคดีน่าเชื่อว่าจำเลยที่2ขับรถจักรยานยนต์ตามหลังรถของจำเลยที่ 1ด้วยความประมาทโดยไม่เว้นระยะห่างพอสมควรในระยะที่จะหยุดรถโดยปลอดภัยจำเลยที่2จึงมีความผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบกพ.ศ.2522มาตรา43(4),157
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1770/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความประมาทในการขับขี่และการเว้นระยะห่างที่ปลอดภัย ส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์
ก่อนเกิดเหตุ มีผู้โดยสารเคาะกระจกให้จำเลยที่ 1 จอดรถจำเลยที่ 1 จึงจอดรถเข้าข้างทางให้ผู้โดยสารลง ขณะที่ผู้โดยสารกำลังลงจากรถจำเลยที่ 2 ก็ขับรถจักรยานยนต์แล่นมาชนท้ายรถของจำเลยที่ 1 แม้จะฟังไม่ได้ว่าจำเลยที่ 2 ขับรถเร็ว แต่พฤติการณ์แห่งคดีน่าเชื่อว่า จำเลยที่ 2 ขับรถจักรยานยนต์ตามหลังรถของจำเลยที่ 1 ด้วยความประมาทโดยไม่เว้นระยะห่างพอสมควรในระยะที่จะหยุดรถโดยปลอดภัย จำเลยที่ 2 จึงมีความผิดตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43 (4), 157
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1750/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญาหลังชันสูตรพลิกศพ: กรณีผู้ตายไม่ได้อยู่ในการควบคุมของเจ้าพนักงานขณะถูกทำร้าย
ขณะที่ผู้ตายถูกทำร้าย ผู้ตายมิได้เป็นผู้ต้องหาและอยู่ในความควบคุมตัวของเจ้าพนักงาน แม้ผู้ตายจะถึง แก่ความตายในระหว่างที่เจ้าพนักงานตำรวจนำตัวส่งโรงพยาบาลก็ไม่ใช่กรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทำของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่หรือตายในระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ จึงไม่ใช่กรณีที่ต้องดำเนินการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคสาม เมื่อพนักงานสอบสวนและแพทย์ทำการชันสูตรพลิกศพเสร็จแล้ว พนักงานอัยการโจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1750/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญา: การทำร้ายร่างกายและการแจ้งความเท็จ ไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 150 วรรคสาม
จำเลยซึ่งไม่ได้เป็นเจ้าพนักงานทำร้ายผู้ตายแล้วไปแจ้งความว่าผู้ตายบุกรุก เจ้าพนักงานตำรวจนำตัวผู้ตายส่งโรงพยาบาล โดยขณะที่ผู้ตายถูกจำเลยทำร้ายนั้นผู้ตายมิได้เป็นผู้ต้องหาในข้อหาบุกรุก และมิได้อยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงาน แม้ผู้ตายจะถึงแก่ความตายในระหว่างที่เจ้าพนักงานตำรวจนำตัวส่งโรงพยาบาลก็ไม่ใช่กรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทำของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ หรือตายในระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ จึงไม่ใช่กรณีที่ต้องดำเนินการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 150 วรรคสาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1750/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีทำร้ายร่างกาย: ผู้ตายไม่ได้เป็นผู้ต้องหาและไม่ได้อยู่ในการควบคุมของเจ้าพนักงานขณะถูกทำร้าย
จำเลยได้ทำร้ายผู้ตายหลังจากนั้นจำเลยจึงไปแจ้งความว่าผู้ตายบุกรุกเจ้าพนักงานตำรวจนำตัวผู้ตายส่งโรงพยาบาลและต่อมาถึงแก่ความตายพนักงานสอบสวนจึงร่วมกับแพทย์ชันสูตรพลิกศพผู้ตายไว้โดยที่ขณะผู้ตายถูกจำเลยทำร้ายนั้นผู้ตายมิได้เป็นผู้ต้องหาในข้อหาบุกรุกและมิได้อยู่ในความควบคุมตัวของเจ้าพนักงานแต่อย่างใดแม้ผู้ตายจะถึงแก่ความตายในระหว่างที่เจ้าพนักงานตำรวจนำตัวส่งโรงพยาบาลก็ไม่ใช่กรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทำของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่หรือตายในระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่จึงไม่ใช่กรณีที่ต้องดำเนินการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา150วรรคสามเมื่อพนักงานสอบสวนและแพทย์ทำการชันสูตรพลิกศพเสร็จแล้วพนักงานอัยการโจทก์จึงมี อำนาจฟ้องจำเลยได้