พบผลลัพธ์ทั้งหมด 140 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1518/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
องค์ประกอบความผิดเช็ค, อำนาจฟ้อง, ผู้เสียหายจากการปฏิเสธเช็ค: ศาลฎีกายืนตามศาลอุทธรณ์
พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ.2534มาตรา4บัญญัติว่า"ผู้ใดออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายโดยมีลักษณะหรือมีการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้(1)เจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้นฯลฯเมื่อได้มีการยื่นเช็คเพื่อให้ใช้เงินโดยชอบด้วยกฎหมายถ้าธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คนั้นผู้ออกเช็คมีความผิด"ตามบทบัญญัติดังกล่าวการออกเช็คที่จะเป็นความผิดนั้นจะต้องเป็นการออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายด้วยอันเป็นข้อเท็จจริงประการหนึ่งซึ่งเป็นองค์ประกอบของความผิดการที่โจทก์บรรยายฟ้องมีสาระสำคัญว่าผู้เสียหายเป็นผู้ทรงเช็คพิพาทซึ่งจำเลยออกเพื่อชำระหนี้ค่าปุ๋ยเคมีให้แก่ผู้เสียหายเมื่อเช็คถึงกำหนดผู้เสียหายได้นำเข้าบัญชีเพื่อเรียกเก็บเงินแต่ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงินโดยให้เหตุผลว่า"โปรดติดต่อผู้สั่งจ่าย"เป็นที่เห็นได้ว่าคำฟ้องของโจทก์ได้บรรยายข้อเท็จจริงแล้วว่าจำเลยสั่งจ่ายเช็คพิพาทเพื่อชำระหนี้ค่าปุ๋ยเคมีอันเป็นหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายคำฟ้องของโจทก์จึงชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา158(5)หาเป็นคำฟ้องที่ไม่สมบูรณ์แต่อย่างใดไม่ ย. กรรมการผู้มีอำนาจกระทำการแทนโจทก์ร่วมลงชื่อในช่องผู้มอบอำนาจพร้อมทั้งประทับตราสำคัญของโจทก์ร่วมแม้ตามหนังสือมอบอำนาจจะไม่มีข้อความระบุว่าย.มอบอำนาจให้ป. เป็นผู้มีอำนาจร้องทุกข์และดำเนินคดีแก่จำเลยโดยกระทำในฐานะกรรมการผู้มีอำนาจของโจทก์ร่วมก็ตามก็ถือได้ว่าการลงลายมือชื่อดังกล่าวและประทับตราของโจทก์ร่วมมิใช่กระทำในฐานะส่วนตัวแต่อย่างใดการมอบอำนาจให้ร้องทุกข์และดำเนินคดีแก่จำเลยจึงสมบูรณ์ตามกฎหมายพนักงานสอบสวนจึงมีอำนาจสอบสวนโดยชอบโจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1518/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีเช็ค – องค์ประกอบความผิด – หนังสือมอบอำนาจ – ผู้เสียหาย
พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4 บัญญัติว่า "ผู้ใดออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายโดยมีลักษณะหรือมีการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) เจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น ฯลฯเมื่อได้มีการยื่นเช็คเพื่อให้ใช้เงินโดยชอบด้วยกฎหมายถ้าธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คนั้นผู้ออกเช็คมีความผิด" ตามบทบัญญัติดังกล่าวการออกเช็คที่จะเป็นความผิดนั้นจะต้องเป็นการออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายด้วย อันเป็นข้อเท็จจริงประการหนึ่งซึ่งเป็นองค์ประกอบของความผิด การที่โจทก์บรรยายฟ้องมีสาระสำคัญว่าผู้เสียหายเป็นผู้ทรงเช็คพิพาทซึ่งจำเลยออกเพื่อชำระหนี้ค่าปุ๋ยเคมีให้แก่ผู้เสียหาย เมื่อเช็คถึงกำหนดผู้เสียหายได้นำเข้าบัญชีเพื่อเรียกเก็บเงิน แต่ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงินโดยให้เหตุผลว่า "โปรดติดต่อผู้สั่งจ่าย" เป็นที่เห็นได้ว่า คำฟ้องของโจทก์ได้บรรยายข้อเท็จจริงแล้วว่าจำเลยสั่งจ่ายเช็คพิพาทเพื่อชำระหนี้ค่าปุ๋ยเคมีอันเป็นหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย คำฟ้องของโจทก์จึงชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) หาเป็นคำฟ้องที่ไม่สมบูรณ์แต่อย่างใดไม่ ย. กรรมการผู้มีอำนาจกระทำการแทนโจทก์ร่วมลงชื่อในช่องผู้มอบอำนาจพร้อมทั้งประทับตราสำคัญของโจทก์ร่วมแม้ตามหนังสือมอบอำนาจจะไม่มีข้อความระบุว่า ย.มอบอำนาจให้ ป. เป็นผู้มีอำนาจร้องทุกข์และดำเนินคดีแก่จำเลยโดยกระทำในฐานะกรรมการผู้มีอำนาจของโจทก์ร่วมก็ตามก็ถือได้ว่าการลงลายมือชื่อดังกล่าวและประทับตราของโจทก์ร่วมมิใช่กระทำในฐานะส่วนตัวแต่อย่างใด การมอบอำนาจให้ร้องทุกข์และดำเนินคดีแก่จำเลยจึงสมบูรณ์ตามกฎหมายพนักงานสอบสวนจึงมีอำนาจสอบสวนโดยชอบ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1518/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
องค์ประกอบความผิดเช็คเด้ง & อำนาจฟ้องร้องดำเนินคดี
พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.2534มาตรา 4 บัญญัติว่า "ผู้ใดออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายโดยมีลักษณะหรือมีการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (1) เจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น ฯลฯ เมื่อได้มีการยื่นเช็คเพื่อให้ใช้เงินโดยชอบด้วยกฎหมายถ้าธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คนั้นผู้ออกเช็คมีความผิด..." ตามบทบัญญัติดังกล่าวการออกเช็คที่จะเป็นความผิดนั้น จะต้องเป็นการออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายด้วย อันเป็นข้อเท็จจริงประการหนึ่งซึ่งเป็นองค์-ประกอบของความผิด การที่โจทก์บรรยายฟ้องมีสาระสำคัญว่า ผู้เสียหายเป็นผู้ทรงเช็คพิพาทซึ่งจำเลยออกเพื่อชำระหนี้ค่าปุ๋ยเคมีให้แก่ผู้เสียหาย เมื่อเช็คถึงกำหนดผู้เสียหายได้นำเข้าบัญชีเพื่อเรียกเก็บเงิน แต่ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงินโดยให้เหตุผลว่า "โปรดติดต่อผู้สั่งจ่าย" เป็นที่เห็นได้ว่า คำฟ้องของโจทก์ได้บรรยายข้อเท็จจริงแล้วว่า จำเลยสั่งจ่ายเช็คพิพาทเพื่อชำระหนี้ค่าปุ๋ยเคมีอันเป็นหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย คำฟ้องของโจทก์จึงชอบด้วย ป.วิ.อ.มาตรา158 (5) หาเป็นคำฟ้องที่ไม่สมบูรณ์แต่อย่างใดไม่
ย.กรรมการผู้มีอำนาจกระทำการแทนโจทก์ร่วมลงชื่อในช่องผู้มอบอำนาจพร้อมทั้งประทับตราสำคัญของโจทก์ร่วม แม้ตามหนังสือมอบอำนาจจะไม่มีข้อความระบุว่า ย.มอบอำนาจให้ ป.เป็นผู้มีอำนาจร้องทุกข์และดำเนินคดีแก่จำเลยโดยกระทำในฐานะกรรมการผู้มีอำนาจของโจทก์ร่วมก็ตาม ก็ถือได้ว่าการลงลายมือชื่อดังกล่าวและประทับตราของโจทก์ร่วมมิใช่กระทำในฐานะส่วนตัวแต่อย่างใด การมอบอำนาจให้ร้องทุกข์และดำเนินคดีแก่จำเลยจึงสมบูรณ์ตามกฎหมาย พนักงานสอบสวนจึงมีอำนาจสอบสวนโดยชอบ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
ย.กรรมการผู้มีอำนาจกระทำการแทนโจทก์ร่วมลงชื่อในช่องผู้มอบอำนาจพร้อมทั้งประทับตราสำคัญของโจทก์ร่วม แม้ตามหนังสือมอบอำนาจจะไม่มีข้อความระบุว่า ย.มอบอำนาจให้ ป.เป็นผู้มีอำนาจร้องทุกข์และดำเนินคดีแก่จำเลยโดยกระทำในฐานะกรรมการผู้มีอำนาจของโจทก์ร่วมก็ตาม ก็ถือได้ว่าการลงลายมือชื่อดังกล่าวและประทับตราของโจทก์ร่วมมิใช่กระทำในฐานะส่วนตัวแต่อย่างใด การมอบอำนาจให้ร้องทุกข์และดำเนินคดีแก่จำเลยจึงสมบูรณ์ตามกฎหมาย พนักงานสอบสวนจึงมีอำนาจสอบสวนโดยชอบ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 9695/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจมอบคดีเช็ค & ความผิดตาม พ.ร.บ.เช็ค: การมอบอำนาจก่อนเกิดความผิด & ขอบเขตอำนาจ
คำฟ้องโจทก์บรรยายว่า จำเลยออกเช็ครวม 4 ฉบับ ให้แก่โจทก์ร่วมเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย ครั้นเช็คถึงกำหนดโจทก์ร่วมเรียกเก็บเงิน แต่ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน ทั้งนี้เพราะจำเลยออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค คำฟ้องดังกล่าวได้บรรยายข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการกระทำของจำเลยครบถ้วนเพียงพอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาและต่อสู้คดีได้แล้ว ส่วนปัญหาที่ว่าจำเลยเป็นหนี้ค่าอะไรนั้นเป็นเพียงรายละเอียดที่โจทก์จะต้องนำสืบในชั้นพิจารณา โจทก์ไม่จำต้องบรรยายมาในฟ้อง ฟ้องโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม
ผู้ใดจะมอบอำนาจไว้ล่วงหน้าให้แก่บุคคลใดเพื่อกระทำกิจการอย่างหนึ่งอย่างใดแทนตนซึ่งไม่ขัดต่อกฎหมายย่อมสามารถจะทำได้ การมอบอำนาจให้แจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีความผิดเกี่ยวกับเช็คแก่พนักงานสอบสวน เป็นการมอบอำนาจให้กระทำกิจการอย่างหนึ่งซึ่งไม่ขัดต่อกฎหมายแม้ในขณะมอบอำนาจความผิดยังไม่เกิด ผู้มอบอำนาจก็สามารถจะมอบอำนาจไว้ก่อนได้
ในขณะที่มีการมอบอำนาจนั้น โจทก์ร่วมอ้างว่าจำเลยออกเช็คให้แก่โจทก์ร่วมจำนวน 4 ฉบับ และขณะนั้นมีเช็ค 2 ฉบับ ถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินแล้ว โจทก์ร่วมจึงมอบอำนาจให้ ม.แจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนให้ดำเนินคดีแก่จำเลยแทนโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมก็มิได้เจาะจงให้ผู้รับมอบอำนาจแจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนสำหรับเช็คฉบับใดโดยเฉพาะ หากแต่เป็นการมอบอำนาจให้กระทำการแทนสำหรับเช็คฉบับใดก็ได้ที่จำเลยออกให้แก่โจทก์ร่วม หากเช็คฉบับนั้นถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินดังนั้นเมื่อต่อมาปรากฏว่าเช็คที่เหลืออีก 2 ฉบับ ก็ถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินม.จึงมีอำนาจที่จะแจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนให้ดำเนินคดีแก่จำเลยในความผิดเกี่ยวกับเช็ค 2 ฉบับหลังได้ด้วย และเมื่อ ม.ได้แจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนแล้ว พนักงานสอบสวนก็มีอำนาจสอบสวนและพนักงานอัยการจึงมีอำนาจฟ้องได้
คดีนี้เป็นคดีอาญาซึ่งข้อเท็จจริงฟังได้ว่า จำเลยเป็นหนี้โจทก์ร่วมจริงโดยมีมูลหนี้มาจากค่าก่อสร้าง และต่อมาจำเลยได้ทำสัญญากู้ยืมเงินให้แก่โจทก์ร่วมไว้การกู้ยืมเงินระหว่างโจทก์ร่วมกับจำเลยนั้นมีหลักฐานเป็นหนังสือแล้วจำเลยได้ออกเช็คพิพาทชำระหนี้ดังกล่าว เช็คพิพาทจึงเป็นเช็คที่จำเลยออกเพื่อชำระหนี้ทีมีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย เมื่อเช็คดังกล่าวถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน เนื่องจากจำเลยออกเช็คโดยมีเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค จำเลยจึงมีความผิดตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ.2534 มาตรา 4
ผู้ใดจะมอบอำนาจไว้ล่วงหน้าให้แก่บุคคลใดเพื่อกระทำกิจการอย่างหนึ่งอย่างใดแทนตนซึ่งไม่ขัดต่อกฎหมายย่อมสามารถจะทำได้ การมอบอำนาจให้แจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีความผิดเกี่ยวกับเช็คแก่พนักงานสอบสวน เป็นการมอบอำนาจให้กระทำกิจการอย่างหนึ่งซึ่งไม่ขัดต่อกฎหมายแม้ในขณะมอบอำนาจความผิดยังไม่เกิด ผู้มอบอำนาจก็สามารถจะมอบอำนาจไว้ก่อนได้
ในขณะที่มีการมอบอำนาจนั้น โจทก์ร่วมอ้างว่าจำเลยออกเช็คให้แก่โจทก์ร่วมจำนวน 4 ฉบับ และขณะนั้นมีเช็ค 2 ฉบับ ถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินแล้ว โจทก์ร่วมจึงมอบอำนาจให้ ม.แจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนให้ดำเนินคดีแก่จำเลยแทนโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมก็มิได้เจาะจงให้ผู้รับมอบอำนาจแจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนสำหรับเช็คฉบับใดโดยเฉพาะ หากแต่เป็นการมอบอำนาจให้กระทำการแทนสำหรับเช็คฉบับใดก็ได้ที่จำเลยออกให้แก่โจทก์ร่วม หากเช็คฉบับนั้นถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินดังนั้นเมื่อต่อมาปรากฏว่าเช็คที่เหลืออีก 2 ฉบับ ก็ถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินม.จึงมีอำนาจที่จะแจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนให้ดำเนินคดีแก่จำเลยในความผิดเกี่ยวกับเช็ค 2 ฉบับหลังได้ด้วย และเมื่อ ม.ได้แจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนแล้ว พนักงานสอบสวนก็มีอำนาจสอบสวนและพนักงานอัยการจึงมีอำนาจฟ้องได้
คดีนี้เป็นคดีอาญาซึ่งข้อเท็จจริงฟังได้ว่า จำเลยเป็นหนี้โจทก์ร่วมจริงโดยมีมูลหนี้มาจากค่าก่อสร้าง และต่อมาจำเลยได้ทำสัญญากู้ยืมเงินให้แก่โจทก์ร่วมไว้การกู้ยืมเงินระหว่างโจทก์ร่วมกับจำเลยนั้นมีหลักฐานเป็นหนังสือแล้วจำเลยได้ออกเช็คพิพาทชำระหนี้ดังกล่าว เช็คพิพาทจึงเป็นเช็คที่จำเลยออกเพื่อชำระหนี้ทีมีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย เมื่อเช็คดังกล่าวถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน เนื่องจากจำเลยออกเช็คโดยมีเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค จำเลยจึงมีความผิดตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ.2534 มาตรา 4
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 9695/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมอบอำนาจแจ้งความร้องทุกข์คดีเช็ค, การฟ้องคดีเช็ค และการพิสูจน์มูลหนี้ที่แท้จริง
คำฟ้องโจทก์บรรยายว่า จำเลยออกเช็ครวม 4 ฉบับ ให้แก่โจทก์ร่วมเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย ครั้นเช็คถึงกำหนดโจทก์ร่วมเรียกเก็บเงิน แต่ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน ทั้งนี้เพราะจำเลยออกเช็คโดยเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค คำฟ้องดังกล่าวได้บรรยายข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการกระทำของจำเลยครบถ้วนเพียงพอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาและต่อสู้คดีได้แล้ว ส่วนปัญหาที่ว่าจำเลยเป็นหนี้ค่าอะไรนั้นเป็นเพียงรายละเอียดที่โจทก์จะต้องนำสืบในชั้นพิจารณา โจทก์ไม่จำต้องบรรยายมาในฟ้อง ฟ้องโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม
ผู้ใดจะมอบอำนาจไว้ล่วงหน้าให้แก่บุคคลใดเพื่อกระทำกิจการอย่างหนึ่งอย่างใดแทนตนซึ่งไม่ขัดต่อกฎหมายย่อมสามารถจะทำได้ การมอบอำนาจให้แจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีความผิดเกี่ยวกับเช็คแก่พนักงานสอบสวน เป็นการมอบอำนาจให้กระทำกิจการอย่างหนึ่งซึ่งไม่ขัดต่อกฎหมายแม้ในขณะมอบอำนาจความผิดยังไม่เกิดผู้มอบอำนาจก็สามารถจะมอบอำนาจไว้ก่อนได้
ในขณะที่มีการมอบอำนาจนั้น โจทก์ร่วมอ้างว่าจำเลยออกเช็คให้แก่โจทก์ร่วมจำนวน 4 ฉบับ และขณะนั้นมีเช็ค 2 ฉบับ ถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินแล้ว โจทก์ร่วมจึงมอบอำนาจให้ ม. แจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนให้ดำเนินคดีแก่จำเลยแทนโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมก็มิได้เจาะจงให้ผู้รับมอบอำนาจแจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนสำหรับเช็คฉบับใดโดยเฉพาะ หากแต่เป็นการมอบอำนาจให้กระทำการแทนสำหรับเช็คฉบับใดก็ได้ที่จำเลยออกให้แก่โจทก์ร่วม หากเช็คฉบับนั้นถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ดังนั้น เมื่อต่อมาปรากฏว่าเช็คที่เหลืออีก 2 ฉบับก็ถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ม.จึงมีอำนาจที่จะแจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนให้ดำเนินคดีแก่จำเลยในความผิดเกี่ยวกับเช็ค 2 ฉบับหลังได้ด้วย และเมื่อ ม. ได้แจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนแล้ว พนักงานสอบสวนก็มีอำนาจสอบสวนและพนักงานอัยการจึงมีอำนาจฟ้องได้
คดีนี้เป็นคดีอาญาซึ่งข้อเท็จจริงฟังได้ว่า จำเลยเป็นหนี้โจทก์ร่วมจริงโดยมีมูลหนี้มาจากค่าก่อสร้าง และต่อมาจำเลยได้ทำสัญญากู้ยืมเงินให้แก่โจทก์ร่วมไว้การกู้ยืมเงินระหว่างโจทก์ร่วมกับจำเลยนั้นมีหลักฐานเป็นหนังสือแล้วจำเลยได้ออกเช็คพิพาทชำระหนี้ดังกล่าว เช็คพิพาทจึงเป็นเช็คที่จำเลยออกเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย เมื่อเช็คดังกล่าวถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน เนื่องจากจำเลยออกเช็คโดยมีเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค จำเลยจึงมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4
ผู้ใดจะมอบอำนาจไว้ล่วงหน้าให้แก่บุคคลใดเพื่อกระทำกิจการอย่างหนึ่งอย่างใดแทนตนซึ่งไม่ขัดต่อกฎหมายย่อมสามารถจะทำได้ การมอบอำนาจให้แจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีความผิดเกี่ยวกับเช็คแก่พนักงานสอบสวน เป็นการมอบอำนาจให้กระทำกิจการอย่างหนึ่งซึ่งไม่ขัดต่อกฎหมายแม้ในขณะมอบอำนาจความผิดยังไม่เกิดผู้มอบอำนาจก็สามารถจะมอบอำนาจไว้ก่อนได้
ในขณะที่มีการมอบอำนาจนั้น โจทก์ร่วมอ้างว่าจำเลยออกเช็คให้แก่โจทก์ร่วมจำนวน 4 ฉบับ และขณะนั้นมีเช็ค 2 ฉบับ ถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินแล้ว โจทก์ร่วมจึงมอบอำนาจให้ ม. แจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนให้ดำเนินคดีแก่จำเลยแทนโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมก็มิได้เจาะจงให้ผู้รับมอบอำนาจแจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนสำหรับเช็คฉบับใดโดยเฉพาะ หากแต่เป็นการมอบอำนาจให้กระทำการแทนสำหรับเช็คฉบับใดก็ได้ที่จำเลยออกให้แก่โจทก์ร่วม หากเช็คฉบับนั้นถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ดังนั้น เมื่อต่อมาปรากฏว่าเช็คที่เหลืออีก 2 ฉบับก็ถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ม.จึงมีอำนาจที่จะแจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนให้ดำเนินคดีแก่จำเลยในความผิดเกี่ยวกับเช็ค 2 ฉบับหลังได้ด้วย และเมื่อ ม. ได้แจ้งความร้องทุกข์และมอบคดีแก่พนักงานสอบสวนแล้ว พนักงานสอบสวนก็มีอำนาจสอบสวนและพนักงานอัยการจึงมีอำนาจฟ้องได้
คดีนี้เป็นคดีอาญาซึ่งข้อเท็จจริงฟังได้ว่า จำเลยเป็นหนี้โจทก์ร่วมจริงโดยมีมูลหนี้มาจากค่าก่อสร้าง และต่อมาจำเลยได้ทำสัญญากู้ยืมเงินให้แก่โจทก์ร่วมไว้การกู้ยืมเงินระหว่างโจทก์ร่วมกับจำเลยนั้นมีหลักฐานเป็นหนังสือแล้วจำเลยได้ออกเช็คพิพาทชำระหนี้ดังกล่าว เช็คพิพาทจึงเป็นเช็คที่จำเลยออกเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย เมื่อเช็คดังกล่าวถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน เนื่องจากจำเลยออกเช็คโดยมีเจตนาจะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค จำเลยจึงมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5762/2537
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดต่อส่วนตัวไม่กระทบอำนาจฟ้องคดีทำร้ายร่างกาย และเหตุไม่ควรปรานีในการรอการลงโทษ
ข้อหาความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 และ 297ที่พนักงานอัยการโจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยนั้น มิใช่เป็นความผิดต่อส่วนตัว ดังนั้น การที่ ถ.และอ. จะเป็นผู้เสียหายตามกฎหมายหรือไม่ หามีผลต่ออำนาจฟ้องของพนักงานอัยการโจทก์ไม่ ฎีกาของจำเลยในข้อนี้จึงไม่เป็นสาระแก่คดีอันควรได้รับการวินิจฉัย ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้ พฤติการณ์ที่จำเลยกับพวกกระทำแก่ ถ.และอ. เป็นการกระทำที่รุนแรง มีการใช้ไม้ท่อนและขวดเป็นอาวุธ ร่วมกระทำความผิดด้วยกันหลายคนโดยที่ฝ่ายผู้เสียหายทั้งสองมิได้เป็นฝ่ายก่อเหตุก่อนและผลแห่งการถูกทำร้ายร่างกายครั้งนั้น ถ. ได้รับอันตรายสาหัสถึงกับเลือดคั่งใต้กะโหลกศีรษะ สมองช้ำ เดินไม่ได้ตามปกติทั้งไม่ปรากฏว่าจำเลยได้บรรเทาผลร้ายแห่งคดีแต่อย่างใดเลยจึงไม่มีเหตุอันควรปรานีด้วยการรอการลงโทษให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5762/2537 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีอาญาและการพิจารณาโทษจากพฤติการณ์ร้ายแรง
ข้อหาความผิดตาม ป.อ. มาตรา 295 และ 297 ที่พนักงานอัยการโจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยนั้น มิใช่เป็นความผิดต่อส่วนตัว ดังนั้น การที่ถ.และ อ. จะเป็นผู้เสียหายตามกฎหมายหรือไม่ หามีผลต่ออำนาจฟ้องของพนักงานอัยการโจทก์ไม่ ฎีกาของจำเลยในข้อนี้จึงไม่เป็นสาระแก่คดีอันควรได้รับการวินิจฉัย ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
พฤติการณ์ที่จำเลยกับพวกกระทำแก่ ถ.และ อ.เป็นการกระทำที่รุนแรง มีการใช้ไม้ท่อนและขวดเป็นอาวุธ ร่วมกระทำความผิดด้วยกันหลายคนโดยที่ฝ่ายผู้เสียหายทั้งสองมิได้เป็นฝ่ายก่อเหตุก่อนและผลแห่งการถูกทำร้ายร่างกายครั้งนั้น ถ.ได้รับอันตรายสาหัสถึงกับเลือดคั่งใต้กะโหลกศีรษะ สมองช้ำ เดินไม่ได้ตามปกติ ทั้งไม่ปรากฏว่าจำเลยได้บรรเทาผลร้ายแห่งคดีแต่อย่างใดเลย จึงไม่มีเหตุอันควรปรานีด้วยการรอการลงโทษให้
พฤติการณ์ที่จำเลยกับพวกกระทำแก่ ถ.และ อ.เป็นการกระทำที่รุนแรง มีการใช้ไม้ท่อนและขวดเป็นอาวุธ ร่วมกระทำความผิดด้วยกันหลายคนโดยที่ฝ่ายผู้เสียหายทั้งสองมิได้เป็นฝ่ายก่อเหตุก่อนและผลแห่งการถูกทำร้ายร่างกายครั้งนั้น ถ.ได้รับอันตรายสาหัสถึงกับเลือดคั่งใต้กะโหลกศีรษะ สมองช้ำ เดินไม่ได้ตามปกติ ทั้งไม่ปรากฏว่าจำเลยได้บรรเทาผลร้ายแห่งคดีแต่อย่างใดเลย จึงไม่มีเหตุอันควรปรานีด้วยการรอการลงโทษให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5059/2537 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือมอบอำนาจไม่ติดอากรแสตมป์ใช้เป็นหลักฐานในคดีอาญาได้
ที่จำเลยที่ 1 ฎีกาว่า คดีนี้มิได้มีการร้องทุกข์กล่าวโทษเพราะหนังสือมอบอำนาจให้ดำเนินการแจ้งความร้องทุกข์ไม่ชอบด้วยกฎหมายเนื่องจากไม่ได้ปิดอากรแสตมป์นั้น ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 118 บัญญัติความว่า "ตราสารใดไม่ปิดแสตมป์บริบูรณ์จะใช้... เป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่งไม่ได้..." เห็นว่าบทบัญญัติดังกล่าวตราสารที่ปิดแสตมป์ไม่บริบูรณ์จะใช้เป็นพยานหลักฐานไม่ได้เฉพาะในคดีแพ่งเท่านั้น ไม่รวมถึงคดีอาญาด้วย เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าเอกสารหมายป.จ.2 ของศาลอาญา เป็นเอกสารที่แท้จริงที่ผู้เสียหายมอบอำนาจให้นายสวัสดีวงศ์อริยจิต ไปแจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนดำเนินคดีแก่จำเลยที่ 1 กับพวก และนายสวัสดีได้ไปร้องทุกข์ตามหนังสือมอบอำนาจนี้ จึงเป็นการร้องทุกข์ที่ชอบด้วยกฎหมายแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5059/2537
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือมอบอำนาจแจ้งความไม่สมบูรณ์ไม่กระทบการฟ้องคดีอาญา และพยานหลักฐานเชื่อมโยงความผิดฐานรับของโจร
ที่จำเลยที่ 1 ฎีกาว่า คดีนี้มิได้มีการร้องทุกข์กล่าวโทษเพราะหนังสือมอบอำนาจให้ดำเนินการแจ้งความร้องทุกข์ไม่ชอบด้วยกฎหมายเนื่องจากไม่ได้ปิดอากรแสตมป์นั้น ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 118 บัญญัติความว่า "ตราสารใดไม่ปิดแสตมป์บริบูรณ์จะใช้ เป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่งไม่ได้" เห็นว่าบทบัญญัติดังกล่าวตราสารที่ปิดแสตมป์ไม่บริบูรณ์จะใช้เป็นพยานหลักฐานไม่ได้เฉพาะในคดีแพ่งเท่านั้นไม่รวมถึงคดีอาญาด้วย เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าเอกสารหมาย ป.จ.2ของศาลอาญา เป็นเอกสารที่แท้จริงที่ผู้เสียหายมอบอำนาจให้นายสวัสดีวงศ์อริยจิต ไปแจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนดำเนินคดีแก่จำเลยที่ 1 กับพวก และนายสวัสดีได้ไปร้องทุกข์ตามหนังสือมอบอำนาจนี้ จึงเป็นการร้องทุกข์ที่ชอบด้วยกฎหมายแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5008/2537
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องอาญา: ผู้ร้องทุกข์ต้องมีอำนาจในฐานะผู้เสียหายหรือได้รับมอบอำนาจจากผู้เสียหาย
ส.เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนจำกัดส.ยานยนต์ฯ จำเลยเช่าซื้อรถจักรยานยนต์ของห้างฯผู้เสียหายไปแล้วไม่ได้ส่งเงินค่างวดและได้นำรถจักรยานยนต์ไปขายให้บุคคลอื่น ส.จึงมาร้อยทุกข์ให้พนักงานสอบสวนดำเนินคดีแก่จำเลยข้อหายักยอก ข้อความในคำร้องทุกข์ไม่ได้ระบุว่า ส.เกี่ยวข้องกับห้างฯ ผู้เสียหายอย่างไรและไม่ได้ระบุว่า ส.ได้ร้องทุกข์ในนามของห้างฯ ผู้เสียหายทั้งไม่ปรากฎรอยตราของผู้เสียหายในช่องผู้ร้องทุกข์แต่อย่างใด จึงไม่อาจแปลเจตนาได้ว่า ส.ร้องทุกข์ในนามของผู้เสียหาย แม้ตามข้อเท็จจริง ส.จะเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของผู้เสียหายก็ไม่อาจแปลเจตนาว่ากระทำแทนผู้เสียหายในกรณีเช่นนี้ได้ เมื่อห้างฯ ซึ่งเป็นผู้เสียหายที่แท้จริงไม่ได้ร้องทุกข์ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง