พบผลลัพธ์ทั้งหมด 144 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6488/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง: ศาลไม่ปฏิบัติตามขั้นตอน ป.วิ.พ. มาตรา 174(2) ไม่ถือเป็นการทิ้งฟ้อง
โจทก์ยื่นฟ้อง ศาลชั้นต้นมีคำสั่งว่ารับคำฟ้อง หมายเรียก และสำเนาให้จำเลยแบบคดีมโนสาเร่ ให้โจทก์นำส่งภายใน 7 วัน ถ้าส่งไม่ได้ให้โจทก์แถลงเพื่อดำเนินการต่อไปภายใน 7 วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ มิฉะนั้นถือว่าโจทก์ทิ้งฟ้องซึ่งเมื่อโจทก์นำส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยทั้งสองในครั้งแรกไม่ได้โจทก์ได้ยื่นคำแถลงภายในกำหนด ขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลยทั้งสองอีกครั้งหนึ่ง อันเป็นการปฏิบัติตามคำสั่งดังกล่าวแล้ว ส่วนในการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลยทั้งสองครั้งที่สองนั้น ศาลชั้นต้นไม่ได้มีคำสั่งให้โจทก์แถลงเพื่อดำเนินการต่อไปภายในเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนดในกรณีที่ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลยทั้งสองไม่ได้ ทั้งไม่ได้สั่งให้โจทก์นำส่ง และเมื่อศาลแขวงตลิ่งชันมีหนังสือแจ้งให้ศาลชั้นต้นทราบว่าได้นำหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องไปส่งให้จำเลยที่ 2 เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2537 แต่ส่งไม่ได้ ศาลชั้นต้นก็เพียงมีคำสั่งว่า"รอโจทก์แถลง" ทั้งเมื่อพนักงานเดินหมายของศาลชั้นต้นรายงานว่าส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องในครั้งที่สองให้แก่จำเลยที่ 1 ไม่ได้เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2537ศาลชั้นต้นก็เพียงมีคำสั่งเช่นเดิมว่า "รอโจทก์แถลง" โดยศาลชั้นต้นมิได้ส่งคำสั่งที่สั่งในรายงานเจ้าหน้าที่ดังกล่าวทั้งสองฉบับให้โจทก์ทราบ ดังนั้นแม้โจทก์มิได้แถลงว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อไปจนกระทั่งเจ้าหน้าที่ของศาลชั้นต้นรายงานเมื่อวันที่ 4มีนาคม 2537 ซึ่งเป็นเวลาภายหลังจากวันที่ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยที่ 1 และที่ 2 ไม่ได้ถึง 25 วัน และ 32 วัน ตามลำดับแล้วก็ตาม ก็ไม่เป็นการทิ้งฟ้องตาม ป.วิ.พ. มาตรา 174 (2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6488/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งหมายเรียกและการทิ้งฟ้อง: ศาลต้องแจ้งคำสั่งให้โจทก์ทราบชัดเจนก่อนจำหน่ายคดี
โจทก์ยื่นฟ้อง ศาลชั้นต้นมีคำสั่งว่ารับคำฟ้อง หมายเรียกและสำเนาให้จำเลยแบบคดีมโนสาเร่ ให้โจทก์นำส่งภายใน 7 วัน ถ้าส่งไม่ได้ให้โจทก์แถลงเพื่อดำเนินการต่อไปภายใน 7 วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ มิฉะนั้นถือว่าโจทก์ทิ้งฟ้องซึ่งเมื่อโจทก์นำส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยทั้งสอง ในครั้งแรกไม่ได้ โจทก์ได้ยื่นคำแถลงภายในกำหนด ขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลยทั้งสองอีกครั้งหนึ่งอันเป็นการปฏิบัติตามคำสั่งดังกล่าวแล้ว ส่วนในการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลยทั้งสองครั้งที่สองนั้นศาลชั้นต้นไม่ได้มีคำสั่งให้โจทก์แถลงเพื่อดำเนินการต่อไปภายในเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนดในกรณีที่ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลยทั้งสองไม่ได้ ทั้งไม่ได้สั่งให้โจทก์นำส่ง และเมื่อศาลแขวงตลิ่งชันมีหนังสือแจ้งให้ศาลชั้นต้นทราบว่าได้นำหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องไปส่งให้จำเลยที่ 2 เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2537 แต่ส่งไม่ได้ศาลชั้นต้นก็เพียงมีคำสั่งว่า "รอโจทก์แถลง" ทั้งเมื่อพนักงานเดินหมายของศาลชั้นต้นรายงานว่าส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องในครั้งที่สองให้แก่จำเลยที่ 1 ไม่ได้เมื่อวันที่6 กุมภาพันธ์ 2537 ศาลชั้นต้นก็เพียงมีคำสั่งเช่นเดิมว่า"รอโจทก์แถลง" โดยศาลชั้นต้นมิได้ส่งคำสั่งที่สั่งในรายงานเจ้าหน้าที่ดังกล่าวทั้งสองฉบับให้โจทก์ทราบ ดังนั้นแม้โจทก์มิได้แถลงว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อไปจนกระทั่งเจ้าหน้าที่ของศาลชั้นต้นรายงานเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2537 ซึ่งเป็นเวลาภายหลังจากวันที่ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยที่ 1และที่ 2 ไม่ได้ ถึง 25 วัน และ 32 วัน ตามลำดับแล้วก็ตามก็ไม่เป็นการทิ้งฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 174(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6455/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับบัญชีระบุพยานหลังพ้นกำหนด & ข้อจำกัดการอุทธรณ์ฎีกาในคดีทุนทรัพย์น้อย
การที่จำเลยยื่นคำร้องขออนุญาตยื่นบัญชีระบุพยานของจำเลยหลังจากระยะเวลากำหนดให้ยื่นบัญชีระบุพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา88วรรคหนึ่งได้สิ้นสุดลงแล้วโดยอ้างว่ามีเหตุอันสมควรที่ไม่สามารถยื่นบัญชีระบุพยานตามกำหนดเวลาดังกล่าวได้และศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตนั้นเป็นกรณีที่ศาลชั้นต้นได้พิจารณาแล้วใช้ดุลพินิจอนุญาตให้จำเลยยื่นบัญชีระบุพยานตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา88ให้อำนาจไว้เมื่อคดีนี้มีทุนทรัพย์เพียง27,500บาทคู่ความจึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์และฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา224วรรคหนึ่งและมาตรา248วรรคหนึ่งตามลำดับการที่โจทก์อุทธรณ์ฎีกาโต้แย้งคำสั่งของศาลชั้นต้นดังกล่าวเป็นการอุทธรณ์ฎีกาโต้แย้งดุลพินิจของศาลชั้นต้นอันเป็นการอุทธรณ์ฎีกาในข้อเท็จจริงจึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ฎีกาตามบทบัญญัติดังกล่าว การที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์ใช้ค่าทนายความแทนจำเลยเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนดเป็นการไม่ชอบศาลฎีกาย่อมกำหนดใหม่ให้ถูกต้องได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6455/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์ฎีกาคำสั่งรับบัญชีระบุพยานเกินกรอบเวลาและข้อจำกัดเรื่องทุนทรัพย์ ศาลฎีกามีอำนาจแก้ไขค่าทนายความ
การที่จำเลยยื่นคำร้องขออนุญาตยื่นบัญชีระบุพยานของจำเลยหลังจากระยะเวลากำหนดให้ยื่นบัญชีระบุพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา88วรรคหนึ่งได้สิ้นสุดลงแล้วโดยอ้างว่ามีเหตุอันสมควรที่ไม่สามารถยื่นบัญชีระบุพยานตามกำหนดเวลาดังกล่าวได้และศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตนั้นเป็นกรณีที่ศาลชั้นต้นได้พิจารณาแล้วใช้ดุลพินิจอนุญาตให้จำเลยยื่นบัญชีระบุพยานตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา88ให้อำนาจไว้เมื่อคดีนี้มีทุนทรัพย์เพียง27,500บาทคู่ความจึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์และฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา224วรรคหนึ่งและมาตรา248วรรคหนึ่งตามลำดับการที่โจทก์อุทธรณ์ฎีกาโต้แย้งคำสั่งของศาลชั้นต้นดังกล่าวเป็นการอุทธรณ์ฎีกาโต้แย้งดุลพินิจของศาลชั้นต้นอันเป็นการอุทธรณ์ฎีกาในข้อเท็จจริงจึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ฎีกาตามบทบัญญัติดังกล่าว การที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์ใช้ค่าทนายความแทนจำเลยเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนดเป็นการไม่ชอบศาลฎีกาย่อมกำหนดใหม่ให้ถูกต้องได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6455/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอนุญาตให้ยื่นบัญชีระบุพยานหลังกำหนดเวลา และข้อจำกัดการอุทธรณ์คดีทุนทรัพย์น้อย
การที่จำเลยยื่นคำร้องขออนุญาตยื่นบัญชีระบุพยานของจำเลยหลังจากระยะเวลากำหนดให้ยื่นบัญชีระบุพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 วรรคหนึ่งได้สิ้นสุดลงแล้วโดยอ้างว่ามีเหตุอันสมควรที่ไม่สามารถยื่นบัญชีระบุพยานตามกำหนดเวลาดังกล่าวได้ และศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตนั้นเป็นกรณีที่ศาลชั้นต้นได้พิจารณาแล้วใช้ดุลพินิจอนุญาตให้จำเลยยื่นบัญชีระบุพยาน ตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 ให้อำนาจไว้เมื่อคดีนี้มีทุนทรัพย์เพียง 27,500 บาท คู่ความจึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์และฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 224 วรรคหนึ่งและมาตรา 248 วรรคหนึ่ง ตามลำดับ การที่โจทก์อุทธรณ์ฎีกาโต้แย้งคำสั่งของศาลชั้นต้นดังกล่าวเป็นการอุทธรณ์ฎีกาโต้แย้งดุลพินิจของศาลชั้นต้น อันเป็นการอุทธรณ์ฎีกาในข้อเท็จจริง จึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ฎีกาตามบทบัญญัติดังกล่าว การที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์ใช้ค่าทนายความแทนจำเลยเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนด เป็นการไม่ชอบศาลฎีกาย่อมกำหนดใหม่ให้ถูกต้องได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6455/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยื่นบัญชีระบุพยานหลังกำหนด & การอุทธรณ์คำสั่งศาล - ทุนทรัพย์น้อยกว่า 27,500 บาท
การที่จำเลยยื่นคำร้องขออนุญาตยื่นบัญชีระบุพยานของจำเลยหลังจากระยะเวลากำหนดให้ยื่นบัญชีระบุพยานตาม ป.วิ.พ. มาตรา 88 วรรคหนึ่งได้สิ้นสุดลงแล้วโดยอ้างว่ามีเหตุอันสมควรที่ไม่สามารถยื่นบัญชีระบุพยานตามกำหนดเวลาดังกล่าวได้ และศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตนั้นเป็นกรณีที่ศาลชั้นต้นได้พิจารณาแล้วใช้ดุลพินิจอนุญาตให้จำเลยยื่นบัญชีระบุพยาน ตามที่ ป.วิ.พ. มาตรา 88 ให้อำนาจไว้ เมื่อคดีนี้มีทุนทรัพย์เพียง 27,500 บาท คู่ความจึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์และฎีกาในข้อเท็จจริงตาม ป.วิ.พ. มาตรา 224 วรรคหนึ่ง และมาตรา 248วรรคหนึ่ง ตามลำดับ การที่โจทก์อุทธรณ์ฎีกาโต้แย้งคำสั่งของศาลชั้นต้นดังกล่าว เป็นการอุทธรณ์ฎีกาโต้แย้งดุลพินิจของศาลชั้นต้น อันเป็นการอุทธรณ์ฎีกาในข้อเท็จจริง จึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ฎีกาตามบทบัญญัติดังกล่าว
การที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์ใช้ค่าทนายความแทนจำเลยเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนด เป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาย่อมกำหนดใหม่ให้ถูกต้องได้
การที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์ใช้ค่าทนายความแทนจำเลยเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนด เป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาย่อมกำหนดใหม่ให้ถูกต้องได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6450/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายที่ดินช่วงห้ามโอนเป็นโมฆะ แม้มีการส่งมอบการครอบครองก็ไม่ทำให้เกิดสิทธิ
ขณะที่โจทก์กับจำเลยทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกันนั้นยังอยู่ในระยะเวลาการห้ามโอนตามกฎหมายนิติกรรมซื้อขายที่ดินระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงตกเป็นโมฆะเพราะฝ่าฝืนต่อกฎหมายและในกำหนดเวลาห้ามโอนนี้ย่อมไม่อาจส่งมอบการครอบครองแก่กันได้การส่งมอบการครอบครองในระยะเวลาการห้ามโอนตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวก็ถือเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายเช่นกันดังนี้แม้จะฟังว่าจำเลยส่งมอบการครอบครองให้แก่โจทก์แล้วโจทก์ก็ไม่ได้ครอบครองในที่ดินพิพาทแต่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6450/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมซื้อขายที่ดินช่วงห้ามโอนเป็นโมฆะ แม้มีการส่งมอบการครอบครองก็ไม่ทำให้เกิดสิทธิ
ขณะที่โจทก์กับจำเลยทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกันนั้นยังอยู่ในระยะเวลาการห้ามโอนตามกฎหมาย นิติกรรมซื้อขายที่ดินระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงตกเป็นโมฆะ เพราะฝ่าฝืนต่อกฎหมาย และในกำหนดเวลาห้ามโอนนี้ย่อมไม่อาจส่งมอบการครอบครองแก่กันได้การส่งมอบการครอบครองในระยะเวลาการห้ามโอนตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว ก็ถือเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายเช่นกัน ดังนี้แม้จะฟังว่าจำเลยส่งมอบการครอบครองให้แก่โจทก์แล้ว โจทก์ก็ไม่ได้ครอบครองในที่ดินพิพาทแต่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6450/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายที่ดินช่วงเวลาห้ามโอนเป็นโมฆะ แม้ส่งมอบการครอบครองก็ไม่ทำให้ได้สิทธิครอบครอง
ขณะที่โจทก์กับจำเลยทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกันนั้นยังอยู่ในระยะเวลาการห้ามโอนตามกฎหมายนิติกรรมการซื้อขายที่ดินระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงตกเป็นโมฆะเพราะฝ่าฝืนต่อกฎหมายและในกำหนดเวลาห้ามโอนนี้ย่อมไม่อาจส่งมอบการครอบครองแก่กันได้การส่งมอบการครอบครองในระยะเวลาการห้ามโอนตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวก็ถือเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายเช่นกันดังนี้แม้จะฟังว่าจำเลยส่งมอบการครอบครองให้แก่โจทก์แล้วโจทก์ก็ไม่ได้สิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทแต่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6450/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายที่ดินช่วงห้ามโอน: โมฆะและไร้สิทธิครอบครอง
ขณะที่โจทก์กับจำเลยทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกันนั้น ยังอยู่ในระยะเวลาการห้ามโอนตามกฎหมาย นิติกรรมการซื้อขายที่ดินระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงตกเป็นโมฆะ เพราะฝ่าฝืนต่อกฎหมาย และในกำหนดเวลาห้ามโอนนี้ย่อมไม่อาจส่งมอบการครอบครองแก่กันได้ การส่งมอบการครอบครองในระยะเวลาการห้ามโอนตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว ก็ถือเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายเช่นกัน ดังนี้ แม้จะฟังว่าจำเลยส่งมอบการครอบครองให้แก่โจทก์แล้ว โจทก์ก็ไม่ได้สิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทแต่อย่างใด