พบผลลัพธ์ทั้งหมด 938 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2175/2542 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การงดการบังคับคดีต้องมีการยึดทรัพย์ก่อน
การขอให้งดการบังคับคดีตาม ป.วิ.พ.มาตรา 293 จะต้องมีการบังคับคดีโดยการยึดหรืออายัดทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษาอยู่ก่อนแล้วในขณะที่ขอให้งดการบังคับคดี เมื่อคดีนี้ยังไม่มีการบังคับคดี จำเลยจะขอให้งดการบังคับคดีตามบทบัญญัติดังกล่าวหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2175/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การงดการบังคับคดีต้องมีการยึดหรืออายัดทรัพย์สินก่อน หากยังไม่มีการบังคับคดี การขอให้งดการบังคับคดีตามมาตรา 293 วรรคหนึ่ง จึงไม่เป็นไปตามกฎหมาย
การขอให้งดการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 293 จะต้องมีการบังคับคดีโดยการยึดหรืออายัดทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษาอยู่ก่อนแล้วในขณะที่ขอให้ งดการบังคับคดี เมื่อคดีนี้ยังไม่มีการบังคับคดี จำเลยจะขอให้งดการบังคับคดีตามบทบัญญัติดังกล่าวหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2175/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การงดบังคับคดีต้องมีการยึดหรืออายัดทรัพย์สินก่อน หากยังไม่มีการบังคับคดี การขอ งดบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 293 ย่อมทำไม่ได้
การขอให้งดการบังคับคดีตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 293 จะต้องมีการ บังคับคดีโดยการยึดหรืออายัดทรัพย์สินของลูกหนี้ตาม คำพิพากษาอยู่ก่อนแล้วในขณะที่ขอให้งดการบังคับคดี เมื่อคดีแรงงานเรื่องนี้ยังไม่มีการบังคับคดี จำเลยจะขอ ให้งดการบังคับคดีตามบทบัญญัติดังกล่าวหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2175/2542 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การงดบังคับคดีต้องมีการยึดหรืออายัดทรัพย์สินก่อน หากยังไม่มีการบังคับคดี การขอให้งดบังคับคดีตามมาตรา 293 วรรคหนึ่ง ไม่อาจทำได้
การที่จำเลยขอ งด การบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 293 ได้นั้นจะต้องมีการบังคับคดีโดยการยึดหรืออายัดทรัพย์สินของลูกหนี้ ตามคำพิพากษาอยู่ก่อนแล้วในขณะที่ขอให้งดการบังคับคดี แต่เมื่อ ปรากฏว่าจำเลยได้ขอให้ศาลแรงงานกลางงดการบังคับคดีโดยที่ยังมิได้มีการยึดหรืออายัดทรัพย์สินของจำเลยแต่อย่างใด ต้องถือว่าคดีนี้ยังไม่มีการบังคับคดี จำเลยจะขอให้งดการ บังคับคดีตามมาตรา 293 วรรคหนึ่ง หาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2173/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
องค์คณะศาลแรงงาน, การพิจารณาคดีโดยองค์คณะที่ถูกต้อง, การไม่คัดค้านข้อผิดพลาดในการพิจารณา
ตามคำพิพากษาศาลแรงงานในสำนวนมีผู้พิพากษาศาลแรงงานผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้าง และผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างฝ่ายละหนึ่งคนได้ลงลายมือชื่อไว้ครบเป็นองค์คณะพิพากษาคดีตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 17 แล้วที่จำเลยอุทธรณ์ว่า ผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างไม่ได้ลงลายมือชื่อด้วย เป็นอุทธรณ์บิดเบือนข้อความในคำพิพากษาเป็นอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงต้องห้ามอุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 54 วรรคหนึ่ง การนั่งพิจารณาคดีแรงงาน ศาลแรงงานต้องมีผู้พิพากษาผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้าง และผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างฝ่ายละเท่า ๆ กันเป็นองค์คณะพิจารณา หากศาลแรงงานมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้องในการพิจารณาคดีโดยผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างซึ่งเป็น องค์คณะไม่ได้นั่งร่วมในการพิจารณาคดี แต่มีผู้พิพากษาสมทบ ฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างคนอื่นมานั่งพิจารณาคดี แทน อันเป็นการผิดระเบียบ คู่ความฝ่ายที่เสียหายจะต้องยื่นคัดค้านก่อนมีคำพิพากษาแต่ต้องไม่ช้ากว่า 8 วัน นับแต่วันที่จำเลยได้ทราบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27 ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ. 2522 มาตรา 31 จำเลยทราบในวันนัดพิจารณา แล้วว่าเป็นการผิดระเบียบ จำเลยก็ชอบที่จะคัดค้านเสียภายใน8 วันเมื่อจำเลยมิได้คัดค้านจนกระทั่งล่วงพ้นระยะเวลาดังกล่าวจนกระทั่งศาลแรงงานได้มีคำพิพากษาไปแล้ว จำเลยจะมาอุทธรณ์โต้แย้งว่าการพิจารณาคดีในวันดังกล่าวไม่ชอบหาได้ไม่ และกรณีถือได้ว่าการพิจารณาคดีของศาลแรงงานชอบด้วยกฎหมายแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2173/2542 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
องค์คณะศาลแรงงานไม่ถูกต้อง อุทธรณ์ต้องห้าม หากไม่คัดค้านภายใน 8 วัน
ตามคำพิพากษาศาลแรงงานในสำนวนมีผู้พิพากษาศาลแรงงานผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้าง และผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างฝ่ายละหนึ่งคนได้ลงลายมือชื่อไว้ครบเป็นองค์คณะพิพากษาคดีตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 17 แล้ว ที่จำเลยอุทธรณ์ว่า ผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างไม่ได้ลงลายมือชื่อด้วย เป็นอุทธรณ์บิดเบือนข้อความในคำพิพากษา เป็นอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง ต้องห้ามอุทธรณ์ตามพ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 54วรรคหนึ่ง ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยการนั่งพิจารณาคดีแรงงาน ศาลแรงงานต้องมีผู้พิพากษา ผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างฝ่ายละเท่า ๆ กันเป็นองค์คณะพิจารณา หากศาลแรงงานมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้องในการพิจารณาคดี โดยผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างซึ่งเป็นองค์คณะไม่ได้นั่งร่วมในการพิจารณาคดี แต่มีผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างคนอื่นมานั่งพิจารณาคดีแทน อันเป็นการผิดระเบียบคู่ความฝ่ายที่เสียหายจะต้องยื่นคัดค้านก่อนมีคำพิพากษา แต่ต้องไม่ช้ากว่า 8 วันนับแต่วันที่จำเลยได้ทราบ ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 27 ประกอบ พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31 จำเลยทราบในวันนัดพิจารณาแล้วว่าเป็นการผิดระเบียบ จำเลยก็ชอบที่จะคัดค้านเสียภายใน 8 วัน เมื่อจำเลยมิได้คัดค้านจนกระทั่งล่วงพ้นระยะเวลาดังกล่าวจนกระทั่งศาลแรงงานได้มีคำพิพากษาไปแล้ว จำเลยจะมาอุทธรณ์โต้แย้งว่าการพิจารณาคดีในวันดังกล่าวไม่ชอบหาได้ไม่ และกรณีถือได้ว่าการพิจารณาคดีของศาลแรงงานชอบด้วยกฎหมายแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2173/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์ต้องไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง และต้องดำเนินการคัดค้านการพิจารณาคดีที่ผิดระเบียบภายในระยะเวลาที่กำหนด
ตามคำพิพากษาศาลแรงงานในสำนวนมีผู้พิพากษาศาลแรงงาน ผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้าง และผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้าง ฝ่ายละหนึ่งคนลงลายมือชื่อไว้ครบเป็นองค์คณะพิพากษาคดีตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 มาตรา 17 แล้ว ที่จำเลยอุทธรณ์ว่า ผู้พิพากษาสมทบ ฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างไม่ได้ ลงลายมือชื่อด้วย เป็นอุทธรณ์บิดเบือนข้อความในคำพิพากษา เป็นอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง ต้องห้ามอุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522มาตรา 54 วรรคหนึ่ง ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย การนั่งพิจารณาคดีแรงงาน ศาลแรงงานต้องมีผู้พิพากษาผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้าง ฝ่ายละเท่า ๆ กันเป็นองค์คณะพิจารณา หากศาลแรงงาน มิได้ปฏิบัติให้ถูกต้องในการพิจารณาคดี โดยผู้พิพากษาสมทบ ฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างซึ่งเป็นองค์คณะ ไม่ได้นั่งร่วมในการพิจารณาคดี แต่มีผู้พิพากษาสมทบ ฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างคนอื่นมานั่งพิจารณา คดีแทน ย่อมเป็นการผิดระเบียบคู่ความฝ่ายที่เสียหาย จะต้องยื่นคัดค้านเสียก่อนมีคำพิพากษา แต่ต้องไม่ช้ากว่า 8 วัน นับแต่วันที่คู่ความฝ่ายนั้นได้ทราบ ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27 ประกอบ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ. 2522 มาตรา 31 จำเลยทราบตั้งแต่ในวันนัดพิจารณาแล้วว่ามีการผิดระเบียบ จำเลยก็ชอบที่จะคัดค้านเสียภายใน 8 วัน เมื่อจำเลย มิได้คัดค้านจนกระทั่งล่วงพ้นระยะเวลาดังกล่าวจนกระทั่ง ศาลแรงงานได้มีคำพิพากษาไปแล้ว จำเลยจะมาอุทธรณ์โต้แย้งว่า การพิจารณาคดีในวันดังกล่าวไม่ชอบหาได้ไม่ และกรณีถือได้ว่าการพิจารณาคดีของศาลแรงงานชอบด้วยกฎหมายแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2173/2542 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
องค์คณะผู้พิพากษาสมทบในคดีแรงงาน การไม่คัดค้านภายใน 8 วัน ถือเป็นการสละสิทธิ์โต้แย้ง
การนั่งพิจารณาคดีแรงงาน ศาลแรงงานต้องมีผู้พิพากษาผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้าง และผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างฝ่ายละเท่า ๆ กันเป็นองค์คณะพิจารณาตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานฯมาตรา 17 และมาตรา 31 ซึ่งให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาใช้บังคับโดยอนุโลมดังนั้น ถ้าจำเลยเห็นว่าศาลแรงงานกลางมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้องในการพิจารณาคดี โดยผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้างและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างซึ่งเป็นองค์คณะไม่ได้นั่งร่วมในการพิจารณาคดี แต่มีผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้างและและผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างคนอื่นมานั่งพิจารณาคดีแทนจำเลยซึ่งเป็นคู่ความฝ่ายที่เสียหายจะต้องยื่นคำคัดค้านก่อนมี คำพิพากษา แต่ต้องไม่ช้ากว่า 8 วัน นับแต่วันที่จำเลยทราบตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27 เมื่อจำเลย ทราบวันที่ที่ผู้พิพากษาสมทบซึ่งเป็นองค์คณะมิได้นั่งพิจารณาคดี จำเลยย่อมทราบในวันดังกล่าวว่าเป็นการผิดระเบียบ และควรจะคัดค้านเสียภายใน 8 วัน เมื่อจำเลยมิได้ คัดค้านจนศาลแรงงานกลางพิพากษาจำเลยจะมาอุทธรณ์ โต้แย้งว่า การพิจารณาคดีในวันนั้น ๆ ไม่ชอบหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2172/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายระยะเวลาวางเงินค่าชดเชยในคดีแรงงาน ศาลต้องพิจารณาคำร้องก่อนสั่งคำฟ้อง
แม้พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541มาตรา 125 วรรคสาม จะกำหนดให้นายจ้างที่ประสงค์จะฟ้องเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานตามมาตรา 124 ต้องนำเงิน มาวางต่อศาลตามจำนวนที่ถึงกำหนดจ่ายตามคำสั่งพนักงาน ตรวจแรงงานพร้อมกับคำฟ้องก็ตาม แต่ก็ไม่ห้ามนายจ้าง ที่จะยื่นคำร้องขอขยายระยะเวลาวางเงินตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 23 ประกอบ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานฯ มาตรา 31 เมื่อโจทก์ ยื่นฟ้องพร้อมกับยื่นคำร้องขอขยายระยะเวลาวางเงินบางส่วน ต่อศาล ศาลแรงงานกลางจะต้องมีคำสั่งคำร้องขอดังกล่าว ก่อนที่จะพิจารณาสั่งคำฟ้อง การที่ศาลแรงงานกลางพิจารณา สั่งคำฟ้องโดยไม่พิจารณาสั่งคำร้องขอขยายระยะเวลาวางเงิน ก่อนเป็นการไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่ง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ว่าด้วยการพิจารณาตาม มาตรา 243(2) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานฯ มาตรา 31
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2172/2542 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายระยะเวลาวางเงินในคดีแรงงาน: ศาลต้องพิจารณาคำร้องก่อนสั่งคำฟ้อง
พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 125 วรรคสามมิใช่บทบัญญัติที่ห้ามมิให้นายจ้างยื่นคำร้องขอให้ศาลแรงงานขยายระยะเวลาวางเงินตาม ป.วิ.พ.มาตรา 23 ประกอบ พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31
โจทก์ยื่นฟ้องพร้อมกับยื่นคำร้องขอขยายระยะเวลาวางเงินบางส่วนต่อศาล ศาลแรงงานจะต้องมีคำสั่งคำร้องขอดังกล่าวก่อนว่าจะอนุญาตให้ขยายระยะเวลาวางเงินหรือไม่ เพียงใด การที่ศาลแรงงานพิจารณาสั่งคำฟ้องโดยไม่พิจารณาสั่งคำร้องขอขยายระยะเวลาวางเงินก่อน จึงเป็นการไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่ง ป.วิ.พ.ว่าด้วยการพิจารณา มาตรา 243 (2) ประกอบ พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31 ศาลฎีกาย้อนสำนวน ให้ศาลแรงงานมีคำสั่งคำร้องขอขยายระยะเวลาวางเงินต่อศาลก่อนแล้วจึงพิจารณาสั่งคำฟ้องและดำเนินการต่อไป
โจทก์ยื่นฟ้องพร้อมกับยื่นคำร้องขอขยายระยะเวลาวางเงินบางส่วนต่อศาล ศาลแรงงานจะต้องมีคำสั่งคำร้องขอดังกล่าวก่อนว่าจะอนุญาตให้ขยายระยะเวลาวางเงินหรือไม่ เพียงใด การที่ศาลแรงงานพิจารณาสั่งคำฟ้องโดยไม่พิจารณาสั่งคำร้องขอขยายระยะเวลาวางเงินก่อน จึงเป็นการไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่ง ป.วิ.พ.ว่าด้วยการพิจารณา มาตรา 243 (2) ประกอบ พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31 ศาลฎีกาย้อนสำนวน ให้ศาลแรงงานมีคำสั่งคำร้องขอขยายระยะเวลาวางเงินต่อศาลก่อนแล้วจึงพิจารณาสั่งคำฟ้องและดำเนินการต่อไป