พบผลลัพธ์ทั้งหมด 11 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3154/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจผู้แทนสหภาพแรงงาน: คณะกรรมการต้องร่วมกันดำเนินการ หรือมอบหมายให้กรรมการอื่นทำแทน
คณะกรรมการของสหภาพแรงงานเป็นผู้แทนที่มีอำนาจดำเนินกิจการของสหภาพแรงงาน หากคณะกรรมการของสหภาพแรงงานไม่ประสงค์จะดำเนินกิจการในฐานะเป็นผู้แทนทั้งหมด ก็มีสิทธิที่จะตกลงมอบหมายให้กรรมการของสหภาพแรงงานคนหนึ่งคนใดหรือหลายคนรวมกันทำกิจการแทนคณะกรรมการของสหภาพแรงงานได้ การดำเนินคดีของสหภาพแรงงานจำเลยที่ 1 ต้องกระทำร่วมกันโดยจำเลยที่ 2-14 ซึ่งเป็นคณะกรรมการ เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 3ผู้เดียวลงชื่อแต่งตั้ง ส. เป็นทนายความให้มีสิทธิอุทธรณ์ในนามจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 2-14 ซึ่งเป็นคณะกรรมการของจำเลยที่ 1มิได้มอบหมายให้จำเลยที่ 3 ดำเนินคดีแทนคณะกรรมการแต่อย่างใดจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 3 เป็นผู้แทนของจำเลยที่ 1 อุทธรณ์ของจำเลยที่ 1 ที่ ส. ทนายความลงชื่อเป็นผู้อุทธรณ์ จึงเป็นอุทธรณ์ที่ยื่นโดยบุคคลที่ไม่มีอำนาจโดยชอบ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3154/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจผู้แทนสหภาพแรงงาน: การแต่งตั้งทนายความต้องเป็นไปตามมติคณะกรรมการ
คณะกรรมการของสหภาพแรงงานเป็นผู้แทนที่มีอำนาจดำเนินกิจการของสหภาพแรงงาน หากคณะกรรมการของสหภาพแรงงานไม่ประสงค์จะดำเนินกิจการในฐานะเป็นผู้แทนทั้งหมด ก็มีสิทธิที่จะตกลงมอบหมายให้กรรมการของสหภาพแรงงานคนหนึ่งคนใดหรือหลายคนรวมกันทำกิจการแทนคณะกรรมการของสหภาพแรงงานได้
การดำเนินคดีของสหภาพแรงงานจำเลยที่ 1 ต้องกระทำร่วมกันโดยจำเลยที่ 2 - 14 ซึ่งเป็นคณะกรรมการ เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 3 ผู้เดียวลงชื่อแต่งตั้ง ส. เป็นทนายความให้มีสิทธิอุทธรณ์ในนามจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 2 - 14 ซึ่งเป็นคณะกรรมการของจำเลยที่ 1 มิได้มอบหมายให้จำเลยที่ 3 ดำเนินคดีแทนคณะกรรมการแต่อย่างใดจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 3 เป็นผู้แทนของจำเลยที่ 1 อุทธรณ์ของจำเลยที่ 1 ที่ ส. ทนายความลงชื่อเป็นผู้อุทธรณ์ จึงเป็นอุทธรณ์ที่ยื่นโดยบุคคลที่ไม่มีอำนาจโดยชอบ
การดำเนินคดีของสหภาพแรงงานจำเลยที่ 1 ต้องกระทำร่วมกันโดยจำเลยที่ 2 - 14 ซึ่งเป็นคณะกรรมการ เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 3 ผู้เดียวลงชื่อแต่งตั้ง ส. เป็นทนายความให้มีสิทธิอุทธรณ์ในนามจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 2 - 14 ซึ่งเป็นคณะกรรมการของจำเลยที่ 1 มิได้มอบหมายให้จำเลยที่ 3 ดำเนินคดีแทนคณะกรรมการแต่อย่างใดจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 3 เป็นผู้แทนของจำเลยที่ 1 อุทธรณ์ของจำเลยที่ 1 ที่ ส. ทนายความลงชื่อเป็นผู้อุทธรณ์ จึงเป็นอุทธรณ์ที่ยื่นโดยบุคคลที่ไม่มีอำนาจโดยชอบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3154/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจผู้แทนสหภาพแรงงาน: การแต่งตั้งทนายความต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการทั้งหมด
คณะกรรมการของสหภาพแรงงานเป็นผู้แทนที่มีอำนาจดำเนินกิจการของสหภาพแรงงาน หากคณะกรรมการของสหภาพแรงงานไม่ประสงค์จะดำเนินกิจการในฐานะเป็นผู้แทนทั้งหมด ก็มีสิทธิที่จะตกลงมอบหมายให้กรรมการของสหภาพแรงงานคนหนึ่งคนใดหรือหลายคนร่วมกันทำกิจการแทนคณะกรรมการสหภาพแรงงานได้ ในการดำเนินคดีของสหภาพแรงงานจำเลยที่ 1 จึงต้องกระทำร่วมกันโดยจำเลยที่ 2 ถึงที่ 14 ซึ่งเป็นคณะกรรมการ เมื่อไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 2 ถึงที่ 14 ได้ตกลงมอบหมายให้จำเลยที่ 3 แต่ผู้เดียวเป็นผู้ดำเนินคดีแทนคณะกรรมการ การที่จำเลยที่ 3 แต่เพียงผู้เดียวได้ลงลายมือชื่อแต่งตั้งทนายความให้มีสิทธิอุทธรณ์ในนามของจำเลยที่ 1 จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 3 มีอำนาจเป็นผู้แทนของจำเลยที่ 1 ที่จะปฏิบัติเช่นนั้นได้ อุทธรณ์ของจำเลยที่ 1 ที่ทนายความดังกล่าวลงลายมือชื่อเป็นผู้อุทธรณ์ จึงเป็นอุทธรณ์ที่ยื่นโดยบุคคลที่ไม่มีอำนาจโดยชอบ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3324/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของสหภาพแรงงาน: ข้อบังคับภายในต้องสอดคล้องกับกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ การมอบอำนาจฟ้องต้องเป็นไปตามข้อบังคับ
ข้อบังคับของสหภาพแรงงานคุรุสภาโจทก์มีว่าคณะกรรมการสหภาพแรงงานเป็นผู้แทนของสหภาพแรงงานในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอกและเพื่อการนี้คณะกรรมการสหภาพแรงงานอาจมอบหมายให้ประธานกรรมการร่วมกับกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนกระทำการแทนได้. ดังนี้ การที่สหภาพแรงงานฯ โจทก์จะดำเนินกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอกจะต้องมอบหมายให้ประธานกรรมการร่วมกับกรรมการอื่นเป็นผู้ทำการแทน และไม่อาจแปลได้ว่าอาจมอบหมายให้กรรมการคนหนึ่งทำการแทนดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา100 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 ได้ ฉะนั้นการที่โจทก์โดยมติของที่ประชุมคณะกรรมการสหภาพแรงงานมอบให้ประธานกรรมการเป็นผู้รับมอบอำนาจดำเนินคดีแต่เพียงผู้เดียวจึงเป็นการไม่ชอบ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3324/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของสหภาพแรงงาน: ข้อจำกัดจากข้อบังคับภายใน vs. บทบัญญัติกฎหมาย
ข้อบังคับของสหภาพแรงงานคุรุสภาโจทก์มีว่า คณะกรรมการสหภาพแรงงานเป็นผู้แทนของสหภาพแรงงานในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอกและเพื่อการนี้คณะกรรมการสหภาพแรงงานอาจมอบหมายให้ประธานกรรมการร่วมกับกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนกระทำการแทนได้. ดังนี้ การที่สหภาพแรงงาน ฯ โจทก์จะดำเนินกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอกจะต้องมอบหมายให้ประธานกรรมการร่วมกับกรรมการอื่นเป็นผู้ทำการแทน และไม่อาจแปลได้ว่าอาจมอบหมายให้กรรมการคนหนึ่งทำการแทนดังที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 100 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 ได้ ฉะนั้นการที่โจทก์โดยมติของที่ประชุมคณะกรรมการสหภาพแรงงานมอบให้ประธานกรรมการเป็นผู้รับมอบอำนาจดำเนินคดีแต่เพียงผู้เดียวจึงเป็นการไม่ชอบ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2837/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ชี้ขาดข้อพิพาทค่าครองชีพและสวัสดิการ, การประชุมใหญ่วิสามัญสหภาพแรงงาน
การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้มีคำสั่งให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ดำเนินการชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานตามมาตรา34 (4) แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ฯ นั้น คณะกรรมการฯ มีอำนาจดำเนินการชี้ขาดกำหนดอัตราค่าครองชีพหรือกำหนดเงินช่วยเหลือครอบครัวกรณีที่พนักงานเสียชีวิต อันเป็นข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับสภาพการจ้างได้
เมื่อข้อบังคับสหภาพแรงงานกำหนดว่า การประชุมใหญ่วิสามัญหมายถึงการประชุมที่สมาชิกไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด หรือไม่น้อยกว่า 50 คน ลงลายมือชื่อทำหนังสือร้องขอให้คณะกรรมการเรียกประชุมใหญ่ ดังนี้ แม้จะปรากฏว่ามีการปลอมลายมือชื่อของสมาชิกบางคนในหนังสือเรียกร้องให้สหภาพแรงงานเปิดการประชุมใหญ่วิสามัญ แต่จำนวนสมาชิกที่ลงชื่อในหนังสือดังกล่าวที่เหลือนอกจากนั้นก็มีจำนวนเกิน 50 คน และไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของสมาชิกทั้งหมด สหภาพแรงงานจึงชอบที่จะเปิดประชุมใหญ่วิสามัญได้
เมื่อข้อบังคับสหภาพแรงงานกำหนดว่า การประชุมใหญ่วิสามัญหมายถึงการประชุมที่สมาชิกไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด หรือไม่น้อยกว่า 50 คน ลงลายมือชื่อทำหนังสือร้องขอให้คณะกรรมการเรียกประชุมใหญ่ ดังนี้ แม้จะปรากฏว่ามีการปลอมลายมือชื่อของสมาชิกบางคนในหนังสือเรียกร้องให้สหภาพแรงงานเปิดการประชุมใหญ่วิสามัญ แต่จำนวนสมาชิกที่ลงชื่อในหนังสือดังกล่าวที่เหลือนอกจากนั้นก็มีจำนวนเกิน 50 คน และไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของสมาชิกทั้งหมด สหภาพแรงงานจึงชอบที่จะเปิดประชุมใหญ่วิสามัญได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2837/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ชี้ขาดข้อพิพาทค่าครองชีพและเงินช่วยเหลือครอบครัว รวมถึงการประชุมใหญ่วิสามัญที่ชอบด้วยกฎหมาย
การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้มีคำสั่งให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ดำเนินการชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานตามมาตรา34(4) แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ฯนั้น คณะกรรมการฯ มีอำนาจดำเนินการชี้ขาดกำหนดอัตราค่าครองชีพหรือกำหนดเงินช่วยเหลือครอบครัวกรณีที่พนักงานเสียชีวิต อันเป็นข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับสภาพการจ้างได้
เมื่อข้อบังคับสหภาพแรงงานกำหนดว่า การประชุมใหญ่วิสามัญหมายถึงการประชุมที่สมาชิกไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด หรือไม่น้อยกว่า 50 คน ลงลายมือชื่อทำหนังสือร้องขอให้คณะกรรมการเรียกประชุมใหญ่ ดังนี้ แม้จะปรากฏว่ามีการปลอมลายมือชื่อของสมาชิกบางคนในหนังสือเรียกร้องให้สหภาพแรงงานเปิดการประชุมใหญ่วิสามัญ แต่จำนวนสมาชิกที่ลงชื่อในหนังสือดังกล่าวที่เหลือนอกจากนั้นก็มีจำนวนเกิน 50 คน และไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของสมาชิกทั้งหมด สหภาพแรงงานจึงชอบที่จะเปิดประชุมใหญ่วิสามัญได้
เมื่อข้อบังคับสหภาพแรงงานกำหนดว่า การประชุมใหญ่วิสามัญหมายถึงการประชุมที่สมาชิกไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด หรือไม่น้อยกว่า 50 คน ลงลายมือชื่อทำหนังสือร้องขอให้คณะกรรมการเรียกประชุมใหญ่ ดังนี้ แม้จะปรากฏว่ามีการปลอมลายมือชื่อของสมาชิกบางคนในหนังสือเรียกร้องให้สหภาพแรงงานเปิดการประชุมใหญ่วิสามัญ แต่จำนวนสมาชิกที่ลงชื่อในหนังสือดังกล่าวที่เหลือนอกจากนั้นก็มีจำนวนเกิน 50 คน และไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของสมาชิกทั้งหมด สหภาพแรงงานจึงชอบที่จะเปิดประชุมใหญ่วิสามัญได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 255-256/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องเคลือบคลุม, ความรับผิดกรรมการสหภาพแรงงาน, การปฏิเสธข้อกล่าวหา, ค่าวันหยุดพักผ่อนประจำปี, การพิสูจน์หลักฐาน
ฟ้องของโจทก์จะถูกต้องสมบูรณ์หรือเคลือบคลุมนั้น อยู่ที่ตัวฟ้องของโจทก์การที่จำเลยจะได้รับสำเนาฟ้องครบถ้วนหรือไม่หาทำให้ฟ้องที่ถูกต้องสมบูรณ์กลายเป็นฟ้องที่เคลือบคลุมไปไม่
การกระทำโดยสหภาพแรงงานกับการกระทำโดยกรรมการสหภาพแรงงานนั้นไม่เหมือนกัน เพราะการกระทำโดยสหภาพแรงงานอาจเป็นการกระทำโดยมติของกรรมการอันมีเสียงข้างมากตามจำนวนที่กำหนดไว้ในระเบียบโดยที่กรรมการบางคนอาจไม่เห็นด้วย และคัดค้านการกระทำของสหภาพแรงงานนั้นก็เป็นได้ ฉะนั้นการกระทำใด ๆ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายจ้างนั้น เป็นความรับผิดชอบของกรรมการผู้กระทำแต่ละคนไป ผู้ใดมิได้ร่วมกระทำด้วยก็หาต้องรับผิดชอบแต่ประการใดไม่
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์มีสิทธิได้รับเงินค่าวันหยุดพักผ่อนประจำปีตามจำนวนวันและเป็นเงินตามบัญชีรายละเอียดท้ายฟ้อง จำเลยยื่นบัญชีแสดงรายการวันเริ่มเข้าทำงาน อัตราค่าจ้าง และรายได้อื่น ๆ ของโจทก์ซึ่งบางรายการก็ตรงกับบัญชีของโจทก์อันเป็นการรับรองว่าถูกต้อง บางรายการก็ไม่ตรงหรือไม่มี เท่ากับปฏิเสธว่าไม่ถูกต้อง สำหรับรายการเงินค่าวันหยุดพักผ่อนประจำปี จำเลยมิได้ระบุไว้ในบัญชี คงกล่าวไว้ในคำร้องที่ส่งบัญชีต่อศาลอันถือเป็นคำให้การว่านอกเหนือจากนั้นถือว่าปฏิเสธความถูกต้องทั้งสิ้น เพราะยังคลาดเคลื่อนต่อความเป็นจริงจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยปฏิเสธจำนวนวันและเงินค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปี โจทก์จึงไม่ต้องนำสืบในข้อนี้
การกระทำโดยสหภาพแรงงานกับการกระทำโดยกรรมการสหภาพแรงงานนั้นไม่เหมือนกัน เพราะการกระทำโดยสหภาพแรงงานอาจเป็นการกระทำโดยมติของกรรมการอันมีเสียงข้างมากตามจำนวนที่กำหนดไว้ในระเบียบโดยที่กรรมการบางคนอาจไม่เห็นด้วย และคัดค้านการกระทำของสหภาพแรงงานนั้นก็เป็นได้ ฉะนั้นการกระทำใด ๆ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายจ้างนั้น เป็นความรับผิดชอบของกรรมการผู้กระทำแต่ละคนไป ผู้ใดมิได้ร่วมกระทำด้วยก็หาต้องรับผิดชอบแต่ประการใดไม่
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์มีสิทธิได้รับเงินค่าวันหยุดพักผ่อนประจำปีตามจำนวนวันและเป็นเงินตามบัญชีรายละเอียดท้ายฟ้อง จำเลยยื่นบัญชีแสดงรายการวันเริ่มเข้าทำงาน อัตราค่าจ้าง และรายได้อื่น ๆ ของโจทก์ซึ่งบางรายการก็ตรงกับบัญชีของโจทก์อันเป็นการรับรองว่าถูกต้อง บางรายการก็ไม่ตรงหรือไม่มี เท่ากับปฏิเสธว่าไม่ถูกต้อง สำหรับรายการเงินค่าวันหยุดพักผ่อนประจำปี จำเลยมิได้ระบุไว้ในบัญชี คงกล่าวไว้ในคำร้องที่ส่งบัญชีต่อศาลอันถือเป็นคำให้การว่านอกเหนือจากนั้นถือว่าปฏิเสธความถูกต้องทั้งสิ้น เพราะยังคลาดเคลื่อนต่อความเป็นจริงจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยปฏิเสธจำนวนวันและเงินค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปี โจทก์จึงไม่ต้องนำสืบในข้อนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 255-256/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องเคลือบคลุม-ความรับผิดกรรมการสหภาพ: ศาลฎีกาวินิจฉัยการฟ้องต้องชัดเจน, ความรับผิดชอบกรรมการแยกต่างหาก
ฟ้องของโจทก์จะถูกต้องสมบูรณ์หรือเคลือบคลุมนั้น อยู่ที่ตัวฟ้องของโจทก์การที่จำเลยจะได้รับสำเนาฟ้องครบถ้วนหรือไม่หาทำให้ฟ้องที่ถูกต้องสมบูรณ์กลายเป็นฟ้องที่เคลือบคลุมไปไม่
การกระทำโดยสหภาพแรงงานกับการกระทำโดยกรรมการสหภาพแรงงานนั้นไม่เหมือนกัน เพราะการกระทำโดยสหภาพแรงงานอาจเป็นการกระทำโดยมติของกรรมการอันมีเสียงข้างมากตามจำนวนที่กำหนดไว้ในระเบียบโดยที่กรรมการบางคนอาจไม่เห็นด้วย และคัดค้านการกระทำของสหภาพแรงงานนั้นก็เป็นได้ฉะนั้นการกระทำใด ๆ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายจ้างนั้น เป็นความรับผิดชอบของกรรมการผู้กระทำแต่ละคนไป ผู้ใดมิได้ร่วมกระทำด้วยก็หาต้องรับผิดชอบแต่ประการใดไม่
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์มีสิทธิได้รับเงินค่าวันหยุดพักผ่อนประจำปีตามจำนวนวันและเป็นเงินตามบัญชีรายละเอียดท้ายฟ้อง จำเลยยื่นบัญชีแสดงรายการวันเริ่มเข้าทำงาน อัตราค่าจ้าง และรายได้อื่น ๆ ของโจทก์ซึ่งบางรายการก็ตรงกับบัญชีของโจทก์อันเป็นการรับรองว่าถูกต้องบางรายการก็ไม่ตรงหรือไม่มี เท่ากับปฏิเสธว่าไม่ถูกต้อง สำหรับรายการเงินค่าวันหยุดพักผ่อนประจำปี จำเลยมิได้ระบุไว้ในบัญชี คงกล่าวไว้ในคำร้องที่ส่งบัญชีต่อศาลอันถือเป็นคำให้การว่านอกเหนือจากนั้นถือว่าปฏิเสธความถูกต้องทั้งสิ้น เพราะยังคลาดเคลื่อนต่อความเป็นจริง จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยปฏิเสธจำนวนวันและเงินค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปี โจทก์จึงไม่ต้องนำสืบในข้อนี้
การกระทำโดยสหภาพแรงงานกับการกระทำโดยกรรมการสหภาพแรงงานนั้นไม่เหมือนกัน เพราะการกระทำโดยสหภาพแรงงานอาจเป็นการกระทำโดยมติของกรรมการอันมีเสียงข้างมากตามจำนวนที่กำหนดไว้ในระเบียบโดยที่กรรมการบางคนอาจไม่เห็นด้วย และคัดค้านการกระทำของสหภาพแรงงานนั้นก็เป็นได้ฉะนั้นการกระทำใด ๆ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายจ้างนั้น เป็นความรับผิดชอบของกรรมการผู้กระทำแต่ละคนไป ผู้ใดมิได้ร่วมกระทำด้วยก็หาต้องรับผิดชอบแต่ประการใดไม่
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์มีสิทธิได้รับเงินค่าวันหยุดพักผ่อนประจำปีตามจำนวนวันและเป็นเงินตามบัญชีรายละเอียดท้ายฟ้อง จำเลยยื่นบัญชีแสดงรายการวันเริ่มเข้าทำงาน อัตราค่าจ้าง และรายได้อื่น ๆ ของโจทก์ซึ่งบางรายการก็ตรงกับบัญชีของโจทก์อันเป็นการรับรองว่าถูกต้องบางรายการก็ไม่ตรงหรือไม่มี เท่ากับปฏิเสธว่าไม่ถูกต้อง สำหรับรายการเงินค่าวันหยุดพักผ่อนประจำปี จำเลยมิได้ระบุไว้ในบัญชี คงกล่าวไว้ในคำร้องที่ส่งบัญชีต่อศาลอันถือเป็นคำให้การว่านอกเหนือจากนั้นถือว่าปฏิเสธความถูกต้องทั้งสิ้น เพราะยังคลาดเคลื่อนต่อความเป็นจริง จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยปฏิเสธจำนวนวันและเงินค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปี โจทก์จึงไม่ต้องนำสืบในข้อนี้