พบผลลัพธ์ทั้งหมด 144 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1605/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายหุ้นต้องมีใบหุ้นที่ส่งมอบได้จริง การไม่ปฏิบัติตามระเบียบตลาดหลักทรัพย์เป็นเหตุบอกเลิกสัญญาได้
ตามข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อ 35 ผู้ที่เข้าเกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์โดยผ่านบริษัทสมาชิกของตลาดหลักทรัพย์จำต้องยินยอมผูกพันตนเองตามระเบียบข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทุกประการ ดังนั้น จำเลยจะอ้างว่าโจทก์ผู้สั่งซื้อหุ้นมิได้เป็นสมาชิกตลาดหลักทรัพย์จึงไม่ต้องใช้ข้อบังคับดังกล่าวหาได้ไม่
ระเบียบปฏิบัติของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีว่า การซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์จะต้องส่งมอบใบหุ้นและชำระราคากันภายใน 4 วันของวันทำการเว้นแต่จะตกลงกันเป็นอย่างอื่นจำเลยเป็นสมาชิกของตลาดหลักทรัพย์ จึงต้องปฏิบัติตามข้อบังคับดังกล่าว ไม่ว่าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งจะเป็นสมาชิกหรือไม่ ดังนั้น โจทก์จึงมีสิทธิขอให้จำเลยโอนใบหุ้นที่สั่งซื้อให้แก่โจทก์ภายใน 4 วันของวันทำการได้
โจทก์ทวงถามให้จำเลยส่งมอบใบหุ้นที่สั่งซื้อให้แก่โจทก์โดยไม่มีการผ่อนผันหรือตกลงยินยอมเป็นอย่างอื่น เมื่อผู้ขายหุ้นไม่ส่งมอบใบหุ้นให้แก่จำเลยภายใน 4 วัน จำเลยก็มิได้รายงานต่อตลาดหลักทรัพย์เป็นหนังสือเพื่อให้ ตลาดหลักทรัพย์ดำเนินการตามข้อบังคับ ข้อ 31 จึงเป็นการละเลยไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ของตนตามข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แม้โจทก์จำเลยจะผูกพันกันในฐานะตัวการตัวแทนก็ดีหากจำเลยซึ่งเป็นตัวแทนละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ของตนตามระเบียบข้อบังคับดังกล่าวซึ่งใช้บังคับระหว่างโจทก์จำเลยแล้ว ถือได้ว่าตัวแทนประพฤติผิดสัญญาโจทก์ซึ่งเป็นตัวการย่อมบอกเลิกสัญญาได้
การซื้อขายหุ้นที่จะถือว่าเป็นการซื้อขายเสร็จเด็ดขาดนั้น จะต้องเป็นการซื้อขายหุ้นที่ผู้ซื้อและผู้ขายได้กำหนดกันไว้แล้วว่าเป็นหุ้นจำนวนเท่าใด และมีหมายเลขหุ้นที่เท่าใด นอกจากนี้ ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยเรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้กู้เงินเพื่อซื้อหลักทรัพย์และวิธีการรับมอบหมายให้ขายหลักทรัพย์สำหรับบริษัทหลักทรัพย์ ข้อ 5และข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อ 33 วรรคสามยังบังคับว่าการซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์นั้นจะต้องมีใบหุ้นหรือใบตอบรับการโอนหุ้นที่นายทะเบียนเป็นผู้ออกให้อยู่ที่บริษัทหลักทรัพย์ซึ่งเป็นสมาชิกผู้ขายพร้อมที่จะส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อได้ทุกเมื่อ ปรากฏว่าขณะที่จำเลยตกลงซื้อหุ้นรายพิพาทจากผู้ขายยังไม่มีใบหุ้นตามจำนวนที่ตกลงซื้อขายกันอยู่ที่ผู้ขาย หรือมิได้มีบุคคลใดมอบหมายให้ขายหลักทรัพย์นั้น เมื่อการซื้อขายยังไม่มีใบหุ้นจึงเป็นการต้องห้ามโดยชัดแจ้งตามข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยข้อ 33 วรรค 1 และ 2 จึงถือไม่ได้ว่าเป็นการซื้อขายเสร็จเด็ดขาดแล้วสัญญาซื้อขายดังกล่าวไม่ผูกพันโจทก์
เมื่อโจทก์บอกเลิกสัญญาซื้อขายหุ้นเพราะจำเลยประพฤติผิดระเบียบข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หนี้อันเกิดจากโจทก์สั่งซื้อหุ้นพิพาทจึงไม่มีจำเลยจึงต้องคืนเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินที่โจทก์จำนำไว้เป็นประกันการสั่งซื้อหุ้นให้แก่โจทก์
ระเบียบปฏิบัติของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีว่า การซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์จะต้องส่งมอบใบหุ้นและชำระราคากันภายใน 4 วันของวันทำการเว้นแต่จะตกลงกันเป็นอย่างอื่นจำเลยเป็นสมาชิกของตลาดหลักทรัพย์ จึงต้องปฏิบัติตามข้อบังคับดังกล่าว ไม่ว่าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งจะเป็นสมาชิกหรือไม่ ดังนั้น โจทก์จึงมีสิทธิขอให้จำเลยโอนใบหุ้นที่สั่งซื้อให้แก่โจทก์ภายใน 4 วันของวันทำการได้
โจทก์ทวงถามให้จำเลยส่งมอบใบหุ้นที่สั่งซื้อให้แก่โจทก์โดยไม่มีการผ่อนผันหรือตกลงยินยอมเป็นอย่างอื่น เมื่อผู้ขายหุ้นไม่ส่งมอบใบหุ้นให้แก่จำเลยภายใน 4 วัน จำเลยก็มิได้รายงานต่อตลาดหลักทรัพย์เป็นหนังสือเพื่อให้ ตลาดหลักทรัพย์ดำเนินการตามข้อบังคับ ข้อ 31 จึงเป็นการละเลยไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ของตนตามข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แม้โจทก์จำเลยจะผูกพันกันในฐานะตัวการตัวแทนก็ดีหากจำเลยซึ่งเป็นตัวแทนละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ของตนตามระเบียบข้อบังคับดังกล่าวซึ่งใช้บังคับระหว่างโจทก์จำเลยแล้ว ถือได้ว่าตัวแทนประพฤติผิดสัญญาโจทก์ซึ่งเป็นตัวการย่อมบอกเลิกสัญญาได้
การซื้อขายหุ้นที่จะถือว่าเป็นการซื้อขายเสร็จเด็ดขาดนั้น จะต้องเป็นการซื้อขายหุ้นที่ผู้ซื้อและผู้ขายได้กำหนดกันไว้แล้วว่าเป็นหุ้นจำนวนเท่าใด และมีหมายเลขหุ้นที่เท่าใด นอกจากนี้ ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยเรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้กู้เงินเพื่อซื้อหลักทรัพย์และวิธีการรับมอบหมายให้ขายหลักทรัพย์สำหรับบริษัทหลักทรัพย์ ข้อ 5และข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อ 33 วรรคสามยังบังคับว่าการซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์นั้นจะต้องมีใบหุ้นหรือใบตอบรับการโอนหุ้นที่นายทะเบียนเป็นผู้ออกให้อยู่ที่บริษัทหลักทรัพย์ซึ่งเป็นสมาชิกผู้ขายพร้อมที่จะส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อได้ทุกเมื่อ ปรากฏว่าขณะที่จำเลยตกลงซื้อหุ้นรายพิพาทจากผู้ขายยังไม่มีใบหุ้นตามจำนวนที่ตกลงซื้อขายกันอยู่ที่ผู้ขาย หรือมิได้มีบุคคลใดมอบหมายให้ขายหลักทรัพย์นั้น เมื่อการซื้อขายยังไม่มีใบหุ้นจึงเป็นการต้องห้ามโดยชัดแจ้งตามข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยข้อ 33 วรรค 1 และ 2 จึงถือไม่ได้ว่าเป็นการซื้อขายเสร็จเด็ดขาดแล้วสัญญาซื้อขายดังกล่าวไม่ผูกพันโจทก์
เมื่อโจทก์บอกเลิกสัญญาซื้อขายหุ้นเพราะจำเลยประพฤติผิดระเบียบข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หนี้อันเกิดจากโจทก์สั่งซื้อหุ้นพิพาทจึงไม่มีจำเลยจึงต้องคืนเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินที่โจทก์จำนำไว้เป็นประกันการสั่งซื้อหุ้นให้แก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2434/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตอำนาจตัวแทนช่วงนอกศาล การรับชำระหนี้ และความรับผิดจากละเมิด
เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง โจทก์อุทธรณ์เฉพาะจำเลยที่ 1 คดีสำหรับจำเลยที่ 3 จึงยุติไปแล้ว ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยที่ 3 รับผิดต่อโจทก์ด้วย จึงเป็นการพิพากษาเกินไปกว่าที่ปรากฏในคำฟ้องอุทธรณ์ของโจทก์ ไม่ชอบด้วย ป.ว.พ. ม.142 และ ม.240 ศาลฎีกาต้องพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในส่วนที่เกี่ยวกับจำเลยที่ 3
จำเลยที่ 2 ผู้จัดการธนาคารสาขา ได้รับมอบอำนาจจากธนาคารจำเลยที่ 3 ได้แต่งตั้งจำเลยที่ 1 เป็นทนายความฟ้องโจทก์ให้ชำระหนี้และไถ่ถอนจำนอง ตามหนังสือมอบอำนาจจำเลยที่ 1 ไม่มีอำนาจรับเงินในคดีแทนจำเลยที่ 2นอกศาล การที่โจทก์มอบเช็คให้จำเลยที่ 1 ไปจัดการชำระหนี้ให้แก่จำเลยที่ 3 เพื่อมิให้ที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาดจำเลยที่ 1 ยอมรับเช็คไปดำเนินการตามความประสงค์ของโจทก์ จำเลยที่ 1 ย่อมได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนโดยปริยายของโจทก์แล้วตาม ป.พ.พ ม.797 วรรคสอง หากมีความเสียหายเกิดขึ้นเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 แล้ว ย่อมถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ทำละเมิด เมื่อที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาดไปเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ก็ต้องรับผิดต่อโจทก์
จำเลยที่ 2 ผู้จัดการธนาคารสาขา ได้รับมอบอำนาจจากธนาคารจำเลยที่ 3 ได้แต่งตั้งจำเลยที่ 1 เป็นทนายความฟ้องโจทก์ให้ชำระหนี้และไถ่ถอนจำนอง ตามหนังสือมอบอำนาจจำเลยที่ 1 ไม่มีอำนาจรับเงินในคดีแทนจำเลยที่ 2นอกศาล การที่โจทก์มอบเช็คให้จำเลยที่ 1 ไปจัดการชำระหนี้ให้แก่จำเลยที่ 3 เพื่อมิให้ที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาดจำเลยที่ 1 ยอมรับเช็คไปดำเนินการตามความประสงค์ของโจทก์ จำเลยที่ 1 ย่อมได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนโดยปริยายของโจทก์แล้วตาม ป.พ.พ ม.797 วรรคสอง หากมีความเสียหายเกิดขึ้นเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 แล้ว ย่อมถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ทำละเมิด เมื่อที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาดไปเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ก็ต้องรับผิดต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2434/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับชำระหนี้เกินอำนาจตัวแทนช่วง ละเมิดต่อเจ้าหนี้เดิม และขอบเขตการฟ้องคดี
เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง โจทก์อุทธรณ์เฉพาะจำเลยที่ 1คดีสำหรับจำเลยที่ 3 จึงยุติไปแล้ว ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยที่ 3 รับผิดต่อโจทก์ด้วย จึงเป็นการพิพากษาเกินไปกว่าที่ปรากฏในคำฟ้องอุทธรณ์ของโจทก์ ไม่ชอบด้วย ป.วิ.พ. ม.142 และ ม.240 ศาลฎีกาต้องพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในส่วนที่เกี่ยวกับจำเลยที่ 3
จำเลยที่ 2 ผู้จัดการธนาคารสาขา ได้รับมอบอำนาจจากธนาคารจำเลยที่ 3 ได้แต่งตั้งจำเลยที่ 1 เป็นทนายความฟ้องโจทก์ให้ชำระหนี้และไถ่ถอนจำนอง ตามหนังสือมอบอำนาจ จำเลยที่ 1 ไม่มีอำนาจรับเงินในคดีแทนจำเลยที่ 2 นอกศาล การที่โจทก์มอบเช็คให้จำเลยที่ 1 ไปจัดการชำระหนี้ให้แก่จำเลยที่ 3 เพื่อมิให้ที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาด จำเลยที่ 1 ยอมรับเช็คไปดำเนินการตามความประสงค์ของโจทก์ จำเลยที่ 1 ย่อมได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนโดยปริยายของโจทก์แล้วตาม ป.พ.พ. ม.797 วรรคสอง หากมีความเสียหายเกิดขึ้นเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 แล้ว ย่อมถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ทำละเมิด เมื่อที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาดไปเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ก็ต้องรับผิดต่อโจทก์
จำเลยที่ 2 ผู้จัดการธนาคารสาขา ได้รับมอบอำนาจจากธนาคารจำเลยที่ 3 ได้แต่งตั้งจำเลยที่ 1 เป็นทนายความฟ้องโจทก์ให้ชำระหนี้และไถ่ถอนจำนอง ตามหนังสือมอบอำนาจ จำเลยที่ 1 ไม่มีอำนาจรับเงินในคดีแทนจำเลยที่ 2 นอกศาล การที่โจทก์มอบเช็คให้จำเลยที่ 1 ไปจัดการชำระหนี้ให้แก่จำเลยที่ 3 เพื่อมิให้ที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาด จำเลยที่ 1 ยอมรับเช็คไปดำเนินการตามความประสงค์ของโจทก์ จำเลยที่ 1 ย่อมได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนโดยปริยายของโจทก์แล้วตาม ป.พ.พ. ม.797 วรรคสอง หากมีความเสียหายเกิดขึ้นเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 แล้ว ย่อมถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ทำละเมิด เมื่อที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาดไปเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ก็ต้องรับผิดต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1394/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของตัวแทนต่อตัวการ กรณีตัวแทนกระทำนอกขอบอำนาจ และการฟ้องรวมคดีที่มีลักษณะต่างกัน
แม้จำเลยจะไม่มีผลประโยชน์ร่วมกันในมูลความแห่งคดี แต่การที่ศาลชั้นต้นรับฟ้องที่รวมกันมาไม่เป็นเหตุให้ผลแห่งคดีของโจทก์จำเลยเปลี่ยนแปลงไป ทั้งศาลชั้นต้นได้รับฟ้องและดำเนินกระบวนพิจารณาจนเสร็จการพิจารณาและพิพากษาคดีแล้ว จึงไม่มีเหตุที่จะถือว่าการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นผิดกฎหมาย และไม่มีเหตุอันสมควรที่จะยกฟ้องหรือให้โจทก์ไปฟ้องจำเลยเป็นคดีใหม่ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 681/2506)
โจทก์ในฐานะตัวการฟ้องจำเลยที่ 3 ในฐานะตัวแทนให้รับผิดต่อโจทก์ในฐานะที่จำเลยที่ 3 ได้ให้จำเลยที่ 1 กู้เงินไปโดยปราศจากอำนาจหรือนอกขอบอำนาจทำให้โจทก์ได้รับความเสียหายเพราะไม่อาจบังคับชำระหนี้เอาแก่จำเลยที่ 1 ได้ ดังนี้ จำเลยที่ 3 จะอ้างว่าโจทก์ได้ดอกเบี้ยจากจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 3 ได้รายงานให้ทราบทุกเดือนโจทก์ไม่เคยทักท้วง จำเลยที่ 3 จึงไม่ต้องรับผิดไม่ได้ เพราะข้อต่อสู้ของจำเลยที่ 3 เป็นเรื่องที่บุคคลภายนอกฟ้องให้ตัวการรับผิดในการกระทำของตัวแทนซึ่งเป็นคนละกรณีกับตัวการฟ้องตัวแทนให้รับผิดต่อตัวการ
โจทก์ในฐานะตัวการฟ้องจำเลยที่ 3 ในฐานะตัวแทนให้รับผิดต่อโจทก์ในฐานะที่จำเลยที่ 3 ได้ให้จำเลยที่ 1 กู้เงินไปโดยปราศจากอำนาจหรือนอกขอบอำนาจทำให้โจทก์ได้รับความเสียหายเพราะไม่อาจบังคับชำระหนี้เอาแก่จำเลยที่ 1 ได้ ดังนี้ จำเลยที่ 3 จะอ้างว่าโจทก์ได้ดอกเบี้ยจากจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 3 ได้รายงานให้ทราบทุกเดือนโจทก์ไม่เคยทักท้วง จำเลยที่ 3 จึงไม่ต้องรับผิดไม่ได้ เพราะข้อต่อสู้ของจำเลยที่ 3 เป็นเรื่องที่บุคคลภายนอกฟ้องให้ตัวการรับผิดในการกระทำของตัวแทนซึ่งเป็นคนละกรณีกับตัวการฟ้องตัวแทนให้รับผิดต่อตัวการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1394/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องตัวแทนรับผิดในความเสียหายจากการกระทำนอกอำนาจ และการรวมฟ้องที่ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน
แม้จำเลยจะไม่มีผลประโยชน์ร่วมกันในมูลความแห่งคดี แต่การที่ศาลชั้นต้นรับฟ้องที่รวมกันมาไม่เป็นเหตุให้ผลแห่งคดีของโจทก์จำเลยเปลี่ยนแปลงไป ทั้งศาลชั้นต้นได้รับฟ้องและดำเนินกระบวนพิจารณาจนเสร็จการพิจารณาและพิพากษาคดีแล้ว จึงไม่มีเหตุที่จะถือว่าการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นผิดกฎหมาย และไม่มีเหตุอันสมควรที่จะยกฟ้องหรือให้โจทก์ไปฟ้องจำเลยเป็นคดีใหม่ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 681/2506)
โจทก์ในฐานะตัวการฟ้องจำเลยที่ 3 ในฐานะตัวแทนให้รับผิดต่อโจทก์ในฐานะที่จำเลยที่ 3 ได้ให้จำเลยที่1 กู้เงินไปโดยปราศจากอำนาจหรือนอกขอบอำนาจทำให้โจทก์ได้รับความเสียหายเพราะไม่อาจบังคับชำระหนี้เอาแก่จำเลยที่ 1 ได้ ดังนี้ จำเลยที่ 3 จะอ้างว่าโจทก์ได้ดอกเบี้ยจากจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 3 ได้รายงานให้ทราบทุกเดือนโจทก์ไม่เคยทักท้วง จำเลยที่ 3 จึงไม่ต้องรับผิดไม่ได้ เพราะข้อต่อสู้ของจำเลยที่ 3 เป็นเรื่องที่บุคคลภายนอกฟ้องให้ตัวการรับผิดในการกระทำของตัวแทนซึ่งเป็นคนละกรณีกับตัวการฟ้องตัวแทนให้รับผิดต่อตัวการ
โจทก์ในฐานะตัวการฟ้องจำเลยที่ 3 ในฐานะตัวแทนให้รับผิดต่อโจทก์ในฐานะที่จำเลยที่ 3 ได้ให้จำเลยที่1 กู้เงินไปโดยปราศจากอำนาจหรือนอกขอบอำนาจทำให้โจทก์ได้รับความเสียหายเพราะไม่อาจบังคับชำระหนี้เอาแก่จำเลยที่ 1 ได้ ดังนี้ จำเลยที่ 3 จะอ้างว่าโจทก์ได้ดอกเบี้ยจากจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 3 ได้รายงานให้ทราบทุกเดือนโจทก์ไม่เคยทักท้วง จำเลยที่ 3 จึงไม่ต้องรับผิดไม่ได้ เพราะข้อต่อสู้ของจำเลยที่ 3 เป็นเรื่องที่บุคคลภายนอกฟ้องให้ตัวการรับผิดในการกระทำของตัวแทนซึ่งเป็นคนละกรณีกับตัวการฟ้องตัวแทนให้รับผิดต่อตัวการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 347/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือรับสภาพหนี้จากการกระทำละเมิดของตัวแทน: ผลบังคับใช้และความรับผิดชอบ
คำฟ้องของโจทก์เมื่ออ่านประกอบหนังสือรับสภาพหนี้ของจำเลยที่โจทก์ส่งประกอบมาท้ายฟ้อง มีใจความว่าจำเลยที่ 1 ได้ทำหนังสือรับสภาพหนี้ให้โจทก์ไว้ เนื่องจากจำเลยที่1 ได้อนุมัติให้ อ. เบิกเงินเกินบัญชี ทำให้โจทก์เสียหายจำเลยที่ 1 จะชำระหนี้ดังกล่าวให้โจทก์ภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ทำหนังสือรับสภาพหนี้ โดยโจทก์งดคิดดอกเบี้ยในยอดเงินตาม หนังสือรับสภาพหนี้ แต่ถ้าครบกำหนดแล้วจำเลยที่ 1 ไม่ชำระหนี้ จำเลยยอมให้โจทก์คิดดอกเบี้ยจากยอดเงินที่ค้างชำระ โดยจำเลยที่ 2 ยอมรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 ตามเงื่อนไขในหนังสือรับสภาพหนี้ทุกประการดังนี้ฟ้องโจทก์ย่อมแสดงชัดแจ้งแห่งข้อหาแล้วว่าโจทก์ฟ้องให้จำเลยชำระหนี้ตามหนังสือรับสภาพหนี้ในมูลหนี้ที่จำเลยที่1 อนุมัติให้ อ. เบิกเงินเกินบัญชีไปเป็นการเกินอำนาจของจำเลยที่ 1 ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหาย ฟ้องโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม
เมื่อปรากฏว่าฟ้องโจทก์มุ่งหมายให้จำเลยที่ 1 รับผิดใน เหตุละเมิด และจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนของโจทก์อนุมัติให้อ. เบิกเงินเกินบัญชี อันเป็นการกระทำนอกเหนืออำนาจเป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหายแล้ว การที่โจทก์นำสืบว่าจำเลยที่ 1 กระทำการนอกเหนืออำนาจอย่างไรจึงไม่เป็นการนำสืบนอกประเด็น
การที่จำเลยที่ 1 ทำหนังสือรับสภาพหนี้ให้แก่โจทก์ภายในกำหนดอายุความเป็นการรับสภาพหนี้ต่อเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 172 มิใช่เป็นกรณีรับสภาพความรับผิดเมื่อหนี้นั้นขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 188
เมื่อปรากฏว่าฟ้องโจทก์มุ่งหมายให้จำเลยที่ 1 รับผิดใน เหตุละเมิด และจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนของโจทก์อนุมัติให้อ. เบิกเงินเกินบัญชี อันเป็นการกระทำนอกเหนืออำนาจเป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหายแล้ว การที่โจทก์นำสืบว่าจำเลยที่ 1 กระทำการนอกเหนืออำนาจอย่างไรจึงไม่เป็นการนำสืบนอกประเด็น
การที่จำเลยที่ 1 ทำหนังสือรับสภาพหนี้ให้แก่โจทก์ภายในกำหนดอายุความเป็นการรับสภาพหนี้ต่อเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 172 มิใช่เป็นกรณีรับสภาพความรับผิดเมื่อหนี้นั้นขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 188
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 347/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือรับสภาพหนี้มีผลบังคับใช้ได้ หากฟ้องระบุมูลหนี้ชัดเจนและจำเลยเข้าใจข้อหา
คำฟ้องของโจทก์เมื่ออ่านประกอบหนังสือรับสภาพหนี้ของจำเลยที่โจทก์ส่งประกอบมาท้ายฟ้อง มีใจความว่าจำเลยที่ 1 ได้ทำหนังสือรับสภาพหนี้ให้โจทก์ไว้ เนื่องจากจำเลยที่1 ได้อนุมัติให้ อ. เบิกเงินเกินบัญชี ทำให้โจทก์เสียหาย จำเลยที่ 1 จะชำระหนี้ดังกล่าวให้โจทก์ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ทำหนังสือรับสภาพหนี้ โดยโจทก์งดคิดดอกเบี้ยในยอดเงินตาม หนังสือรับสภาพหนี้ แต่ถ้าครบกำหนดแล้วจำเลยที่ 1 ไม่ชำระหนี้ จำเลยยอมให้โจทก์คิดดอกเบี้ยจากยอดเงินที่ค้างชำระ โดยจำเลยที่ 2 ยอมรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 ตามเงื่อนไขในหนังสือรับสภาพหนี้ทุกประการ ดังนี้ฟ้องโจทก์ย่อมแสดงชัดแจ้งแห่งข้อหาแล้วว่าโจทก์ฟ้องให้จำเลยชำระหนี้ตามหนังสือรับสภาพหนี้ในมูลหนี้ที่จำเลยที่1 อนุมัติให้ อ. เบิกเงินเกินบัญชีไปเป็นการเกินอำนาจของจำเลยที่ 1 ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหาย ฟ้องโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม
เมื่อปรากฏว่าฟ้องโจทก์มุ่งหมายให้จำเลยที่ 1 รับผิดในเหตุละเมิดและจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนของโจทก์อนุมัติให้ อ. เบิกเงินเกินบัญชี อันเป็นการกระทำนอกเหนืออำนาจเป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหายแล้ว การที่โจทก์นำสืบว่าจำเลยที่ 1 กระทำการนอกเหนืออำนาจอย่างไรจึงไม่เป็นการนำสืบนอกประเด็น
การที่จำเลยที่ 1 ทำหนังสือรับสภาพหนี้ให้แก่โจทก์ภายในกำหนดอายุความเป็นการรับสภาพหนี้ต่อเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 172 มิใช่เป็นกรณีรับสภาพความรับผิดเมื่อหนี้นั้นขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 188
เมื่อปรากฏว่าฟ้องโจทก์มุ่งหมายให้จำเลยที่ 1 รับผิดในเหตุละเมิดและจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนของโจทก์อนุมัติให้ อ. เบิกเงินเกินบัญชี อันเป็นการกระทำนอกเหนืออำนาจเป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหายแล้ว การที่โจทก์นำสืบว่าจำเลยที่ 1 กระทำการนอกเหนืออำนาจอย่างไรจึงไม่เป็นการนำสืบนอกประเด็น
การที่จำเลยที่ 1 ทำหนังสือรับสภาพหนี้ให้แก่โจทก์ภายในกำหนดอายุความเป็นการรับสภาพหนี้ต่อเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 172 มิใช่เป็นกรณีรับสภาพความรับผิดเมื่อหนี้นั้นขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 188
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 589/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ประเด็นข้อพิพาทจำกัด การวินิจฉัยเกินขอบเขต และภาระการพิสูจน์ของโจทก์ในการซื้อขายหลักทรัพย์
ตามคำให้การของจำเลย จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่าจำเลยมีสิทธิที่จะนำใบหุ้นที่ซื้อในวันอื่นส่งมอบให้โจทก์แทนได้ ในชั้นชี้สองสถาน ศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นพิพาทไว้ว่าฟ้องโจทก์เคลือบคลุมหรือไม่ และจำเลยจัดซื้อหุ้นให้โจทก์ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2521 จริงหรือไม่ ต่อมาได้เพิ่มประเด็นพิพาทอีกข้อหนึ่งว่าโจทก์ได้รับความเสียหายเพียงใดหรือไม่และก่อนมีการสืบพยาน ศาลชั้นต้นได้จดรายงานกระบวนพิจารณาว่า คู่ความมีประเด็นโต้เถียงกันเพียงว่าหุ้นตามใบหุ้นและเลขที่ตามหนังสือที่จำเลยแจ้งให้โจทก์ไปรับใบหุ้นนั้น จำเลยได้มีการซื้อผ่านตลาดหลักทรัพย์ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2521 หรือไม่ โดยโจทก์ว่าไม่มีการซื้อในวันดังกล่าว จำเลยว่ามีการซื้อในวันดังกล่าวจริง คดีหาได้มีประเด็นข้อพิพาทว่าจำเลยมีสิทธิจะนำใบหุ้นที่ซื้อในวันอื่นส่งมอบให้โจทก์แทนได้หรือไม่แต่อย่างใด ดังนั้นในชั้นอุทธรณ์ ที่จำเลยอุทธรณ์ว่าจำเลยไม่จำเป็นต้องส่งมอบใบหุ้นที่ซื้อในวันที่ 27 พฤศจิกายน2521 โดยมอบใบหุ้นที่ซื้อในวันอื่นให้โจทก์แทนได้ จึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น การที่ศาลอุทธรณ์ตั้งประเด็นและวินิจฉัยให้ จึงเป็นการไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225
ในประเด็นที่โต้เถียงกันตามที่ศาลชั้นต้นได้จดไว้ในรายงานกระบวนพิจารณา.โจทก์จำเลยมิได้ตกลงท้ากันให้เป็นข้อแพ้ชนะกันในคดี และยังมีประเด็นในข้ออื่นที่ศาลจะต้องวินิจฉัยต่อไปอีก ศาลจึงพิพากษาคดีให้ผู้ที่เป็นฝ่ายแพ้ในประเด็นดังกล่าวเป็นผู้แพ้คดีหาได้ไม่
โจทก์มิได้ฟ้องให้จำเลยใช้ค่าเสียหายอันเกิดแต่การชำระหนี้ไม่ถูกต้องหรือผิดนัดตามสัญญาตัวแทน โจทก์เพียงแต่ฟ้องให้จำเลยคืนเงินค่าหุ้นที่จำเลยคิดเกินไปเท่านั้นโจทก์จึงถือเอาราคาหุ้นในวันที่จำเลยส่งมอบหุ้นให้โจทก์มาเป็นหลักคำนวณว่าจำเลยคิดเงินค่าหุ้นเกินไปหาได้ไม่
แม้จำเลยนำสืบรับฟังไม่ได้ว่าหุ้นที่จำเลยส่งมอบให้โจทก์ได้มีการซื้อในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2521 แต่ข้อกล่าวอ้างของโจทก์ตามฟ้องที่ว่าจำเลยคิดเงินค่าหุ้นจากโจทก์เกินไปซึ่งจำเลยให้การปฏิเสธนั้น ภาระการพิสูจน์ในข้อนี้ย่อมตกอยู่แก่โจทก์ โดยโจทก์จะต้องนำพยานหลักฐานมาพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่าหุ้นที่จำเลยส่งมอบให้โจทก์นั้นได้มีการซื้อในวันที่เท่าใดแน่ และมีราคาซื้อขายกันเท่าใด เพื่อที่ศาลจะได้นำมาเป็นหลักในการวินิจฉัยว่าจำเลยในฐานะตัวแทนของโจทก์คิดเงินค่าหุ้นจากโจทก์เกินไปจริงหรือไม่ และเป็นหลักในการคำนวณว่าได้มีการคิดเงินค่าหุ้นเกินไปเป็นจำนวนมากน้อยเท่าใดหรือไม่อย่างไรทั้งนี้ เพราะราคาหุ้นแต่ละวันมีการขึ้นลงไม่แน่นอนเมื่อโจทก์นำสืบไม่ได้ว่าหุ้นที่จำเลยมอบให้โจทก์นั้นเป็นหุ้นที่ซื้อในวันที่เท่าใด และในวันนั้นมีราคาซื้อขายกันเท่าใด ข้อกล่าวอ้างของโจทก์ที่ว่าจำเลยคิดเงินค่าหุ้นจากโจทก์เกินไปจึงรับฟังไม่ได้
ในประเด็นที่โต้เถียงกันตามที่ศาลชั้นต้นได้จดไว้ในรายงานกระบวนพิจารณา.โจทก์จำเลยมิได้ตกลงท้ากันให้เป็นข้อแพ้ชนะกันในคดี และยังมีประเด็นในข้ออื่นที่ศาลจะต้องวินิจฉัยต่อไปอีก ศาลจึงพิพากษาคดีให้ผู้ที่เป็นฝ่ายแพ้ในประเด็นดังกล่าวเป็นผู้แพ้คดีหาได้ไม่
โจทก์มิได้ฟ้องให้จำเลยใช้ค่าเสียหายอันเกิดแต่การชำระหนี้ไม่ถูกต้องหรือผิดนัดตามสัญญาตัวแทน โจทก์เพียงแต่ฟ้องให้จำเลยคืนเงินค่าหุ้นที่จำเลยคิดเกินไปเท่านั้นโจทก์จึงถือเอาราคาหุ้นในวันที่จำเลยส่งมอบหุ้นให้โจทก์มาเป็นหลักคำนวณว่าจำเลยคิดเงินค่าหุ้นเกินไปหาได้ไม่
แม้จำเลยนำสืบรับฟังไม่ได้ว่าหุ้นที่จำเลยส่งมอบให้โจทก์ได้มีการซื้อในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2521 แต่ข้อกล่าวอ้างของโจทก์ตามฟ้องที่ว่าจำเลยคิดเงินค่าหุ้นจากโจทก์เกินไปซึ่งจำเลยให้การปฏิเสธนั้น ภาระการพิสูจน์ในข้อนี้ย่อมตกอยู่แก่โจทก์ โดยโจทก์จะต้องนำพยานหลักฐานมาพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่าหุ้นที่จำเลยส่งมอบให้โจทก์นั้นได้มีการซื้อในวันที่เท่าใดแน่ และมีราคาซื้อขายกันเท่าใด เพื่อที่ศาลจะได้นำมาเป็นหลักในการวินิจฉัยว่าจำเลยในฐานะตัวแทนของโจทก์คิดเงินค่าหุ้นจากโจทก์เกินไปจริงหรือไม่ และเป็นหลักในการคำนวณว่าได้มีการคิดเงินค่าหุ้นเกินไปเป็นจำนวนมากน้อยเท่าใดหรือไม่อย่างไรทั้งนี้ เพราะราคาหุ้นแต่ละวันมีการขึ้นลงไม่แน่นอนเมื่อโจทก์นำสืบไม่ได้ว่าหุ้นที่จำเลยมอบให้โจทก์นั้นเป็นหุ้นที่ซื้อในวันที่เท่าใด และในวันนั้นมีราคาซื้อขายกันเท่าใด ข้อกล่าวอ้างของโจทก์ที่ว่าจำเลยคิดเงินค่าหุ้นจากโจทก์เกินไปจึงรับฟังไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 589/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ประเด็นข้อพิพาทจำกัด การซื้อขายหุ้น การพิสูจน์ราคาหุ้น และภาระการพิสูจน์ของโจทก์
ตามคำให้การของจำเลย จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่าจำเลยมีสิทธิที่จะนำใบหุ้นที่ซื้อในวันอื่นส่งมอบให้โจทก์แทนได้ ในชั้นชี้สองสถาน ศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นพิพาทไว้ว่าฟ้องโจทก์เคลือบคลุมหรือไม่ และจำเลยจัดซื้อหุ้นให้โจทก์ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2521 จริงหรือไม่ ต่อมาได้เพิ่มประเด็นพิพาทอีกข้อหนึ่งว่าโจทก์ได้รับความเสียหายเพียงใดหรือไม่และก่อนมีการสืบพยาน ศาลชั้นต้นได้จดรายงานกระบวนพิจารณาว่า คู่ความมีประเด็นโต้เถียงกันเพียงว่าหุ้นตามใบหุ้นและเลขที่ตามหนังสือที่จำเลยแจ้งให้โจทก์ไปรับใบหุ้นนั้น จำเลยได้มีการซื้อผ่านตลาดหลักทรัพย์ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2521หรือไม่ โดยโจทก์ว่าไม่มีการซื้อในวันดังกล่าว จำเลยว่ามีการซื้อในวันดังกล่าวจริง คดีหาได้มีประเด็นข้อพิพาทว่าจำเลยมีสิทธิจะนำใบหุ้นที่ซื้อในวันอื่นส่งมอบให้โจทก์แทนได้หรือไม่แต่อย่างใด ดังนั้นในชั้นอุทธรณ์ ที่จำเลยอุทธรณ์ว่าจำเลยไม่จำเป็นต้องส่งมอบใบหุ้นที่ซื้อในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2521 โดยมอบใบหุ้นที่ซื้อในวันอื่นให้โจทก์แทนได้ จึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น การที่ศาลอุทธรณ์ตั้งประเด็นและวินิจฉัยให้ จึงเป็นการไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225
ในประเด็นที่โต้เถียงกันตามที่ศาลชั้นต้นได้จดไว้ในรายงานกระบวนพิจารณา.โจทก์จำเลยมิได้ตกลงท้ากันให้เป็นข้อแพ้ชนะกันในคดี และยังมีประเด็นในข้ออื่นที่ศาลจะต้องวินิจฉัยต่อไปอีก ศาลจึงพิพากษาคดีให้ผู้ที่เป็นฝ่ายแพ้ในประเด็นดังกล่าวเป็นผู้แพ้คดีหาได้ไม่
โจทก์มิได้ฟ้องให้จำเลยใช้ค่าเสียหายอันเกิดแต่การชำระหนี้ไม่ถูกต้องหรือผิดนัดตามสัญญาตัวแทน โจทก์เพียงแต่ฟ้องให้จำเลยคืนเงินค่าหุ้นที่จำเลยคิดเกินไปเท่านั้นโจทก์จึงถือเอาราคาหุ้นในวันที่จำเลยส่งมอบหุ้นให้โจทก์มาเป็นหลักคำนวณว่าจำเลยคิดเงินค่าหุ้นเกินไปหาได้ไม่
แม้จำเลยนำสืบรับฟังไม่ได้ว่าหุ้นที่จำเลยส่งมอบให้โจทก์ได้มีการซื้อในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2521 แต่ข้อกล่าวอ้างของโจทก์ตามฟ้องที่ว่าจำเลยคิดเงินค่าหุ้นจากโจทก์เกินไปซึ่งจำเลยให้การปฏิเสธนั้นภาระ การพิสูจน์ในข้อนี้ย่อมตกอยู่แก่โจทก์ โดยโจทก์จะต้องนำพยานหลักฐานมาพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่าหุ้นที่จำเลยส่งมอบให้โจทก์นั้นได้มีการซื้อในวันที่เท่าใดแน่ และมีราคาซื้อขายกันเท่าใด เพื่อที่ศาลจะได้นำมาเป็นหลักในการวินิจฉัยว่าจำเลยในฐานะตัวแทนของโจทก์คิดเงินค่าหุ้นจากโจทก์เกินไปจริงหรือไม่และเป็นหลักในการคำนวณว่าได้มีการคิดเงินค่าหุ้นเกินไปเป็นจำนวนมากน้อยเท่าใดหรือไม่อย่างไรทั้งนี้ เพราะราคาหุ้นแต่ละวันมีการขึ้นลงไม่แน่นอนเมื่อโจทก์นำสืบไม่ได้ว่าหุ้นที่จำเลยมอบให้โจทก์นั้นเป็นหุ้นที่ซื้อในวันที่เท่าใด และในวันนั้นมีราคาซื้อขายกันเท่าใด ข้อกล่าวอ้างของโจทก์ที่ว่าจำเลยคิดเงินค่าหุ้นจากโจทก์เกินไปจึงรับฟังไม่ได้
ในประเด็นที่โต้เถียงกันตามที่ศาลชั้นต้นได้จดไว้ในรายงานกระบวนพิจารณา.โจทก์จำเลยมิได้ตกลงท้ากันให้เป็นข้อแพ้ชนะกันในคดี และยังมีประเด็นในข้ออื่นที่ศาลจะต้องวินิจฉัยต่อไปอีก ศาลจึงพิพากษาคดีให้ผู้ที่เป็นฝ่ายแพ้ในประเด็นดังกล่าวเป็นผู้แพ้คดีหาได้ไม่
โจทก์มิได้ฟ้องให้จำเลยใช้ค่าเสียหายอันเกิดแต่การชำระหนี้ไม่ถูกต้องหรือผิดนัดตามสัญญาตัวแทน โจทก์เพียงแต่ฟ้องให้จำเลยคืนเงินค่าหุ้นที่จำเลยคิดเกินไปเท่านั้นโจทก์จึงถือเอาราคาหุ้นในวันที่จำเลยส่งมอบหุ้นให้โจทก์มาเป็นหลักคำนวณว่าจำเลยคิดเงินค่าหุ้นเกินไปหาได้ไม่
แม้จำเลยนำสืบรับฟังไม่ได้ว่าหุ้นที่จำเลยส่งมอบให้โจทก์ได้มีการซื้อในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2521 แต่ข้อกล่าวอ้างของโจทก์ตามฟ้องที่ว่าจำเลยคิดเงินค่าหุ้นจากโจทก์เกินไปซึ่งจำเลยให้การปฏิเสธนั้นภาระ การพิสูจน์ในข้อนี้ย่อมตกอยู่แก่โจทก์ โดยโจทก์จะต้องนำพยานหลักฐานมาพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่าหุ้นที่จำเลยส่งมอบให้โจทก์นั้นได้มีการซื้อในวันที่เท่าใดแน่ และมีราคาซื้อขายกันเท่าใด เพื่อที่ศาลจะได้นำมาเป็นหลักในการวินิจฉัยว่าจำเลยในฐานะตัวแทนของโจทก์คิดเงินค่าหุ้นจากโจทก์เกินไปจริงหรือไม่และเป็นหลักในการคำนวณว่าได้มีการคิดเงินค่าหุ้นเกินไปเป็นจำนวนมากน้อยเท่าใดหรือไม่อย่างไรทั้งนี้ เพราะราคาหุ้นแต่ละวันมีการขึ้นลงไม่แน่นอนเมื่อโจทก์นำสืบไม่ได้ว่าหุ้นที่จำเลยมอบให้โจทก์นั้นเป็นหุ้นที่ซื้อในวันที่เท่าใด และในวันนั้นมีราคาซื้อขายกันเท่าใด ข้อกล่าวอ้างของโจทก์ที่ว่าจำเลยคิดเงินค่าหุ้นจากโจทก์เกินไปจึงรับฟังไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 254/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่ตัวแทนและความรับผิดต่อความเสียหายจากการไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดเรียกหลักประกัน
จำเลยได้รับมอบอำนาจให้เป็นผู้จัดการธนาคารสาขาวรจักรของโจทก์ในการจ่ายเงินล่วงหน้า หรือให้ลูกค้าเบิกเงินเกินบัญชีนั้น จะต้องมีดอกเบี้ยและเรียกหลักประกัน เช่น การรับจำนำหรือรับจำนอง แต่จำเลยให้ ซ. และ ฟ. เบิกเงินเกินบัญชีไปโดยไม่ได้เรียกหลักประกันไว้ ครั้น ซ.ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด จำเลยไม่ได้ยื่นขอรับชำระหนี้ โจทก์จึงหมดสิทธิเรียกร้องเอาจาก ซ. ส่วน ฟ. ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง โจทก์ไม่สามารถติดตามให้ชำระหนี้ได้ ถ้าจำเลยเรียกหลักประกันไว้จากบุคคลทั้งสองนี้โจทก์จะไม่เสียหาย การที่โจทก์ไม่ได้รับชำระหนี้จากบุคคลทั้งสองนี้เห็นได้ชัดว่าเกิดขึ้นเพราะจำเลยไม่เรียกหลักประกันอันเป็นการกระทำนอกเหนือขอบอำนาจ และเป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหาย จำเลยต้องรับผิด