คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
ป.พ.พ. ม. 378

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 152 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 46/2515

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องเรียกเงินตามเช็คที่ใช้เป็นมัดจำประมูล การขาดอายุความตามมาตรา 1002
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์ประกาศขายไม้ซุงโดยวิธีประมูลปิดซองมีเงื่อนไขในการประมูลว่าผู้ยื่นประมูลจะต้องวางเงินมัดจำซองแพละ 10,000 บาท หากผู้ใดประมูลได้ผู้นั้นจะต้องชำระค่าไม้ซุง 15% ของแต่ละแพที่ประมูลได้ภายใน 15 วัน นับแต่ วันประกาศแจ้งผู้ประมูลได้หากพ้นกำหนดนี้โจทก์จะริบเงินมัดจำซอง ที่วางไว้ ต่อมาคณะกรรมการของโจทก์ปิดประกาศแจ้งให้จำเลยทราบว่า จำเลยเป็นผู้ประมูลไม้ได้จำนวน 5 แพ แล้วโจทก์นำเช็ค ของจำเลยจำนวนเงิน 50,000 บาท ซึ่งจำเลยวางเงินมัดจำประจำซองไว้ ไปขึ้นเงินที่ธนาคาร แต่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินเพราะเงินจำเลยไม่มีในบัญชี และครั้นเมื่อถึงกำหนดชำระเงิน 15% ของไม้ที่ประมูลได้ จำเลยไม่นำเงินมาชำระ ซึ่งจำเลยจะต้องถูกริบเงินมัดจำซอง 50,000 บาท แต่โจทก์ก็ไม่อาจริบได้เพราะเช็คนั้นไม่มีเงิน จึงขอให้ บังคับจำเลยชำระเงิน 50,000 บาท ดังนี้ ฟ้องโจทก์เป็นการฟ้อง โดยอ้างสิทธิที่จะริบมัดจำซึ่งได้แก่เช็ครายนี้ คำบรรยายฟ้องของโจทก์จึงเป็นการฟ้องเรียกเงินตามเช็ค เพราะถ้าไม่มีการนำเอา เช็ครายนี้ไปวางมัดจำประจำซองแล้ว ก็ย่อมถือไม่ได้ว่ามีการ ให้มัดจำไว้ตามมาตรา 377 ตามมาตรา 378(2) ฉะนั้น เมื่อเช็ค ที่โจทก์นำมาฟ้องลงวันที่เกินกว่า 1 ปี ฟ้องโจทก์จึงขาดอายุความ ตามมาตรา 1002

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 46/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความฟ้องเรียกเงินตามเช็คที่ใช้เป็นมัดจำประมูล กรณีเช็คไม่มีเงิน
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์ประกาศขายไม้ซุงโดยวิธีประมูลปิดซอง มีเงื่อนไขในการประมูลว่าผู้ยื่นประมูลจะต้องวางเงินมัดจำซองแพละ 10,000 บาท หากผู้ใดประมูลได้ผู้นั้นจะต้องชำระค่าไม้ซุง 15% ของแต่ละแพที่ประมูลได้ภายใน 15 วัน นับแต่วันประกาศแจ้งผู้ประมูลได้หากพ้นกำหนดนี้โจทก์จะริบเงินมัดจำซองที่วางไว้ แต่มาคณะกรรมการของโจทก์ปิดซองประกาศแจ้งให้จำเลยทราบว่า จำเลยเป็นผู้ประมูลไม้ได้จำนวน 5 แพ แล้วโจทก์นำเช็คของจำเลยจำนวนเงิน 50,000 บาท ซึ่งจำเลยวางเงินมัดจำประจำซองไว้ไปขึ้นเงินที่ธนาคาร แต่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินเพราะเงินจำเลยไม่มีในบัญชี และครั้นเมื่อถึงกำหนดชำระเงิน 15% ของไม้ทีประมูลได้จำเลยไม่นำเงินมาชำระ ซึ่งจำเลยจะต้องถูกริบเงินมัดจำซอง 50,000 บาท แต่โจทก์ก็ไม่อาจริบได้เพราะเช็คนั้นไม่มีเงิน จึงขอให้บังคับจำเลยชำระเงิน 50,000 บาท ดังนี้ ฟ้องโจทก์เป็นการฟ้องโดยอ้างสิทธิที่จะริบมัดจำซึ่งได้แก่เช็ครายนี้ คำบรรยายฟ้องของโจทก์จึงเป็นการฟ้องเรียกเงินตามเช็ค เพราะถ้าไม่มีการนำเอาเช็คคราวนี้ไปวางมัดจำประจำซองแล้ว ก็ย่อมถือไม่ได้ว่ามีการให้มัดจำไว้ตามมาตรา 377 ตามมาตรา 378(2) ฉะนั้น เมื่อเช็คที่โจทก์นำมาฟ้องลงวันที่เกินกว่า 1 ปี ฟ้องโจทก์จึงขาดอายุความตามมาตรา 1002

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 116/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การริบเงินมัดจำสัญญาเช่า: สัญญาเช่ากำหนดให้คืนเงินมัดจำเมื่อสัญญาสิ้นสุด หากผู้เช่าผิดสัญญา ผู้ให้เช่ามีสิทธิริบเงินมัดจำได้
โจทก์เช่าบ้านจากจำเลยมีกำหนด 3 ปี สัญญาเช่าข้อ3 มีข้อความว่า"ผู้เช่า(โจทก์)ได้ชำระเงินค่ามัดจำก่อนทำสัญญาเป็นจำนวน 9,000 บาท ให้ผู้ให้เช่ายึดถือไว้ และผู้ให้เช่าจะคืนเงินมัดจำครบตามจำนวนให้แก่ผู้ให้เช่าในเมื่อสัญญาสิ้นสุดลงฯลฯ" ดังนี้ เห็นได้ว่า จำเลยจะต้องคืนเงินมัดจำให้โจทก์ต่อเมื่อสัญญาเช่าสิ้นสุดลง คือเมื่อโจทก์เช่าบ้านจำเลยครบกำหนด 3 ปี แต่โจทก์เช่าบ้านจำเลยได้เพียง 3 เดือน ก็มีหนังสือบอกเลิกการเช่าไปยังจำเลย โดยอ้างเหตุผลว่า โจทก์(สมาคม)ได้ขออนุญาตต่อทางราชการตำรวจหลายวันแล้ว แต่มิได้รับอนุญาตให้สมาคมย้ายไปอยู่ที่บ้านจำเลยได้ขอเลิกสัญญาเช่า ซึ่งข้ออ้างดังกล่าวโจทก์จำเลยไม่ได้ตกลงกันไว้ในสัญญา โจทก์จะสืบเพิ่มเติมสัญญาเช่าไม่ได้ การที่โจทก์เลิกสัญญาก่อนครบกำหนด จึงเป็นความผิดของโจทก์ และเป็นการผิดสัญญาเช่าข้อ 3 จำเลยมีสิทธิริบเงินมัดจำได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 378(2) เพราะเป็นเงินมัดจำในการที่โจทก์จะต้องปฏิบัติตามสัญญาเช่า สิทธิของจำเลยที่จะริบเงินมัดจำของโจทก์ เกิดจากการที่โจทก์เลิกสัญญาโดยความผิดของโจทก์ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวบัญญัติให้จำเลยริบได้ไว้แล้ว โจทก์จำเลยไม่จำต้องตกลงในเรื่องริบนี้อีก ตามสัญญาข้อ 3 ถือว่า โจทก์จำเลยตกลงกันแล้วว่าจำเลยจะคืนเงินมัดจำให้โจทก์ต่อเมื่อโจทก์ไม่ได้ผิดสัญญา. เมื่อโจทก์ผิดสัญญา จำเลยจึงมีสิทธิริบเงินมัดจำได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 116/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การริบเงินมัดจำสัญญาเช่า: ผู้เช่าเลิกสัญญาก่อนกำหนดด้วยเหตุผลที่ไม่ได้ตกลงกันไว้ จำเลยมีสิทธิริบเงินมัดจำได้
โจทก์เช่าบ้านจากจำเลยมีกำหนด 3 ปี สัญญาเช่าข้อ3 มีข้อความว่า'ผู้เช่า(โจทก์)ได้ชำระเงินค่ามัดจำก่อนทำสัญญาเป็นจำนวน 9,000 บาท ให้ผู้ให้เช่ายึดถือไว้และผู้ให้เช่าจะคืนเงินมัดจำครบตามจำนวนให้แก่ผู้ให้เช่าในเมื่อสัญญาสิ้นสุดลงฯลฯ' ดังนี้ เห็นได้ว่า จำเลยจะต้องคืนเงินมัดจำให้โจทก์ต่อเมื่อสัญญาเช่าสิ้นสุดลง คือเมื่อโจทก์เช่าบ้านจำเลยครบกำหนด 3 ปี แต่โจทก์เช่าบ้านจำเลยได้เพียง 3 เดือน ก็มีหนังสือบอกเลิกการเช่าไปยังจำเลยโดยอ้างเหตุผลว่า โจทก์(สมาคม)ได้ขออนุญาตต่อทางราชการตำรวจหลายวันแล้วแต่มิได้รับอนุญาตให้สมาคมย้ายไปอยู่ที่บ้านจำเลยได้ขอเลิกสัญญาเช่าซึ่งข้ออ้างดังกล่าวโจทก์จำเลยไม่ได้ตกลงกันไว้ในสัญญาโจทก์จะสืบเพิ่มเติมสัญญาเช่าไม่ได้ การที่โจทก์เลิกสัญญาก่อนครบกำหนด จึงเป็นความผิดของโจทก์ และเป็นการผิดสัญญาเช่าข้อ 3 จำเลยมีสิทธิริบเงินมัดจำได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 378(2) เพราะเป็นเงินมัดจำในการที่โจทก์จะต้องปฏิบัติตามสัญญาเช่าสิทธิของจำเลยที่จะริบเงินมัดจำของโจทก์ เกิดจากการที่โจทก์เลิกสัญญาโดยความผิดของโจทก์ซึ่งกฎหมายดังกล่าวบัญญัติให้จำเลยริบได้ไว้แล้วโจทก์จำเลยไม่จำต้องตกลงในเรื่องริบนี้อีก ตามสัญญาข้อ 3 ถือว่า โจทก์จำเลยตกลงกันแล้วว่าจำเลยจะคืนเงินมัดจำให้โจทก์ต่อเมื่อโจทก์ไม่ได้ผิดสัญญาเมื่อโจทก์ผิดสัญญา จำเลยจึงมีสิทธิริบเงินมัดจำได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 116/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การริบเงินมัดจำสัญญาเช่า: สัญญาเช่าระบุเงื่อนไขคืนเงินมัดจำเมื่อสัญญาครบกำหนด การเลิกสัญญาก่อนกำหนดทำให้จำเลยมีสิทธิริบได้
โจทก์เช่าบ้านจากจำเลยมีกำหนด 3 ปี. สัญญาเช่าข้อ3 มีข้อความว่า'ผู้เช่า(โจทก์)ได้ชำระเงินค่ามัดจำก่อนทำสัญญาเป็นจำนวน 9,000 บาท ให้ผู้ให้เช่ายึดถือไว้.และผู้ให้เช่าจะคืนเงินมัดจำครบตามจำนวนให้แก่ผู้ให้เช่าในเมื่อสัญญาสิ้นสุดลงฯลฯ'. ดังนี้ เห็นได้ว่า จำเลยจะต้องคืนเงินมัดจำให้โจทก์ต่อเมื่อสัญญาเช่าสิ้นสุดลง คือเมื่อโจทก์เช่าบ้านจำเลยครบกำหนด 3 ปี. แต่โจทก์เช่าบ้านจำเลยได้เพียง 3 เดือน ก็มีหนังสือบอกเลิกการเช่าไปยังจำเลย. โดยอ้างเหตุผลว่า โจทก์(สมาคม)ได้ขออนุญาตต่อทางราชการตำรวจหลายวันแล้ว. แต่มิได้รับอนุญาตให้สมาคมย้ายไปอยู่ที่บ้านจำเลยได้ขอเลิกสัญญาเช่า. ซึ่งข้ออ้างดังกล่าวโจทก์จำเลยไม่ได้ตกลงกันไว้ในสัญญา. โจทก์จะสืบเพิ่มเติมสัญญาเช่าไม่ได้. การที่โจทก์เลิกสัญญาก่อนครบกำหนด จึงเป็นความผิดของโจทก์ และเป็นการผิดสัญญาเช่าข้อ 3. จำเลยมีสิทธิริบเงินมัดจำได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 378(2). เพราะเป็นเงินมัดจำในการที่โจทก์จะต้องปฏิบัติตามสัญญาเช่า. สิทธิของจำเลยที่จะริบเงินมัดจำของโจทก์ เกิดจากการที่โจทก์เลิกสัญญาโดยความผิดของโจทก์. ซึ่งกฎหมายดังกล่าวบัญญัติให้จำเลยริบได้ไว้แล้ว. โจทก์จำเลยไม่จำต้องตกลงในเรื่องริบนี้อีก. ตามสัญญาข้อ 3 ถือว่า โจทก์จำเลยตกลงกันแล้วว่าจำเลยจะคืนเงินมัดจำให้โจทก์ต่อเมื่อโจทก์ไม่ได้ผิดสัญญา. เมื่อโจทก์ผิดสัญญา จำเลยจึงมีสิทธิริบเงินมัดจำได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1305/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การชำระหนี้สัญญาเช่าและการคืนเงินมัดจำเมื่อผู้รับเหมาไม่สามารถก่อสร้างได้ และขอบเขตอำนาจของตัวแทน
ชาวตลาดกับโจทก์ตั้งจำเลยที่ 2, 3, 4 กับ บ. เป็นตัวแทน ให้มีอำนาจตกลงกับ ส. และจำเลยที่ 1เกี่ยวกับการก่อสร้างและการเช่า โจทก์ได้ปฏิบัติตามสัญญาโดยวางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้างแล้ว แม้จะปรากฏว่าผู้เช่าห้องบางรายมิได้วางเงินตามข้อสัญญา ดังนี้ จะถือว่าโจทก์ผิดสัญญาด้วยหาได้ไม่ เพราะต้องถือว่าชาวตลาดที่ลงชื่อในหนังสือแต่งตั้งจำเลยที่ 2, 3 และ 4กับ บ. เป็นตัวแทน ไม่ได้เป็นตัวการร่วมกัน จำเลยที่ 2, 3 และ 4 กับ บ. มีอำนาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนชาวตลาดแต่ละคนนั้นแยกเป็นรายๆกัน
จำเลยรับเหมาปลูกสร้างตึกแถว โจทก์ประสงค์จะเช่าโดยยอมเสียเงินกินเปล่า จึงได้วางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้าง แต่จำเลยก่อสร้างตึกแถวไม่ได้ เพราะกำลังเป็นความกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินจากกรมศาสนาและเป็นผู้จ้างจำเลยปลูกสร้าง ดังนี้ ถือว่าจำเลยไม่อยู่ในฐานะที่จะทำการชำระหนี้ฝ่ายตนตอบแทนโจทก์ได้ ถือไม่ได้ว่าการที่โจทก์ยังไม่ออกไปจากห้องเช่าเดิมเป็นความผิดของโจทก์ จำเลยจะริบมัดจำของโจทก์ไว้ไม่ได้
จำเลยไม่สามารถทำการก่อสร้างตลาดได้เพราะกรมการศาสนาบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินที่ปลูกสร้างตลาดกับ ส. กรณีจึงเข้ามาตรา 378(3) จำเลยจึงต้องคืนมัดจำให้โจทก์
จำเลยเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ไม่มีการมอบอำนาจโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 801 จึงไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็นการผูกพันชาวตลาด.ซึ่งเป็นตัวการไม่ให้เรียกคืนเงินมัดจำได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1305/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาจะซื้อจะขาย/เช่า และการชำระหนี้ที่ไม่เป็นไปตามสัญญา: สิทธิในการรับคืนเงินมัดจำ
ชาวตลาดกับโจทก์ตั้งจำเลยที่ 2,3,4 กับ บ. เป็นตัวแทนให้มีอำนาจตกลงกับ ส. และจำเลยที่ 1เกี่ยวกับการก่อสร้างและการเช่า โจทก์ได้ปฏิบัติตามสัญญาโดยวางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้างแล้ว แม้จะปรากฏว่าผู้เช่าห้องบางรายมิได้วางเงินตามข้อสัญญา ดังนี้ จะถือว่าโจทก์ผิดสัญญาด้วยหาได้ไม่ เพราะต้องถือว่าชาวตลาดที่ลงชื่อในหนังสือแต่งตั้งจำเลยที่ 2,3 และ 4 กับ บ. เป็นตัวแทน ไม่ได้เป็นตัวการร่วมกัน จำเลยที่ 2,3 และ 4 กับ บ. มีอำนาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนชาวตลาดแต่ละคนนั้นแยกเป็นรายๆกัน
จำเลยรับเหมาปลูกสร้างตึกแถว โจทก์ประสงค์จะเช่าโดยยอมเสียเงินกินเปล่า จึงได้วางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้าง แต่จำเลยก่อสร้างตึกแถวไม่ได้ เพราะกำลังเป็นความกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินจากกรมการศาสนาและเป็นผู้จ้างจำเลยปลูกสร้าง ดังนี้ ถือว่าจำเลยไม่อยู่ในฐานะที่จะทำการชำระหนี้ฝ่ายตนตอบแทนโจทก์ได้ ถือไม่ได้ว่าการที่โจทก์ยังไม่ออกไปจากห้องเช่าเดิมเป็นความผิดของโจทก์ จำเลยจะริบมัดจำของโจทก์ไว้ไม่ได้
จำเลยไม่สามารถทำการก่อสร้างตลาดได้เพราะกรมการศาสนาบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินที่ปลูกสร้างตลาดกับส. กรณีจึงเข้ามาตรา 378(3) จำเลยจึงต้องคืนมัดจำให้โจทก์
จำเลยเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ไม่มีการมอบอำนาจโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 801 จึงไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็นการผูกพันชาวตลาด ซึ่งเป็นตัวการไม่ให้เรียกคืนเงินมัดจำได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1305/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่า, มัดจำ, การไม่ชำระหนี้, ตัวแทน, และข้อยกเว้นการริบมัดจำ
ชาวตลาดกับโจทก์ตั้งจำเลยที่ 2,3,4 กับ บ. เป็นตัวแทน. ให้มีอำนาจตกลงกับ ส. และจำเลยที่ 1เกี่ยวกับการก่อสร้างและการเช่า. โจทก์ได้ปฏิบัติตามสัญญาโดยวางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้างแล้ว. แม้จะปรากฏว่าผู้เช่าห้องบางรายมิได้วางเงินตามข้อสัญญา. ดังนี้ จะถือว่าโจทก์ผิดสัญญาด้วยหาได้ไม่. เพราะต้องถือว่าชาวตลาดที่ลงชื่อในหนังสือแต่งตั้งจำเลยที่ 2,3 และ 4กับ บ. เป็นตัวแทน ไม่ได้เป็นตัวการร่วมกัน. จำเลยที่2,3 และ 4 กับ บ. มีอำนาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนชาวตลาดแต่ละคนนั้นแยกเป็นรายๆกัน.
จำเลยรับเหมาปลูกสร้างตึกแถว. โจทก์ประสงค์จะเช่าโดยยอมเสียเงินกินเปล่า จึงได้วางเงินมัดจำช่วยค่าก่อสร้าง. แต่จำเลยก่อสร้างตึกแถวไม่ได้ เพราะกำลังเป็นความกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินจากกรมการศาสนาและเป็นผู้จ้างจำเลยปลูกสร้าง. ดังนี้ ถือว่าจำเลยไม่อยู่ในฐานะที่จะทำการชำระหนี้ฝ่ายตนตอบแทนโจทก์ได้. ถือไม่ได้ว่าการที่โจทก์ยังไม่ออกไปจากห้องเช่าเดิมเป็นความผิดของโจทก์ จำเลยจะริบมัดจำของโจทก์ไว้ไม่ได้.
จำเลยไม่สามารถทำการก่อสร้างตลาดได้เพราะกรมการศาสนาบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินที่ปลูกสร้างตลาดกับส.. กรณีจึงเข้ามาตรา 378(3) จำเลยจึงต้องคืนมัดจำให้โจทก์.
จำเลยเป็นตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ไม่มีการมอบอำนาจโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 801. จึงไม่มีอำนาจทำสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็นการผูกพันชาวตลาด.ซึ่งเป็นตัวการไม่ให้เรียกคืนเงินมัดจำได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 47/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาจ้างทำของ การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย และการบอกเลิกสัญญา
โจทก์จ้างจำเลยต่อเรือ เป็นสัญญาจ้างทำของจำเลยผู้รับจ้างมีหน้าที่ทำเรือให้เสร็จภายในกำหนดตามสัญญา โจทก์ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างก็จะต้องให้สินจ้างแก่จำเลยเพื่อผลสำเร็จแห่งการที่ทำนั้น เมื่อในสัญญาไม่ปรากฏว่าโจทก์จะต้องชำระสินจ้างให้จำเลยครบถ้วนก่อนวันที่ได้กำหนดตามสัญญา โจทก์จะพึงใช้สินจ้างแก่จำเลยก็ต่อเมื่อได้รับมอบเรือที่ได้ทำเสร็จเรียบร้อยในวันครบกำหนดเท่านั้น
จำเลยไม่สามารถส่งมอบเรือให้แก่โจทก์ในวันครบกำหนดตามสัญญา เนื่องจากเรือพิพาทถูกเจ้าหนี้จำเลยในคดีอื่นนำเจ้าพนักงานบังคับคดีทำการยึด การชำระหนี้ของจำเลยจึงตกเป็นพ้นวิสัย เพราะพฤติการณ์ซึ่งฝ่ายจำเลยต้องรับผิดชอบ ทั้งโจทก์ก็ปฏิเสธไม่ยอมรับเรือลำอื่นแทน ซึ่งยังต่อได้น้อยกว่าเรือพิพาท และได้ขอเงินมัดจำคืนจากจำเลยทั้งยังได้นำคดีมาฟ้องเรียกเงินมัดจำคืนจากจำเลยหลังจากวันครบกำหนดตามสัญญาเพียง 4 วัน ถือได้ว่าโจทก์ได้บอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว จำเลยต้องคืนเงินมัดจำแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 378 (3)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 47/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาจ้างทำของ พ้นวิสัยจากเหตุเจ้าหนี้จำเลยยึดทรัพย์ และการบอกเลิกสัญญา
โจทก์จ้างจำเลยต่อเรือ เป็นสัญญาจ้างทำของจำเลยผู้รับจ้างมีหน้าที่ทำเรือให้เสร็จภายในกำหนดตามสัญญาโจทก์ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างก็จะต้องให้สินจ้างแก่จำเลยเพื่อผลสำเร็จแห่งการที่ทำนั้น เมื่อในสัญญาไม่ปรากฏว่าโจทก์จะต้องชำระสินจ้างให้จำเลยครบถ้วนก่อนวันที่ได้กำหนดตามสัญญา โจทก์จะพึงใช้สินจ้างแก่จำเลยก็ต่อเมื่อได้รับมอบเรือที่ได้ทำเสร็จเรียบร้อยในวันครบกำหนดเท่านั้น
จำเลยไม่สามารถส่งมอบเรือให้แก่โจทก์ในวันครบกำหนดตามสัญญา เนื่องจากเรือพิพาทถูกเจ้าหนี้จำเลยในคดีอื่นนำเจ้าพนักงานบังคับคดีทำการยึดการชำระหนี้ของจำเลยจึงตกเป็นพ้นวิสัย เพราะพฤติการณ์ซึ่งฝ่ายจำเลยต้องรับผิดชอบทั้งโจทก์ก็ปฏิเสธไม่ยอมรับเรือลำอื่นแทนซึ่งยังต่อได้น้อยกว่าเรือพิพาท และได้ขอเงินมัดจำคืนจากจำเลยทั้งยังได้นำคดีมาฟ้องเรียกเงินมัดจำคืนจากจำเลยหลังจากวันครบกำหนดตามสัญญาเพียง 4 วัน ถือได้ว่าโจทก์ได้บอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว จำเลยต้องคืนเงินมัดจำแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 378(3)
of 16