พบผลลัพธ์ทั้งหมด 39 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2445/2534 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฟังพยานหลักฐานสำเนาเอกสาร และเจตนาการกระทำความผิดฐานจัดหางาน
สำเนาเอกสารซึ่งพนักงานสอบสวนลงลายมือชื่อรับรองว่าเป็นเอกสารที่ถ่ายมาจากต้นฉบับจริง และไม่ปรากฏว่าสำเนาเอกสารดังกล่าวไม่ตรงกับต้นฉบับ ทั้งจำเลยไม่โต้แย้งคัดค้านความถูกต้องแท้จริงของเอกสาร ศาลจึงรับฟังสำเนาเอกสารเหล่านี้ได้โดยชอบตามประมวล-กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 238
จำเลยหลอกลวงพวกผู้เสียหายว่าบริษัท บ.สามารถจัดส่งคนไปทำงานที่ต่างประเทศได้ จนพวกผู้เสียหายหลงเชื่อและสมัครไปทำงานกับจำเลย โดยบริษัท บ.และจำเลยไม่ได้รับอนุญาตให้จัดหางาน การกระทำของจำเลยเป็นการจัดหางานตามความหมายของพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ.2511 มาตรา 4 แล้ว เมื่อจำเลยกระทำโดยรู้สำนึกในการกระทำและขณะเดียวกันก็ประสงค์ต่อผลของการกระทำนั้น ทั้งตามคำฟ้องไม่มีข้อความตอนใดแสดงให้เห็นว่าจำเลยมิได้มีเจตนาที่จะจัดหางานให้แก่พวกผู้เสียหาย จึงถือได้ว่าจำเลยมีเจตนากระทำความผิดในฐานนี้อีกกระทงหนึ่ง
จำเลยหลอกลวงพวกผู้เสียหายว่าบริษัท บ.สามารถจัดส่งคนไปทำงานที่ต่างประเทศได้ จนพวกผู้เสียหายหลงเชื่อและสมัครไปทำงานกับจำเลย โดยบริษัท บ.และจำเลยไม่ได้รับอนุญาตให้จัดหางาน การกระทำของจำเลยเป็นการจัดหางานตามความหมายของพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ.2511 มาตรา 4 แล้ว เมื่อจำเลยกระทำโดยรู้สำนึกในการกระทำและขณะเดียวกันก็ประสงค์ต่อผลของการกระทำนั้น ทั้งตามคำฟ้องไม่มีข้อความตอนใดแสดงให้เห็นว่าจำเลยมิได้มีเจตนาที่จะจัดหางานให้แก่พวกผู้เสียหาย จึงถือได้ว่าจำเลยมีเจตนากระทำความผิดในฐานนี้อีกกระทงหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2445/2534
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจัดหางานโดยไม่ได้รับอนุญาต และการรับรองสำเนาเอกสารในชั้นศาล
สำเนาเอกสารซึ่งพนักงานสอบสวนลงลายมือชื่อรับรองว่าเป็นเอกสารที่ถ่ายมาจากตันฉบับจริง และไม่ปรากฏว่าสำเนาเอกสารดังกล่าวไม่ตรงกับต้นฉบับ ทั้งจำเลยไม่โต้แย้งคัดค้านความถูกต้องแท้จริงของเอกสาร ศาลจึงรับฟังสำเนาเอกสารเหล่านี้ได้โดยชอบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 238 จำเลยหลอกลวงพวกผู้เสียหายว่าบริษัท บ. สามารถจัดส่งคนไปทำงานที่ต่างประเทศได้ จนพวกผู้เสียหายหลงเชื่อและสมัครไปทำงานกับจำเลย โดยบริษัท บ. และจำเลยไม่ได้รับอนุญาตให้จัดหางานการกระทำของจำเลยเป็นการจัดหางานตามความหมายของพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2511 มาตรา 4 แล้ว เมื่อจำเลยกระทำโดยรู้สำนึกในการกระทำและขณะเดียวกันก็ประสงค์ต่อผลของการกระทำนั้น ทั้งตามคำฟ้องไม่มีข้อความตอนใดแสดงให้เห็นว่าจำเลยมิได้มีเจตนาที่จะจัดหางานให้แก่พวกผู้เสียหาย จึงถือได้ว่าจำเลยมีเจตนากระทำความผิดในฐานนี้อีกกระทงหนึ่ง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6018/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หลอกลวงจัดหางานต่างประเทศ – ความผิดฉ้อโกงประชาชน และการยกฟ้องฐานจัดหางาน
การที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับพวกชักชวนชาวบ้านให้ไปทำงานที่ประเทศมาเลเซีย โดยเรียกค่าบริการและรับเงินจากโจทก์ร่วมและผู้เสียหายซึ่งสมัครไปทำงานดังกล่าวแต่แล้วกลับปล่อยโจทก์ร่วม กับผู้เสียหายไว้ที่จังหวัดยะลา โดยที่ไม่มีงานในประเทศมาเลเซียที่จะให้ไปทำจริงดังที่ประกาศชักชวน ดังนี้ เท่ากับเป็นการหลอกลวงผู้อื่นด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จต่อประชาชน เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 343 วรรคหนึ่ง
ตอนแรกของคำฟ้องบรรยายว่า จำเลยทั้งสามกับพวกร่วมกันจัดหางานโดยเรียกรับค่าบริการโดยไม่ได้รับอนุญาตจัดหางานจากนายทะเบียน ตามกฎหมาย แต่ตอนหลังคำฟ้องกลับบรรยายว่า จำเลยทั้งสามกับพวกไม่ได้มีเจตนาและไม่มีความสามารถที่จะติดต่อหาผู้ใดไปทำงาน ดังนี้คำฟ้องตอนหลังของโจทก์เป็นการยืนยันข้อเท็จจริงว่า จำเลยทั้งสามไม่มีเจตนาจัดหางานการกระทำของจำเลยทั้งสามตามฟ้องจึงไม่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติจัด หางานฯ พ.ศ.2511 หมายเหตุ วรรคสองวินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่
ตอนแรกของคำฟ้องบรรยายว่า จำเลยทั้งสามกับพวกร่วมกันจัดหางานโดยเรียกรับค่าบริการโดยไม่ได้รับอนุญาตจัดหางานจากนายทะเบียน ตามกฎหมาย แต่ตอนหลังคำฟ้องกลับบรรยายว่า จำเลยทั้งสามกับพวกไม่ได้มีเจตนาและไม่มีความสามารถที่จะติดต่อหาผู้ใดไปทำงาน ดังนี้คำฟ้องตอนหลังของโจทก์เป็นการยืนยันข้อเท็จจริงว่า จำเลยทั้งสามไม่มีเจตนาจัดหางานการกระทำของจำเลยทั้งสามตามฟ้องจึงไม่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติจัด หางานฯ พ.ศ.2511 หมายเหตุ วรรคสองวินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6018/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฉ้อโกงประชาชนโดยหลอกลวงจัดหางานต่างประเทศ แม้ไม่มีเจตนาจัดหางานจริง ก็ยังผิดฐานฉ้อโกง
การที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกับพวกชักชวนชาวบ้านให้ไปทำงานที่ประเทศมาเลเซีย โดยเรียกค่าบริการและรับเงินจากโจทก์ร่วมและผู้เสียหายซึ่งสมัครไปทำงานดังกล่าวแต่แล้วกลับปล่อยโจทก์ร่วมกับผู้เสียหายไว้ที่จังหวัดยะลา โดยที่ไม่มีงานในประเทศมาเลเซียที่จะให้ไปทำจริงดังที่ประกาศชักชวน ดังนี้ เท่ากับเป็นการหลอกลวงผู้อื่นด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จต่อประชาชน เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 343 วรรคหนึ่ง ตอนแรกของคำฟ้องบรรยายว่า จำเลยทั้งสามกับพวกร่วมกันจัดหางานโดยเรียกรับค่าบริการโดยไม่ได้รับอนุญาตจัดหางานจากนายทะเบียนตามกฎหมาย แต่ตอนหลังคำฟ้องกลับบรรยายว่า จำเลยทั้งสามกับพวกไม่ได้มีเจตนาและไม่มีความสามารถที่จะติดต่อหาผู้ใดไปทำงาน ดังนี้คำฟ้องตอนหลังของโจทก์เป็นการยืนยันข้อเท็จจริงว่า จำเลยทั้งสามไม่มีเจตนาจัดหางานการกระทำของจำเลยทั้งสามตามฟ้องจึงไม่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติจัดหางานฯ พ.ศ.2511 หมายเหตุ วรรคสองวินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6016/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาจัดหางานจริงหรือไม่? ศาลยกฟ้องฐานจัดหางานโดยไม่ได้รับอนุญาต หากจำเลยเพียงหลอกลวงเพื่อเรียกค่าบริการ
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยประกอบธุรกิจจัดหางานให้แก่คนหางานโดยเรียกและรับค่าบริการโดยไม่ได้รับอนุญาต แต่ในความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยกระทำการโดยทุจริตหลอกลวงประชาชนด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จและ ปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้งแก่ประชาชน โดยจำเลยใช้อุบายหลอกลวงว่าจำเลยสามารถจัดหางานให้ผู้เสียหายและประชาชนไปทำงานที่ประเทศมาเลเซีย อันเป็นความเท็จ ความจริงจำเลยไม่สามารถจัดหางานให้แก่ผู้เสียหายและประชาชนผู้ประสงค์จะไปทำงานในประเทศมาเลเซียได้ แสดงว่าจำเลยไม่ประสงค์ที่จะจัดหางานดังกล่าวอย่างจริงจังถือไม่ได้ว่าจำเลยมีเจตนาจะจัดหางานให้แก่ผู้เสียหาย แต่อย่างใดจำเลยเพียงแต่อ้างการประกอบธุรกิจจัดหางานมาเป็นข้อหลอกลวงเพื่อให้ได้เงินค่าบริการจากผู้เสียหายเท่านั้น การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดฐานจัดหางานโดยมิได้รับอนุญาต
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6016/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาจัดหางานจริงหรือไม่? ศาลตัดสินคดีฉ้อโกงประชาชน ไม่ถือเป็นความผิดฐานจัดหางานโดยไม่ได้รับอนุญาต
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยประกอบธุรกิจจัดหางานให้แก่คนหางานโดยเรียกและรับค่าบริการโดยไม่ได้รับอนุญาต แต่ในความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยกระทำการโดยทุจริตหลอกลวงประชาชนด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จและปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้งแก่ประชาชน โดยจำเลยใช้อุบายหลอกลวงว่าจำเลยสามารถจัดหางานให้ผู้เสียหายและประชาชนไปทำงานที่ประเทศมาเลเซีย อันเป็นความเท็จ ความจริงจำเลยไม่สามารถจัดหางานให้แก่ผู้เสียหายและประชาชนผู้ประสงค์จะไปทำงานในประเทศมาเลเซียได้ แสดงว่าจำเลยไม่ประสงค์ที่จะจัดหางานดังกล่าวอย่างจริงจังถือไม่ได้ว่าจำเลยมีเจตนาจะจัดหางานให้แก่ผู้เสียหายแต่อย่างใดจำเลยเพียงแต่อ้างการประกอบธุรกิจจัดหางานมาเป็นข้อหลอกลวงเพื่อให้ได้เงินค่าบริการจากผู้เสียหายเท่านั้น การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดฐานจัดหางานโดยมิได้รับอนุญาต.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4914/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน: การกระทำต่างกรรมต่างวาระ แม้หลอกลวงหลายกลุ่ม
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยในความผิดตามพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2521 มีกำหนด 1 เดือน และความผิดฐานฉ้อโกงประชาชนตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 343 รวม 5 กระทงจำคุกกระทงละ 2 ปี ความผิดตามพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2521 ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนส่วนความผิดฐานฉ้อโกงประชาชนพิพากษาแก้เป็นว่า การกระทำของจำเลยเป็นความผิดกรรมเดียวและลงโทษจำคุกมีกำหนด 2 ปี ความผิดทั้งสองฐานจึงต้องห้ามมิให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 วรรคแรก
การที่จำเลยฎีกาว่า พยานหลักฐานที่โจทก์นำสืบมานั้นยังฟังไม่ได้ว่าจำเลยเป็นคนรับสมัครไปทำงานและรับเงินค่าบริการจากโจทก์ร่วมและผู้เสียหาย พยานหลักฐานที่จำเลยนำสืบมานั้นฟังหักล้างพยานหลักฐานของโจทก์ได้ว่าจำเลยมิได้หลอกลวงโจทก์ร่วมและผู้เสียหาย ทั้งมิได้รับเงินไว้เพื่อผลประโยชน์ของตนเอง ขอให้ศาลฎีการับฟังพยานเอกสารต่าง ๆ ที่จำเลยส่งมาพร้อมฎีกาและขอให้รอการลงโทษจำเลยนั้น เป็นการโต้แย้งดุลพินิจในการฟังพยานหลักฐานและการกำหนดโทษของศาลอุทธรณ์ เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงซึ่งต้องห้าม
จำเลยหลอกลวงว่าสามารถจัดส่งผู้เสียหายไปทำงานต่างประเทศได้ผู้เสียหายแต่ละคนหลงเชื่อจึงมาสมัครงานกับจำเลยและมอบเงินค่าบริการให้ตามที่จำเลยเรียกร้อง โดยกระทำในวันเวลาที่แตกต่างกันรวม 5 ครั้ง แต่ละครั้งจำเลยหลอกลวงประชาชนต่างกลุ่มกันผู้เสียหายแต่ละกลุ่มมาสมัครงานและมอบเงินแก่จำเลยต่างวันเวลากัน เป็นการกระทำโดยเจตนาให้เกิดผลต่อประชาชนแต่ละกลุ่มแยกต่างหากจากกันต่างกรรมต่างวาระ เป็นความผิดฐานฉ้อโกงประชาชนรวม 5 กระทง.
การที่จำเลยฎีกาว่า พยานหลักฐานที่โจทก์นำสืบมานั้นยังฟังไม่ได้ว่าจำเลยเป็นคนรับสมัครไปทำงานและรับเงินค่าบริการจากโจทก์ร่วมและผู้เสียหาย พยานหลักฐานที่จำเลยนำสืบมานั้นฟังหักล้างพยานหลักฐานของโจทก์ได้ว่าจำเลยมิได้หลอกลวงโจทก์ร่วมและผู้เสียหาย ทั้งมิได้รับเงินไว้เพื่อผลประโยชน์ของตนเอง ขอให้ศาลฎีการับฟังพยานเอกสารต่าง ๆ ที่จำเลยส่งมาพร้อมฎีกาและขอให้รอการลงโทษจำเลยนั้น เป็นการโต้แย้งดุลพินิจในการฟังพยานหลักฐานและการกำหนดโทษของศาลอุทธรณ์ เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงซึ่งต้องห้าม
จำเลยหลอกลวงว่าสามารถจัดส่งผู้เสียหายไปทำงานต่างประเทศได้ผู้เสียหายแต่ละคนหลงเชื่อจึงมาสมัครงานกับจำเลยและมอบเงินค่าบริการให้ตามที่จำเลยเรียกร้อง โดยกระทำในวันเวลาที่แตกต่างกันรวม 5 ครั้ง แต่ละครั้งจำเลยหลอกลวงประชาชนต่างกลุ่มกันผู้เสียหายแต่ละกลุ่มมาสมัครงานและมอบเงินแก่จำเลยต่างวันเวลากัน เป็นการกระทำโดยเจตนาให้เกิดผลต่อประชาชนแต่ละกลุ่มแยกต่างหากจากกันต่างกรรมต่างวาระ เป็นความผิดฐานฉ้อโกงประชาชนรวม 5 กระทง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4914/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฉ้อโกงประชาชนต่างกรรมต่างวาระ: ศาลฎีกาแก้โทษเพิ่มกระทงความผิด
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยในความผิดตามพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2521 มีกำหนด 1 เดือน และความผิดฐานฉ้อโกงประชาชนตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 343 รวม 5 กระทงจำคุกกระทงละ 2 ปี ความผิดตามพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2521 ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนส่วนความผิดฐานฉ้อโกงประชาชนพิพากษาแก้เป็นว่า การกระทำของจำเลยเป็นความผิดกรรมเดียวและลงโทษจำคุกมีกำหนด 2 ปี ความผิดทั้งสองฐานจึงต้องห้ามมิให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 วรรคแรก การที่จำเลยฎีกาว่า พยานหลักฐานที่โจทก์นำสืบมานั้นยังฟังไม่ได้ว่าจำเลยเป็นคนรับสมัครไปทำงานและรับเงินค่าบริการจากโจทก์ร่วมและผู้เสียหาย พยานหลักฐานที่จำเลยนำสืบมานั้นฟังหักล้างพยานหลักฐานของโจทก์ได้ว่าจำเลยมิได้หลอกลวงโจทก์ร่วมและผู้เสียหาย ทั้งมิได้รับเงินไว้เพื่อผลประโยชน์ของตนเอง ขอให้ศาลฎีการับฟังพยานเอกสารต่าง ๆ ที่จำเลยส่งมาพร้อมฎีกาและขอให้รอการลงโทษจำเลยนั้น เป็นการโต้แย้งดุลพินิจในการฟังพยานหลักฐานและการกำหนดโทษของศาลอุทธรณ์ เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงซึ่งต้องห้าม จำเลยหลอกลวงว่าสามารถจัดส่งผู้เสียหายไปทำงานต่างประเทศได้ผู้เสียหายแต่ละคนหลงเชื่อจึงมาสมัครงานกับจำเลยและมอบเงินค่าบริการให้ตามที่จำเลยเรียกร้อง โดยกระทำในวันเวลาที่แตกต่างกันรวม 5 ครั้ง แต่ละครั้งจำเลยหลอกลวงประชาชนต่างกลุ่มกันผู้เสียหายแต่ละกลุ่มมาสมัครงานและมอบเงินแก่จำเลยต่างวันเวลากัน เป็นการกระทำโดยเจตนาให้เกิดผลต่อประชาชนแต่ละกลุ่มแยกต่างหากจากกันต่างกรรมต่างวาระ เป็นความผิดฐานฉ้อโกงประชาชนรวม 5 กระทง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2613/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีความผิดพ.ร.บ.จัดหางาน: ผู้เสียหายต้องเป็นรัฐ ไม่ใช่ผู้ถูกหลอกลวง
พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางานเป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นเพื่อคุ้มครองประชาชนผู้หางานมิให้เสียเปรียบแก่ผู้จัดหางาน ความผิดของผู้จัดหางานจะเกิดขึ้นต่อเมื่อไม่ได้รับอนุญาตให้จัดหางานจากเจ้าพนักงาน รัฐจึงเป็นผู้เสียหายแต่เพียงผู้เดียวที่จะดำเนินคดีแก่ผู้จัดหางานที่ไม่ได้รับอนุญาต โจทก์ซึ่งถูกจำเลยหลอกลวงให้จ่ายเงินโดยไม่อาจหางานให้ทำได้ไม่ใช่ผู้เสียหายที่จะฟ้องจำเลยให้ต้องรับโทษตามพระราชบัญญัติดังกล่าว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2613/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีจัดหางาน: ผู้เสียหายต้องเป็นรัฐ ไม่ใช่ผู้ถูกหลอกลวง
พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางานเป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นเพื่อคุ้มครองประชาชนผู้หางานมิให้เสียเปรียบแก่ผู้จัดหางาน ความผิดของผู้จัดหางานจะเกิดขึ้นต่อเมื่อไม่ได้รับอนุญาตให้จัดหางานจากเจ้าพนักงาน รัฐจึงเป็นผู้เสียหายแต่เพียงผู้เดียวที่จะดำเนินคดีแก่ผู้จัดหางานที่ไม่ได้รับอนุญาต โจทก์ซึ่งถูกจำเลยหลอกลวงให้จ่ายเงินโดยไม่อาจหางานให้ทำได้ไม่ใช่ผู้เสียหายที่จะฟ้องจำเลยให้ต้องรับโทษตามพระราชบัญญัติดังกล่าว