พบผลลัพธ์ทั้งหมด 179 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2385/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์คดีมรดกและการยกข้อจำกัดการวินิจฉัยของศาล
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า ที่พิพาทเป็นทรัพย์มรดกที่ยังมิได้แบ่งจำเลยมีสิทธิใช้ทรัพย์ดังกล่าวในฐานะเจ้าของรวมได้ จำเลยอุทธรณ์ฝ่ายเดียวว่าที่พิพาทไม่ใช่ทรัพย์มรดกและคดีขาดอายุความแล้ว ดังนี้ เมื่อโจทก์ไม่ได้อุทธรณ์คำขอบังคับตามคำฟ้องโจทก์ย่อมเป็นอันตกไป การจะวินิจฉัยว่าคดีขาดอายุความหรือไม่ดังที่จำเลยฎีกามาฝ่ายเดียวจึงไม่ทำให้ผลของคดีเปลี่ยนแปลงไป และประเด็นตามฎีกาของจำเลยในข้อที่ว่าศาลอุทธรณ์หยิบยกปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องขึ้นวินิจฉัยเป็นการไม่ชอบนั้นหรือไม่ ก็ไม่จำต้องวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2385/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทรัพย์มรดกยังไม่แบ่ง-อายุความ-อำนาจฟ้อง: ศาลฎีกาพิพากษากลับให้บังคับคดีตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าที่พิพาทเป็นทรัพย์มรดกที่ยังมิได้แบ่งจำเลยมีสิทธิใช้ทรัพย์ดังกล่าวในฐานะเจ้าของรวมได้จำเลยอุทธรณ์ฝ่ายเดียวว่าที่พิพาทไม่ใช่ทรัพย์มรดกและคดีขาดอายุความแล้วดังนี้เมื่อโจทก์ไม่ได้อุทธรณ์คำขอบังคับตามคำฟ้องโจทก์ย่อมเป็นอันตกไปการจะวินิจฉัยว่าคดีขาดอายุความหรือไม่ดังที่จำเลยฎีกามาฝ่ายเดียวจึงไม่ทำให้ผลของคดีเปลี่ยนแปลงไปและประเด็นตามฎีกาของจำเลยในข้อที่ว่าศาลอุทธรณ์หยิบยกปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องขึ้นวินิจฉัยเป็นการไม่ชอบนั้นหรือไม่ก็ไม่จำต้องวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2229/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีรื้อบ้านและการกักขังลูกหนี้และบริวารที่ไม่ปฏิบัติตามคำพิพากษา
โจทก์มีหน้าที่ต้องปฎิบัติตามคำพิพากษาที่พิพากษาให้โจทก์รื้อบ้านและออกไปจากที่ดินของจำเลยตราบใดที่โจทก์ยังไม่รื้อบ้านดังกล่าวออกไปจากที่ดินของจำเลยจำเลยชอบที่จะขอให้ศาลออกหมายจับเพื่อจับกุมโจทก์มากักขังไว้จนกว่าจะรื้อบ้านออกไปจากที่ดินของจำเลยเมื่อผู้รับมอบอำนาจโจทก์ยังคงอยู่ในบ้านที่ถูกบังคับให้ต้องรื้อไปตามคำพิพากษาแต่ไม่ปรากฎว่าผู้รับมอบอำนาจโจทก์แสดงอำนาจพิเศษต่อศาลภายในแปดวันนับแต่วันที่เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ปิดประกาศดังนี้จำเลยย่อมขอให้ศาลออกหมายจับกุมผู้รับมอบอำนาจโจทก์มากักขังได้เช่นเดียวกันเพราะกฎหมายถือว่าผู้รับมอบอำนาจโจทก์เป็นบริวารของโจทก์ซึ่งเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษา โจทก์แพ้คดีและถูกบังคับให้ต้องรื้อบ้านออกไปจากที่ดินของจำเลยตามฟ้องแย้งแล้วกลับมาอ้างในชั้นบังคับคดีว่าโจทก์มิใช่เจ้าของบ้านดังกล่าวจึงไม่อาจปฎิบัติตามคำพิพากษาได้นั้นเป็นการแสดงให้เห็นว่าโจทก์กล่าวอ้างขึ้นเพื่อประสงค์ให้การบังคับคดีของจำเลยถูกประวิงให้ล่าช้าออกไปเท่านั้นและการที่โจทก์กล่าวอ้างว่าโจทก์และผู้รับมอบอำนาจโจทก์ย้ายออกจากบ้านดังกล่าวไปอยู่ที่อื่นแล้วก็ดีหรือบุคคลที่ยังอยู่ในบ้านมิใช่บริวารของโจทก์ก็ดีหาเป็นเหตุให้โจทก์และบริวารพ้นจากความรับผิดในอันที่จะถูกจับกุมไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2229/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีรื้อถอนบ้านและการกักขังลูกหนี้และบริวารที่ไม่ปฏิบัติตามคำพิพากษา
โจทก์มีหน้าที่ต้องปฎิบัติตามคำพิพากษาที่พิพากษาให้โจทก์รื้อบ้านและออกไปจากที่ดินของจำเลย ตราบใดที่โจทก์ยังไม่รื้อบ้านดังกล่าวออกไปจากที่ดินของจำเลย จำเลยชอบที่จะขอให้ศาลออกหมายจับเพื่อจับกุมโจทก์มากักขังไว้จนกว่าจะรื้อบ้านออกไปจากที่ดินของจำเลย เมื่อผู้รับมอบอำนาจโจทก์ยังคงอยู่ในบ้านที่ถูกบังคับให้ต้องรื้อไปตามคำพิพากษาแต่ไม่ปรากฎว่าผู้รับมอบอำนาจโจทก์แสดงอำนาจพิเศษต่อศาลภายในแปดวันนับแต่วันที่เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ปิดประกาศดังนี้ จำเลยย่อมขอให้ศาลออกหมายจับกุมผู้รับมอบอำนาจโจทก์มากักขังได้เช่นเดียวกัน เพราะกฎหมายถือว่าผู้รับมอบอำนาจโจทก์เป็นบริวารของโจทก์ซึ่งเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษา โจทก์แพ้คดีและถูกบังคับให้ต้องรื้อบ้านออกไปจากที่ดินของจำเลยตามฟ้องแย้งแล้ว กลับมาอ้างในชั้นบังคับคดีว่าโจทก์มิใช่เจ้าของบ้านดังกล่าวจึงไม่อาจปฎิบัติตามคำพิพากษาได้นั้น เป็นการแสดงให้เห็นว่าโจทก์กล่าวอ้างขึ้นเพื่อประสงค์ให้การบังคับคดีของจำเลยถูกประวิงให้ล่าช้าออกไปเท่านั้นและการที่โจทก์กล่าวอ้างว่าโจทก์และผู้รับมอบอำนาจโจทก์ย้ายออกจากบ้านดังกล่าวไปอยู่ที่อื่นแล้วก็ดี หรือบุคคลที่ยังอยู่ในบ้านมิใช่บริวารของโจทก์ก็ดี หาเป็นเหตุให้โจทก์และบริวารพ้นจากความรับผิดในอันที่จะถูกจับกุมไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2229/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีรื้อถอนบ้านและการกักขังบริวารลูกหนี้ ผู้รับมอบอำนาจไม่แสดงอำนาจพิเศษ
โจทก์มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคำพิพากษาที่พิพากษาให้โจทก์รื้อบ้านและออกไปจากที่ดินของจำเลย ตราบใดที่โจทก์ยังไม่รื้อบ้านดังกล่าวออกไปจากที่ดินของจำเลย จำเลยชอบที่จะขอให้ศาลออกหมายจับเพื่อจับกุมโจทก์มากักขังไว้จนกว่าจะรื้อบ้านออกไปจากที่ดินของจำเลย เมื่อผู้รับมอบอำนาจโจทก์ยังคงอยู่ในบ้านที่ถูกบังคับให้ต้องรื้อไปตามคำพิพากษา แต่ไม่ปรากฏว่าผู้รับมอบอำนาจโจทก์แสดงอำนาจพิเศษต่อศาลภายในแปดวันนับแต่วันที่เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ปิดประกาศ ดังนี้ จำเลยย่อมขอให้ศาลออกหมายจับกุมผู้รับมอบอำนาจโจทก์มากักขังได้เช่นเดียวกัน เพราะกฎหมายถือว่าผู้รับมอบอำนาจโจทก์เป็นบริวารของโจทก์ซึ่งเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษา
โจทก์แพ้คดีและถูกบังคับให้ต้องรื้อบ้านออกไปจากที่ดินของจำเลยตามฟ้องแย้งแล้ว กลับมาอ้างในชั้นบังคับคดีว่าโจทก์มิใช่เจ้าของบ้านดังกล่าวจึงไม่อาจปฏิบัติตามคำพิพากษาได้นั้น เป็นการแสดงให้เห็นว่าโจทก์กล่าวอ้างขึ้นเพื่อประสงค์ให้การบังคับคดีของจำเลยถูกประวิงให้ล่าช้าออกไปเท่านั้น และการที่โจทก์กล่าวอ้างว่าโจทก์และผู้รับมอบอำนาจโจทก์ย้ายออกจากบ้านดังกล่าวไปอยู่ที่อื่นแล้วก็ดี หรือบุคคลที่ยังอยู่ในบ้านมิใช่บริวารของโจทก์ก็ดี หาเป็นเหตุให้โจทก์และบริวารพ้นจากความรับผิดในอันที่จะถูกจับกุมไม่
โจทก์แพ้คดีและถูกบังคับให้ต้องรื้อบ้านออกไปจากที่ดินของจำเลยตามฟ้องแย้งแล้ว กลับมาอ้างในชั้นบังคับคดีว่าโจทก์มิใช่เจ้าของบ้านดังกล่าวจึงไม่อาจปฏิบัติตามคำพิพากษาได้นั้น เป็นการแสดงให้เห็นว่าโจทก์กล่าวอ้างขึ้นเพื่อประสงค์ให้การบังคับคดีของจำเลยถูกประวิงให้ล่าช้าออกไปเท่านั้น และการที่โจทก์กล่าวอ้างว่าโจทก์และผู้รับมอบอำนาจโจทก์ย้ายออกจากบ้านดังกล่าวไปอยู่ที่อื่นแล้วก็ดี หรือบุคคลที่ยังอยู่ในบ้านมิใช่บริวารของโจทก์ก็ดี หาเป็นเหตุให้โจทก์และบริวารพ้นจากความรับผิดในอันที่จะถูกจับกุมไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2122/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาว่าจ้างซ่อมรถยนต์: สิทธิหน้าที่คู่สัญญา, การรับภาระแทนกัน, และผลของการผิดสัญญา
ม.ขับรถยนต์โดยประมาทชนรถยนต์ของโจทก์ได้รับความเสียหายโดย ม. ยอมรับผิดต่อโจทก์ ต่อมาโจทก์และม.มาพบจำเลยที่อู่ของจำเลย เพื่อให้จำเลยประเมินค่าซ่อมรถยนต์ของโจทก์ จำเลยประเมินราคาค่าซ่อมและค่าอะไหล่รวม 100,000 บาท โจทก์และม.ตกลงค่าซ่อมและค่าอะไหล่ 70,000 บาทจำเลยตกลงรับจ้างซ่อมให้ข้อตกลงระหว่างโจทก์และม.มีเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญาว่า ม.ชำระค่าซ่อมในวันทำสัญญา 30,000 บาท ส่วนที่เหลือ 40,000 บาทจะนำมาชำระที่อู่ของจำเลยภายในวันที่ 30 มีนาคม 2536 หากผิดนัดยอมชำระค่าซ่อมและค่าอะไหล่ 100,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยนับแต่วันผิดนัด โดยมีโจทก์และ ม. ลงชื่อเป็นคู่สัญญา จำเลยกับพ.ภริยาจำเลยลงชื่อเป็นพยาน ในวันเดียวกันนั้นโจทก์และจำเลยทำสัญญาว่าอู่ของจำเลยจะซ่อมรถยนต์ของโจทก์ให้เสร็จประมาณวันที่5 มีนาคม 2536 ได้รับชำระหนี้ล่วงหน้าแล้ว 30,000 บาทส่วนที่เหลือ 40,000 บาทผู้ซ่อมจะเรียกเก็บจาก ม. โดยค่าซ่อมส่วนนี้โจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องด้วย โจทก์ลงชื่อในฐานะผู้ให้ซ่อมจำเลยลงชื่อในฐานะผู้ซ่อม แม้ตามสัญญาจะมิได้ระบุชัดว่าโจทก์หรือม.เป็นผู้ว่าจ้างจำเลย คงมีเงื่อนไขในข้อตกลงของโจทก์และม.ว่า ม. จะนำค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวแก่จำเลย เนื่องจากจำเลยเป็นเจ้าของอู่และยังเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวด้วยแต่เงื่อนไขดังกล่าวยังไม่พอฟังว่าม.ว่าจ้างจำเลยซ่อมเพราะตามสัญญาดังกล่าวยังมิได้กำหนดเวลาซ่อมเสร็จอันเป็นข้อสาระสำคัญของสัญญาว่าจ้างซ่อม ทั้งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์และ ม.ซึ่งเป็นคู่สัญญา จำเลยมิได้เป็นคู่สัญญาด้วย แต่กำหนดเวลาซ่อมแล้วเสร็จมาระบุในสัญญาเอกสารหมาย จ.5 โดยมีโจทก์และจำเลยเป็นคู่สัญญาทั้งการลงชื่อในสัญญาก็ได้ระบุว่าโจทก์ในฐานะผู้ให้ซ่อมจำเลยในฐานะผู้ซ่อม โจทก์จึงเป็นผู้ว่าจ้างจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์หาใช่ ม. ไม่ เมื่อจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์เสร็จ และม. ผิดนัด ไม่นำเงินค่าซ่อมส่วนที่เหลือมาชำระแก่จำเลยตามที่ตกลงกับโจทก์ใน โจทก์ก็ต้องเป็นผู้ชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย แต่เมื่อจำเลยตกลงกับโจทก์ว่าจำเลยจะเป็นผู้เรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือ 40,000 บาทจาก ม. เองโดยโจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับค่าซ่อมดังกล่าวแสดงว่าจำเลยซึ่งเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมดังกล่าวตกลงรับภาระแทนโจทก์โดยจะเรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือจาก ม. ตามที่ม.ตกลงกับโจทก์ไว้โดยโจทก์ไม่ต้องชำระค่าซ่อมแก่จำเลย ข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญาอย่างหนึ่งผูกพันจำเลยต้องปฏิบัติตาม เมื่อจำเลยไม่อาจเรียกค่าซ่อมจาก ม. ได้เนื่องจาก ม.ไม่ยอมชำระ จำเลยย่อมไม่มีสิทธิย้อนกลับมาฟ้องเรียกค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวจากโจทก์อีกเพราะขัดต่อสัญญาที่จำเลยตกลงทำกับโจทก์ไว้โดยจำเลยรู้อยู่ก่อนแล้วว่า ม. ต้องชำระค่าซ่อมแทนโจทก์ โจทก์จึงไม่ต้องชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2122/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาว่าจ้างซ่อมรถยนต์: ผู้ว่าจ้างคือโจทก์ จำเลยรับภาระแทนลูกหนี้ โจทก์ไม่ต้องชำระหนี้
ม.ขับรถยนต์โดยประมาทชนรถยนต์ของโจทก์ได้รับความเสียหายโดย ม.ยอมรับผิดต่อโจทก์ ต่อมาโจทก์และ ม.มาพบจำเลยที่อู่ของจำเลย เพื่อให้จำเลยประเมินค่าซ่อมรถยนต์ของโจทก์ จำเลยประเมินราคาค่าซ่อมและค่าอะไหล่รวม 100,000 บาท โจทก์และ ม.ตกลงค่าซ่อมและค่าอะไหล่ 70,000 บาทจำเลยตกลงรับจ้างซ่อมให้ ข้อตกลงระหว่างโจทก์และ ม.มีเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญาว่า ม.ชำระค่าซ่อมในวันทำสัญญา 30,000 บาท ส่วนที่เหลือ 40,000 บาทจะนำมาชำระที่อู่ของจำเลยภายในวันที่ 30 มีนาคม 2536 หากผิดนัดยอมชำระค่าซ่อมและค่าอะไหล่ 100,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยนับแต่วันผิดนัด โดยมีโจทก์และ ม.ลงชื่อเป็นคู่สัญญา จำเลยกับ พ.ภริยาจำเลยลงชื่อเป็นพยาน ในวันเดียวกันนั้นโจทก์และจำเลยทำสัญญาว่า อู่ของจำเลยจะซ่อมรถยนต์ของโจทก์ให้เสร็จประมาณวันที่ 5มีนาคม 2536 ได้รับชำระหนี้ล่วงหน้าแล้ว 30,000 บาท ส่วนที่เหลือ 40,000 บาทผู้ซ่อมจะเรียกเก็บจาก ม.โดยค่าซ่อมส่วนนี้โจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องด้วย โจทก์ลงชื่อในฐานะผู้ให้ซ่อม จำเลยลงชื่อในฐานะผู้ซ่อม แม้ตามสัญญาจะมิได้ระบุชัดว่าโจทก์หรือม.เป็นผู้ว่าจ้างจำเลย คงมีเงื่อนไขในข้อตกลงของโจทก์และ ม.ว่า ม.จะนำค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวแก่จำเลย เนื่องจากจำเลยเป็นเจ้าของอู่และยังเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวด้วย แต่เงื่อนไขดังกล่าวยังไม่พอฟังว่า ม.ว่าจ้างจำเลยซ่อมเพราะตามสัญญาดังกล่าวยังมิได้กำหนดเวลาซ่อมเสร็จอันเป็นข้อสาระสำคัญของสัญญาว่าจ้างซ่อม ทั้งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์และ ม.ซึ่งเป็นคู่สัญญา จำเลยมิได้เป็นคู่สัญญาด้วย แต่กำหนดเวลาซ่อมแล้วเสร็จมาระบุในสัญญาเอกสารหมาย จ.5 โดยมีโจทก์และจำเลยเป็นคู่สัญญา ทั้งการลงชื่อในสัญญาก็ได้ระบุว่าโจทก์ในฐานะผู้ให้ซ่อมจำเลยในฐานะผู้ซ่อม โจทก์จึงเป็นผู้ว่าจ้างจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์ หาใช่ ม.ไม่
เมื่อจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์เสร็จ และ ม.ผิดนัด ไม่นำเงินค่าซ่อมส่วนที่เหลือมาชำระแก่จำเลยตามที่ตกลงกับโจทก์ใน โจทก์ก็ต้องเป็นผู้ชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย แต่เมื่อจำเลยตกลงกับโจทก์ว่าจำเลยจะเป็นผู้เรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือ 40,000 บาท จาก ม.เองโดยโจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับค่าซ่อมดังกล่าว แสดงว่าจำเลยซึ่งเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมดังกล่าวตกลงรับภาระแทนโจทก์ โดยจะเรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือจาก ม.ตามที่ ม.ตกลงกับโจทก์ไว้โดยโจทก์ไม่ต้องชำระค่าซ่อมแก่จำเลย ข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญาอย่างหนึ่งผูกพันจำเลยต้องปฏิบัติตาม เมื่อจำเลยไม่อาจเรียกค่าซ่อมจาก ม.ได้เนื่องจาก ม.ไม่ยอมชำระ จำเลยย่อมไม่มีสิทธิย้อนกลับมาฟ้องเรียกค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวจากโจทก์อีกเพราะขัดต่อสัญญาที่จำเลยตกลงทำกับโจทก์ไว้โดยจำเลยรู้อยู่ก่อนแล้วว่า ม.ต้องชำระค่าซ่อมแทนโจทก์ โจทก์จึงไม่ต้องชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย
เมื่อจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์เสร็จ และ ม.ผิดนัด ไม่นำเงินค่าซ่อมส่วนที่เหลือมาชำระแก่จำเลยตามที่ตกลงกับโจทก์ใน โจทก์ก็ต้องเป็นผู้ชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย แต่เมื่อจำเลยตกลงกับโจทก์ว่าจำเลยจะเป็นผู้เรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือ 40,000 บาท จาก ม.เองโดยโจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับค่าซ่อมดังกล่าว แสดงว่าจำเลยซึ่งเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมดังกล่าวตกลงรับภาระแทนโจทก์ โดยจะเรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือจาก ม.ตามที่ ม.ตกลงกับโจทก์ไว้โดยโจทก์ไม่ต้องชำระค่าซ่อมแก่จำเลย ข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญาอย่างหนึ่งผูกพันจำเลยต้องปฏิบัติตาม เมื่อจำเลยไม่อาจเรียกค่าซ่อมจาก ม.ได้เนื่องจาก ม.ไม่ยอมชำระ จำเลยย่อมไม่มีสิทธิย้อนกลับมาฟ้องเรียกค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวจากโจทก์อีกเพราะขัดต่อสัญญาที่จำเลยตกลงทำกับโจทก์ไว้โดยจำเลยรู้อยู่ก่อนแล้วว่า ม.ต้องชำระค่าซ่อมแทนโจทก์ โจทก์จึงไม่ต้องชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2122/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซ่อมรถ: ผู้ว่าจ้างจริงคือโจทก์ จำเลยตกลงรับภาระแทนโจทก์จากผู้ผิดนัด โจทก์ไม่ต้องชำระค่าซ่อม
ม.ขับรถยนต์โดยประมาทชนรถยนต์ของโจทก์ได้รับความเสียหายโดยม. ยอมรับผิดต่อโจทก์ต่อมาโจทก์และม.มาพบจำเลยที่อู่ของจำเลยเพื่อให้จำเลยประเมินค่าซ่อมรถยนต์ของโจทก์จำเลยประเมินราคาค่าซ่อมและค่าอะไหล่รวม100,000บาทโจทก์และม.ตกลงค่าซ่อมและค่าอะไหล่70,000บาทจำเลยตกลงรับจ้างซ่อมให้ข้อตกลงระหว่างโจทก์และม.มีเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญาว่าม.ชำระค่าซ่อมในวันทำสัญญา30,000บาทส่วนที่เหลือ40,000บาทจะนำมาชำระที่อู่ของจำเลยภายในวันที่30มีนาคม2536หากผิดนัดยอมชำระค่าซ่อมและค่าอะไหล่100,000บาทพร้อมดอกเบี้ยนับแต่วันผิดนัดโดยมีโจทก์และม. ลงชื่อเป็นคู่สัญญาจำเลยกับพ.ภริยาจำเลยลงชื่อเป็นพยานในวันเดียวกันนั้นโจทก์และจำเลยทำสัญญาว่าอู่ของจำเลยจะซ่อมรถยนต์ของโจทก์ให้เสร็จประมาณวันที่5มีนาคม2536ได้รับชำระหนี้ล่วงหน้าแล้ว30,000บาทส่วนที่เหลือ40,000บาทผู้ซ่อมจะเรียกเก็บจากม. โดยค่าซ่อมส่วนนี้โจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องด้วยโจทก์ลงชื่อในฐานะผู้ให้ซ่อมจำเลยลงชื่อในฐานะผู้ซ่อมแม้ตามสัญญาจะมิได้ระบุชัดว่าโจทก์หรือม.เป็นผู้ว่าจ้างจำเลยคงมีเงื่อนไขในข้อตกลงของโจทก์และม.ว่าม. จะนำค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวแก่จำเลยเนื่องจากจำเลยเป็นเจ้าของอู่และยังเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวด้วยแต่เงื่อนไขดังกล่าวยังไม่พอฟังว่าม.ว่าจ้างจำเลยซ่อมเพราะตามสัญญาดังกล่าวยังมิได้กำหนดเวลาซ่อมเสร็จอันเป็นข้อสาระสำคัญของสัญญาว่าจ้างซ่อมทั้งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์และม.ซึ่งเป็นคู่สัญญาจำเลยมิได้เป็นคู่สัญญาด้วยแต่กำหนดเวลาซ่อมแล้วเสร็จมาระบุในสัญญาเอกสารหมายจ.5โดยมีโจทก์และจำเลยเป็นคู่สัญญาทั้งการลงชื่อในสัญญาก็ได้ระบุว่าโจทก์ในฐานะผู้ให้ซ่อมจำเลยในฐานะผู้ซ่อมโจทก์จึงเป็นผู้ว่าจ้างจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์หาใช่ม. ไม่ เมื่อจำเลยซ่อมรถยนต์ของโจทก์เสร็จและม. ผิดนัดไม่นำเงินค่าซ่อมส่วนที่เหลือมาชำระแก่จำเลยตามที่ตกลงกับโจทก์ในโจทก์ก็ต้องเป็นผู้ชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลยแต่เมื่อจำเลยตกลงกับโจทก์ว่าจำเลยจะเป็นผู้เรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือ40,000บาทจากม. เองโดยโจทก์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับค่าซ่อมดังกล่าวแสดงว่าจำเลยซึ่งเป็นเจ้าหนี้ในค่าซ่อมดังกล่าวตกลงรับภาระแทนโจทก์โดยจะเรียกเก็บค่าซ่อมส่วนที่เหลือจากม. ตามที่ม.ตกลงกับโจทก์ไว้โดยโจทก์ไม่ต้องชำระค่าซ่อมแก่จำเลยข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญาอย่างหนึ่งผูกพันจำเลยต้องปฏิบัติตามเมื่อจำเลยไม่อาจเรียกค่าซ่อมจากม. ได้เนื่องจากม.ไม่ยอมชำระจำเลยย่อมไม่มีสิทธิย้อนกลับมาฟ้องเรียกค่าซ่อมส่วนที่เหลือดังกล่าวจากโจทก์อีกเพราะขัดต่อสัญญาที่จำเลยตกลงทำกับโจทก์ไว้โดยจำเลยรู้อยู่ก่อนแล้วว่าม. ต้องชำระค่าซ่อมแทนโจทก์โจทก์จึงไม่ต้องชำระค่าซ่อมดังกล่าวแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1883/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องขอจัดการมรดกซ้ำ และการจัดการมรดกโดยผู้จัดการหลายคน
ปัญหาว่าผู้คัดค้านมีอำนาจที่จะยื่นคำร้องของผู้คัดค้านต่อศาลได้หรือไม่เป็นอำนาจฟ้องแม้ผู้ร้องจะไม่ได้ยกขึ้นคัดค้านไว้ในคำร้องคัดค้านของตนแต่เป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนผู้ร้องจึงยกขึ้นฎีกาได้ ผู้คัดค้านเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายนอกเหนือจากพินัยกรรมตามคำสั่งศาลส่วนผู้ร้องที่1กับพวกเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายตามพินัยกรรมและต่อมาศาลได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดในคดีที่ผู้คัดค้านฟ้องผู้ร้องที่2และที่3ว่าทรัพย์มรดกของผู้ตายตามพินัยกรรมดังกล่าวเป็นของผู้คัดค้านซึ่งเป็นภริยาผู้ตายครึ่งหนึ่งรวมอยู่ด้วยและศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้ผู้ร้องที่2และที่3แบ่งเงินฝากธนาคารตามพินัยกรรมให้แก่ผู้คัดค้านครึ่งหนึ่งเช่นนี้แสดงว่าผู้คัดค้านมีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกตามพินัยกรรมอยู่ครึ่งหนึ่งด้วยจึงมีสิทธิที่จะมาร้องขอจัดการมรดกในทรัพย์มรดกของผู้ตายตามพินัยกรรมดังกล่าวอันเป็นทรัพย์มรดกคนละส่วนกันกับทรัพย์มรดกของผู้ตายนอกเหนือจากพินัยกรรมอีกได้ไม่เป็นการยื่นคำร้องขอจัดการมรดกซ้ำแต่อย่างใด คดีก่อนศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าพินัยกรรมของผู้ตายระบุให้ผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกเกี่ยวกับเงินของผู้ตายที่ฝากธนาคารผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกลักษณะเฉพาะจึงมีสิทธิดีกว่าผู้คัดค้านในคดีนี้พิพากษากลับให้ผู้ร้องเป็นผู้มีสิทธิจัดการแก่เงินฝากทั้งหมดของผู้ตายที่มีอยู่ในธนาคารห้ามผู้คัดค้านขัดขวางการจัดการมรดกในส่วนนี้ศาลฎีกาพิพากษายกฎีกาของจำเลยคดีถึงที่สุดแล้วซึ่งจะเห็นได้ว่าในคดีดังกล่าวไม่มีปัญหาวินิจฉัยเรื่องเงินฝากธนาคารซึ่งเป็นทรัพย์มรดกตามพินัยกรรมครึ่งหนึ่งว่าเป็นของผู้คัดค้านในคดีนี้ด้วยหรือไม่แต่ในคดีนี้ข้อเท็จจริงยุติโดยได้มีคำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ซึ่งถึงที่สุดว่าผู้คัดค้านคดีนี้มีสิทธิในเงินฝากธนาคารซึ่งเป็นทรัพย์มรดกของผู้ตายตามพินัยกรรมครึ่งหนึ่งการที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาในคดีนี้ว่าผู้คัดค้านมีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกตามพินัยกรรมอยู่ด้วยครึ่งหนึ่งและพิพากษาให้ผู้คัดค้านมีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกตามพินัยกรรมอยู่ด้วยครึ่งหนึ่งและพิพากษาให้ผู้คัดค้านเข้าจัดการมรดกร่วมจึงไม่เป็นการขัดกับคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีก่อน ที่ผู้ร้องฎีกาว่าหากให้ผู้คัดค้านมาจัดการมรดกผู้ตายร่วมกับผู้ร้องในคดีนี้แล้วจะทำให้การจัดการมรดกเป็นไปด้วยความยากลำบากและเสียเวลามากเพราะผู้คัดค้านจะคอยคัดค้านอยู่เสมอทั้งผู้คัดค้านและผู้ร้องอยู่คนละประเทศการจัดการมรดกของผู้ตายแต่ละครั้งจะต้องเดินทางไปพบกันเพื่อร่วมรับมรดกซึ่งเป็นการยุ่งยากที่จะหาเวลาว่างให้ตรงกันทั้งต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางจำนวนมากไม่สมควรที่จะให้ผู้คัดค้านจัดการมรดกร่วมกับผู้ร้องเป็นข้อที่ผู้ร้องมิได้ยกขึ้นต่อสู้ไว้ในคำคัดค้านของผู้ร้องจึงเป็นฎีกานอกประเด็นและเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1883/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องจัดการมรดก: ผู้จัดการมรดกนอกพินัยกรรมมีสิทธิจัดการมรดกตามพินัยกรรมได้หากมีส่วนได้เสีย
ปัญหาว่า ผู้คัดค้านมีอำนาจที่จะยื่นคำร้องของผู้คัดค้านต่อศาลได้หรือไม่เป็นอำนาจฟ้อง แม้ผู้ร้องจะไม่ได้ยกขึ้นคัดค้านไว้ในคำร้องคัดค้านของตนแต่เป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ผู้ร้องจึงยกขึ้นฎีกาได้ ผู้คัดค้านเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายนอกเหนือจากพินัยกรรมตามคำสั่งศาล ส่วนผู้ร้องที่ 1 กับพวกเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายตามพินัยกรรมและต่อมาศาลได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดในคดีที่ผู้คัดค้านฟ้องผู้ร้องที่ 2 และที่ 3 ว่าทรัพย์มรดกของผู้ตายตามพินัยกรรมดังกล่าวเป็นของผู้คัดค้านซึ่งเป็นภริยาผู้ตายครึ่งหนึ่งรวมอยู่ด้วย และศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้ผู้ร้องที่ 2 และที่ 3 แบ่งเงินฝากธนาคารตามพินัยกรรมให้แก่ผู้คัดค้านครึ่งหนึ่งเช่นนี้ แสดงว่าผู้คัดค้านมีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกตามพินัยกรรมอยู่ครึ่งหนึ่งด้วย จึงมีสิทธิที่จะมาร้องขอจัดการมรดกในทรัพย์มรดกของผู้ตายตามพินัยกรรมดังกล่าวอันเป็นทรัพย์มรดกคนละส่วนกันกับทรัพย์มรดกของผู้ตายนอกเหนือจากพินัยกรรมอีกได้ ไม่เป็นการยื่นคำร้องขอจัดการมรดกซ้ำแต่อย่างใด คดีก่อนศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า พินัยกรรมของผู้ตายระบุให้ผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกเกี่ยวกับเงินของผู้ตายที่ฝากธนาคารผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกลักษณะเฉพาะจึงมีสิทธิดีกว่าผู้คัดค้านในคดีนี้ พิพากษากลับให้ผู้ร้องเป็นผู้มีสิทธิจัดการแก่เงินฝากทั้งหมดของผู้ตายที่มีอยู่ในธนาคาร ห้ามผู้คัดค้านขัดขวางการจัดการมรดกในส่วนนี้ ศาลฎีกาพิพากษายกฎีกาของจำเลย คดีถึงที่สุดแล้วซึ่งจะเห็นได้ว่าในคดีดังกล่าวไม่มีปัญหาวินิจฉัยเรื่องเงินฝากธนาคารซึ่งเป็นทรัพย์มรดกตามพินัยกรรมครึ่งหนึ่งว่าเป็นของผู้คัดค้านในคดีนี้ด้วยหรือไม่ แต่ในคดีนี้ข้อเท็จจริงยุติโดยได้มีคำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ซึ่งถึงที่สุดว่า ผู้คัดค้านคดีนี้มีสิทธิในเงินฝากธนาคารซึ่งเป็นทรัพย์มรดกของผู้ตายตามพินัยกรรมครึ่งหนึ่ง การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาในคดีนี้ว่าผู้คัดค้านมีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกตามพินัยกรรมอยู่ด้วยครึ่งหนึ่ง และพิพากษาให้ผู้คัดค้านมีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกตามพินัยกรรมอยู่ด้วยครึ่งหนึ่ง และพิพากษาให้ผู้คัดค้านเข้าจัดการมรดกร่วม จึงไม่เป็นการขัดกับคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีก่อน ที่ผู้ร้องฎีกาว่า หากให้ผู้คัดค้านมาจัดการมรดกผู้ตายร่วมกับผู้ร้องในคดีนี้แล้วจะทำให้การจัดการมรดกเป็นไปด้วยความยากลำบากและเสียเวลามาก เพราะผู้คัดค้านจะคอยคัดค้านอยู่เสมอทั้งผู้คัดค้านและผู้ร้องอยู่คนละประเทศการจัดการมรดกของผู้ตายแต่ละครั้งจะต้องเดินทางไปพบกันเพื่อร่วมรับมรดกซึ่งเป็นการยุ่งยากที่จะหาเวลาว่างให้ตรงกัน ทั้งต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางจำนวนมาก ไม่สมควรที่จะให้ผู้คัดค้านจัดการมรดกร่วมกับผู้ร้อง เป็นข้อที่ผู้ร้องมิได้ยกขึ้นต่อสู้ไว้ในคำคัดค้านของผู้ร้อง จึงเป็นฎีกานอกประเด็นและเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย