พบผลลัพธ์ทั้งหมด 511 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7400/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีแทนผู้อื่นของนิติบุคคลต้องอยู่ในขอบเขตวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลนั้น
แม้จะไม่มีกฎหมายบัญญัติห้ามมิให้นิติบุคคลเป็นผู้รับมอบอำนาจฟ้องคดีแทนบุคคลธรรมดาได้และนิติบุคคลที่จะเป็นตัวแทนฟ้องความแทนผู้อื่นตามที่ได้รับมอบหมายไม่จำต้องมีวัตถุประสงค์เป็นตัวแทนฟ้องความอีกต่างหากก็ตาม แต่ก็ต้องเป็นกรณีที่เรื่องเป็นความนั้นอยู่ในขอบเขตวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลนั้นนิติบุคคลนั้นก็ย่อมเป็นตัวแทนฟ้องความตามที่ได้รับมอบอำนาจได้
ตามคำฟ้องของโจทก์ไม่ปรากฏเลยว่า การรถไฟแห่งประเทศไทยซึ่งเป็นนิติบุคคลมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไรกับโจทก์ แม้ในสำเนาหนังสือมอบอำนาจให้เป็นโจทก์ฟ้องคดีแทนจะมีข้อความระบุว่า โจทก์มีอาชีพเป็นพนักงานรถไฟก็ตามแต่เมื่อไม่ปรากฏข้อความว่าการรถไฟแห่งประเทศไทยผู้รับมอบอำนาจซึ่งเป็นนิติบุคคลมีขอบเขตแห่งวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ต่าง ๆ เกี่ยวกับการที่โจทก์ถูกจำเลยกระทำละเมิด นอกจากนี้ตามพระราชบัญญัติการรถไฟแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494 ไม่มีบทบัญญัติใดที่กำหนดให้การรถไฟแห่งประเทศไทยมีอำนาจฟ้องคดีแทนบุคคลใด ๆ ได้เป็นส่วนตัว ดังนี้ เมื่อตามคำฟ้องเป็นเรื่องที่โจทก์ถูกจำเลยกระทำละเมิดเป็นการเฉพาะตัวของโจทก์เอง มิได้เกี่ยวเนื่องกับกิจการที่อยู่ในขอบเขตวัตถุประสงค์ของการรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟแห่งประเทศไทยจึงไม่มีอำนาจฟ้องคดีนี้แทนโจทก์
ตามคำฟ้องของโจทก์ไม่ปรากฏเลยว่า การรถไฟแห่งประเทศไทยซึ่งเป็นนิติบุคคลมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไรกับโจทก์ แม้ในสำเนาหนังสือมอบอำนาจให้เป็นโจทก์ฟ้องคดีแทนจะมีข้อความระบุว่า โจทก์มีอาชีพเป็นพนักงานรถไฟก็ตามแต่เมื่อไม่ปรากฏข้อความว่าการรถไฟแห่งประเทศไทยผู้รับมอบอำนาจซึ่งเป็นนิติบุคคลมีขอบเขตแห่งวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ต่าง ๆ เกี่ยวกับการที่โจทก์ถูกจำเลยกระทำละเมิด นอกจากนี้ตามพระราชบัญญัติการรถไฟแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494 ไม่มีบทบัญญัติใดที่กำหนดให้การรถไฟแห่งประเทศไทยมีอำนาจฟ้องคดีแทนบุคคลใด ๆ ได้เป็นส่วนตัว ดังนี้ เมื่อตามคำฟ้องเป็นเรื่องที่โจทก์ถูกจำเลยกระทำละเมิดเป็นการเฉพาะตัวของโจทก์เอง มิได้เกี่ยวเนื่องกับกิจการที่อยู่ในขอบเขตวัตถุประสงค์ของการรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟแห่งประเทศไทยจึงไม่มีอำนาจฟ้องคดีนี้แทนโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6968/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิอุทธรณ์คำสั่งให้ชำระค่าขึ้นศาล: จำเลยมีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งก่อนศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่รับอุทธรณ์
คำสั่งของศาลชั้นต้นที่กำหนดให้จำเลยนำค่าขึ้นศาลตามจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทในชั้นอุทธรณ์มาชำระนั้น แม้จะพ้นระยะเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนดแล้วก็ตาม แต่คำสั่งของศาลชั้นต้นดังกล่าว จำเลยยังโต้แย้งโดยการอุทธรณ์อยู่ว่าเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งจำเลยย่อมมีสิทธิอุทธรณ์ได้โดยไม่จำต้องรอให้ศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่รับอุทธรณ์อีกครั้งหนึ่งก่อน เมื่อยังไม่มีข้อวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาเป็นที่สุดประการใด ศาลชั้นต้นก็ยังไม่อาจจะมีคำสั่งรับหรือไม่รับอุทธรณ์ของจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6968/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นเรื่องค่าขึ้นศาล จำเลยมีสิทธิอุทธรณ์ได้ทันทีโดยไม่ต้องรอคำสั่งไม่รับอุทธรณ์
จำเลยอุทธรณ์ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำเลยนำค่าขึ้นศาลตามจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทในชั้นอุทธรณ์มาชำระ แต่จำเลยไม่ชำระภายในกำหนดแม้ต่อมาจะพ้นระยะเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนดแล้วก็ตาม แต่เมื่อคำสั่งของศาลชั้นต้นดังกล่าว จำเลยยังโต้แย้งอยู่โดยการอุทธรณ์ว่าเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งจำเลยย่อมมีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งนั้นได้โดยไม่จำต้องรอให้ศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่รับอุทธรณ์อีกครั้งหนึ่งก่อน ดังนี้ เมื่อยังไม่มีข้อวินิจฉัยของศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาเป็นที่สุดประการใด ศาลชั้นต้นก็ยังไม่อาจจะมีคำสั่งรับหรือไม่รับอุทธรณ์ของจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6697/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาทุนทรัพย์ในชั้นฎีกาแยกส่วนคำฟ้องเดิมและฟ้องแย้ง รวมถึงการยอมรับชำระหนี้โดยไม่สงวนสิทธิ
เมื่อจำเลยฎีกาทั้งในส่วนของคำฟ้องเดิมและในส่วนของคำฟ้องแย้ง ในกรณีเช่นนี้การพิจารณาทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาว่าจะฎีกาในข้อเท็จจริงได้หรือไม่ต้องแยกพิจารณากันคนละส่วน มิใช่พิจารณาทุนทรัพย์รวมกัน
ปัญหาที่จำเลยฎีกาว่า จำเลยได้ชำระเงินงวดที่ 5 จำนวน200,000 บาท ให้แก่โจทก์แล้ว เป็นฎีกาในข้อเท็จจริงในประเด็นซึ่งอยู่ในส่วนของคำฟ้องเดิม เมื่อทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกินสองแสนบาท ย่อมต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริง ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 248 วรรคหนึ่ง ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยในปัญหานี้
ส่วนปัญหาประการที่สองจำเลยฎีกาว่า โจทก์ต้องชำระค่าปรับเป็นระยะเวลา 221 วัน เป็นเงิน 221,000 บาท ให้แก่จำเลยซึ่งเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงในประเด็นที่เกี่ยวกับสิทธิเรียกค่าปรับตามสัญญาจากโจทก์ซึ่งอยู่ในส่วนของคำฟ้องแย้ง เมื่อคดีส่วนนี้ทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาเกินกว่าสองแสนบาทจำเลยจึงฎีกาในข้อเท็จจริงได้
แม้โจทก์ผู้รับจ้างจะก่อสร้างอาคารให้จำเลยไม่แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาที่ได้กำหนดไว้ในสัญญา แต่จำเลยก็ตกลงยินยอมให้โจทก์ทำการก่อสร้างต่อจนอาคารแล้วเสร็จ และจำเลยได้จดทะเบียนโอนขายอาคารนั้นให้บุคคลอื่นไปหลังจากนั้นจำเลยยังให้โจทก์ก่อสร้างเพิ่มเติมอาคารอีกหลังหนึ่งด้วยและจำเลยก็ไม่ติดใจเรื่องค่าปรับวันละ 1,000 บาท ตามสัญญา ดังนี้เมื่อจำเลยไม่ได้เคร่งครัดเรื่องกำหนดเวลาการก่อสร้างและไม่ได้ติดใจในเรื่องค่าปรับ ทั้งยังยอมรับผลงานของโจทก์หลังจากพ้นกำหนดเวลาตามสัญญาแล้ว อันเป็นการยอมรับชำระหนี้โดยมิได้สงวนสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับ จำเลยย่อมหมดสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับจากโจทก์ตาม ป.พ.พ.มาตรา 381 วรรคสาม
ตามทุนทรัพย์ที่จำเลยฎีกาแยกเป็นในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม200,000 บาท ในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องแย้ง 221,000 บาท แต่จำเลยเสียค่าขึ้นศาลชั้นฎีกาจากทุนทรัพย์ 259,067 บาท เป็นเงินค่าขึ้นศาล 6,477.50บาท เมื่อศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาจำเลยที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ศาลฎีกาจึงถือว่าจำเลยเสียค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องแย้งจากทุนทรัพย์ 221,000 บาท เป็นค่าขึ้นศาล 5,525 บาท ครบถ้วน ส่วนที่เหลือถือว่าเป็นค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิมจำนวน 952.50 บาท แม้จะไม่ครบแต่เมื่อศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาจำเลยในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม เพราะต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริงตาม ป.วิ.พ.มาตรา 248 วรรคหนึ่ง เสียแล้วศาลฎีกาจึงต้องคืนค่าขึ้นศาลในส่วนที่เหลือนี้แก่จำเลย
ปัญหาที่จำเลยฎีกาว่า จำเลยได้ชำระเงินงวดที่ 5 จำนวน200,000 บาท ให้แก่โจทก์แล้ว เป็นฎีกาในข้อเท็จจริงในประเด็นซึ่งอยู่ในส่วนของคำฟ้องเดิม เมื่อทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกินสองแสนบาท ย่อมต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริง ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 248 วรรคหนึ่ง ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยในปัญหานี้
ส่วนปัญหาประการที่สองจำเลยฎีกาว่า โจทก์ต้องชำระค่าปรับเป็นระยะเวลา 221 วัน เป็นเงิน 221,000 บาท ให้แก่จำเลยซึ่งเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงในประเด็นที่เกี่ยวกับสิทธิเรียกค่าปรับตามสัญญาจากโจทก์ซึ่งอยู่ในส่วนของคำฟ้องแย้ง เมื่อคดีส่วนนี้ทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาเกินกว่าสองแสนบาทจำเลยจึงฎีกาในข้อเท็จจริงได้
แม้โจทก์ผู้รับจ้างจะก่อสร้างอาคารให้จำเลยไม่แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาที่ได้กำหนดไว้ในสัญญา แต่จำเลยก็ตกลงยินยอมให้โจทก์ทำการก่อสร้างต่อจนอาคารแล้วเสร็จ และจำเลยได้จดทะเบียนโอนขายอาคารนั้นให้บุคคลอื่นไปหลังจากนั้นจำเลยยังให้โจทก์ก่อสร้างเพิ่มเติมอาคารอีกหลังหนึ่งด้วยและจำเลยก็ไม่ติดใจเรื่องค่าปรับวันละ 1,000 บาท ตามสัญญา ดังนี้เมื่อจำเลยไม่ได้เคร่งครัดเรื่องกำหนดเวลาการก่อสร้างและไม่ได้ติดใจในเรื่องค่าปรับ ทั้งยังยอมรับผลงานของโจทก์หลังจากพ้นกำหนดเวลาตามสัญญาแล้ว อันเป็นการยอมรับชำระหนี้โดยมิได้สงวนสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับ จำเลยย่อมหมดสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับจากโจทก์ตาม ป.พ.พ.มาตรา 381 วรรคสาม
ตามทุนทรัพย์ที่จำเลยฎีกาแยกเป็นในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม200,000 บาท ในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องแย้ง 221,000 บาท แต่จำเลยเสียค่าขึ้นศาลชั้นฎีกาจากทุนทรัพย์ 259,067 บาท เป็นเงินค่าขึ้นศาล 6,477.50บาท เมื่อศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาจำเลยที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ศาลฎีกาจึงถือว่าจำเลยเสียค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องแย้งจากทุนทรัพย์ 221,000 บาท เป็นค่าขึ้นศาล 5,525 บาท ครบถ้วน ส่วนที่เหลือถือว่าเป็นค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิมจำนวน 952.50 บาท แม้จะไม่ครบแต่เมื่อศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาจำเลยในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม เพราะต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริงตาม ป.วิ.พ.มาตรา 248 วรรคหนึ่ง เสียแล้วศาลฎีกาจึงต้องคืนค่าขึ้นศาลในส่วนที่เหลือนี้แก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6697/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาทุนทรัพย์ฎีกาแยกส่วนฟ้องเดิม-ฟ้องแย้ง และหลักการยอมรับชำระหนี้โดยไม่สงวนสิทธิเรียกร้องค่าปรับ
เมื่อจำเลยฎีกาทั้งในส่วนของคำฟ้องเดิมและในส่วนของคำฟ้องแย้ง ในกรณีเช่นนี้การพิจารณาทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาว่าจะฎีกาในข้อเท็จจริงได้หรือไม่ต้องแยกพิจารณากันคนละส่วน มิใช่พิจารณาทุนทรัพย์รวมกัน
ปัญหาที่จำเลยฎีกาว่า จำเลยได้ชำระเงินงวดที่ 5 จำนวน 200,000 บาท ให้แก่โจทก์แล้ว เป็นฎีกาในข้อเท็จจริงในประเด็นซึ่งอยู่ในส่วนของคำฟ้องเดิม เมื่อทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกินสองแสนบาท ย่อมต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 วรรคหนึ่ง ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยในปัญหานี้
ส่วนปัญหาประการที่สองจำเลยฎีกาว่า โจทก์ต้องชำระค่าปรับเป็นระยะเวลา221 วัน เป็นเงิน 221,000 บาท ให้แก่จำเลยซึ่งเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงในประเด็นที่เกี่ยวกับสิทธิเรียกค่าปรับตามสัญญาจากโจทก์ซึ่งอยู่ในส่วนของคำฟ้องแย้งเมื่อคดีส่วนนี้ทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาเกินกว่าสองแสนบาท จำเลยจึงฎีกาในข้อเท็จจริงได้
แม้โจทก์ผู้รับจ้างจะก่อสร้างอาคารให้จำเลยไม่แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาที่ได้กำหนดไว้ในสัญญา แต่จำเลยก็ตกลงยินยอมให้โจทก์ทำการก่อสร้างต่อจนอาคารแล้วเสร็จ และจำเลยได้จดทะเบียนโอนขายอาคารนั้นให้บุคคลอื่นไป หลังจากนั้นจำเลยยังให้โจทก์ก่อสร้างเพิ่มเติมอาคารอีกหลังหนึ่งด้วยและจำเลยก็ไม่ติดใจเรื่องค่าปรับวันละ 1,000 บาท ตามสัญญา ดังนี้เมื่อจำเลยไม่ได้เคร่งครัดเรื่องกำหนดเวลาการก่อสร้างและไม่ได้ติดใจในเรื่องค่าปรับ ทั้งยังยอมรับผลงานของโจทก์หลังจากพ้นกำหนดเวลาตามสัญญาแล้ว อันเป็นการยอมรับชำระหนี้โดย มิได้สงวนสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับ จำเลยย่อมหมดสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับจากโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 381 วรรคสาม
ตามทุนทรัพย์ที่จำเลยฎีกาแยกเป็นในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม 200,000 บาทในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องแย้ง 221,000 บาท แต่จำเลยเสียค่าขึ้นศาลชั้นฎีกาจากทุนทรัพย์259,067 บาท เป็นเงินค่าขึ้นศาล 6,477.50 บาท เมื่อศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาจำเลยที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ศาลฎีกาจึงถือว่าจำเลยเสียค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องแย้งจากทุนทรัพย์ 221,000 บาท เป็นค่าขึ้นศาล 5,525บาท ครบถ้วน ส่วนที่เหลือถือว่าเป็นค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิมจำนวน952.50 บาท แม้จะไม่ครบ แต่เมื่อศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาจำเลยในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม เพราะต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 วรรคหนึ่ง เสียแล้ว ศาลฎีกาจึงต้องคืนค่าขึ้นศาลในส่วนที่เหลือนี้แก่จำเลย
ปัญหาที่จำเลยฎีกาว่า จำเลยได้ชำระเงินงวดที่ 5 จำนวน 200,000 บาท ให้แก่โจทก์แล้ว เป็นฎีกาในข้อเท็จจริงในประเด็นซึ่งอยู่ในส่วนของคำฟ้องเดิม เมื่อทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกินสองแสนบาท ย่อมต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 วรรคหนึ่ง ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยในปัญหานี้
ส่วนปัญหาประการที่สองจำเลยฎีกาว่า โจทก์ต้องชำระค่าปรับเป็นระยะเวลา221 วัน เป็นเงิน 221,000 บาท ให้แก่จำเลยซึ่งเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงในประเด็นที่เกี่ยวกับสิทธิเรียกค่าปรับตามสัญญาจากโจทก์ซึ่งอยู่ในส่วนของคำฟ้องแย้งเมื่อคดีส่วนนี้ทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาเกินกว่าสองแสนบาท จำเลยจึงฎีกาในข้อเท็จจริงได้
แม้โจทก์ผู้รับจ้างจะก่อสร้างอาคารให้จำเลยไม่แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาที่ได้กำหนดไว้ในสัญญา แต่จำเลยก็ตกลงยินยอมให้โจทก์ทำการก่อสร้างต่อจนอาคารแล้วเสร็จ และจำเลยได้จดทะเบียนโอนขายอาคารนั้นให้บุคคลอื่นไป หลังจากนั้นจำเลยยังให้โจทก์ก่อสร้างเพิ่มเติมอาคารอีกหลังหนึ่งด้วยและจำเลยก็ไม่ติดใจเรื่องค่าปรับวันละ 1,000 บาท ตามสัญญา ดังนี้เมื่อจำเลยไม่ได้เคร่งครัดเรื่องกำหนดเวลาการก่อสร้างและไม่ได้ติดใจในเรื่องค่าปรับ ทั้งยังยอมรับผลงานของโจทก์หลังจากพ้นกำหนดเวลาตามสัญญาแล้ว อันเป็นการยอมรับชำระหนี้โดย มิได้สงวนสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับ จำเลยย่อมหมดสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับจากโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 381 วรรคสาม
ตามทุนทรัพย์ที่จำเลยฎีกาแยกเป็นในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม 200,000 บาทในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องแย้ง 221,000 บาท แต่จำเลยเสียค่าขึ้นศาลชั้นฎีกาจากทุนทรัพย์259,067 บาท เป็นเงินค่าขึ้นศาล 6,477.50 บาท เมื่อศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาจำเลยที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ศาลฎีกาจึงถือว่าจำเลยเสียค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องแย้งจากทุนทรัพย์ 221,000 บาท เป็นค่าขึ้นศาล 5,525บาท ครบถ้วน ส่วนที่เหลือถือว่าเป็นค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิมจำนวน952.50 บาท แม้จะไม่ครบ แต่เมื่อศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาจำเลยในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม เพราะต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 วรรคหนึ่ง เสียแล้ว ศาลฎีกาจึงต้องคืนค่าขึ้นศาลในส่วนที่เหลือนี้แก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6697/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาทุนทรัพย์ฎีกาแยกส่วนฟ้องเดิม-ฟ้องแย้ง และผลของการยอมรับชำระหนี้โดยไม่สงวนสิทธิเรียกค่าปรับ
เมื่อจำเลยฎีกาทั้งในส่วนของคำฟ้องเดิมและในส่วนของคำฟ้องแย้ง ในกรณีเช่นนี้การพิจารณาทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาว่าจะฎีกาในข้อเท็จจริงได้หรือไม่ต้องแยกพิจารณากันคนละส่วน มิใช่พิจารณาทุนทรัพย์รวมกัน
ปัญหาที่จำเลยฎีกาว่า จำเลยได้ชำระเงินงวดที่ 5 จำนวน 200,000 บาท ให้แก่โจทก์แล้ว เป็นฎีกาในข้อเท็จจริงในประเด็นซึ่งอยู่ในส่วนของคำฟ้องเดิม เมื่อทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกินสองแสนบาท ย่อมต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 วรรคหนึ่ง ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยในปัญหานี้
ส่วนปัญหาประการที่สองจำเลยฎีกาว่า โจทก์ต้องชำระค่าปรับเป็นระยะเวลา221 วัน เป็นเงิน 221,000 บาท ให้แก่จำเลยซึ่งเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงในประเด็นที่เกี่ยวกับสิทธิเรียกค่าปรับตามสัญญาจากโจทก์ซึ่งอยู่ในส่วนของคำฟ้องแย้งเมื่อคดีส่วนนี้ทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาเกินกว่าสองแสนบาท จำเลยจึงฎีกาในข้อเท็จจริงได้
แม้โจทก์ผู้รับจ้างจะก่อสร้างอาคารให้จำเลยไม่แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาที่ได้กำหนดไว้ในสัญญา แต่จำเลยก็ตกลงยินยอมให้โจทก์ทำการก่อสร้างต่อจนอาคารแล้วเสร็จ และจำเลยได้จดทะเบียนโอนขายอาคารนั้นให้บุคคลอื่นไป หลังจากนั้นจำเลยยังให้โจทก์ก่อสร้างเพิ่มเติมอาคารอีกหลังหนึ่งด้วยและจำเลยก็ไม่ติดใจเรื่องค่าปรับวันละ 1,000 บาท ตามสัญญา ดังนี้เมื่อจำเลยไม่ได้เคร่งครัดเรื่องกำหนดเวลาการก่อสร้างและไม่ได้ติดใจในเรื่องค่าปรับ ทั้งยังยอมรับผลงานของโจทก์หลังจากพ้นกำหนดเวลาตามสัญญาแล้ว อันเป็นการยอมรับชำระหนี้โดย มิได้สงวนสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับ จำเลยย่อมหมดสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับจากโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 381 วรรคสาม
ตามทุนทรัพย์ที่จำเลยฎีกาแยกเป็นในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม 200,000 บาทในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องแย้ง 221,000 บาท แต่จำเลยเสียค่าขึ้นศาลชั้นฎีกาจากทุนทรัพย์259,067 บาท เป็นเงินค่าขึ้นศาล 6,477.50 บาท เมื่อศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาจำเลยที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ศาลฎีกาจึงถือว่าจำเลยเสียค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องแย้งจากทุนทรัพย์ 221,000 บาท เป็นค่าขึ้นศาล 5,525บาท ครบถ้วน ส่วนที่เหลือถือว่าเป็นค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิมจำนวน952.50 บาท แม้จะไม่ครบ แต่เมื่อศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาจำเลยในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม เพราะต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 วรรคหนึ่ง เสียแล้ว ศาลฎีกาจึงต้องคืนค่าขึ้นศาลในส่วนที่เหลือนี้แก่จำเลย
ปัญหาที่จำเลยฎีกาว่า จำเลยได้ชำระเงินงวดที่ 5 จำนวน 200,000 บาท ให้แก่โจทก์แล้ว เป็นฎีกาในข้อเท็จจริงในประเด็นซึ่งอยู่ในส่วนของคำฟ้องเดิม เมื่อทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกินสองแสนบาท ย่อมต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 วรรคหนึ่ง ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยในปัญหานี้
ส่วนปัญหาประการที่สองจำเลยฎีกาว่า โจทก์ต้องชำระค่าปรับเป็นระยะเวลา221 วัน เป็นเงิน 221,000 บาท ให้แก่จำเลยซึ่งเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงในประเด็นที่เกี่ยวกับสิทธิเรียกค่าปรับตามสัญญาจากโจทก์ซึ่งอยู่ในส่วนของคำฟ้องแย้งเมื่อคดีส่วนนี้ทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาเกินกว่าสองแสนบาท จำเลยจึงฎีกาในข้อเท็จจริงได้
แม้โจทก์ผู้รับจ้างจะก่อสร้างอาคารให้จำเลยไม่แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาที่ได้กำหนดไว้ในสัญญา แต่จำเลยก็ตกลงยินยอมให้โจทก์ทำการก่อสร้างต่อจนอาคารแล้วเสร็จ และจำเลยได้จดทะเบียนโอนขายอาคารนั้นให้บุคคลอื่นไป หลังจากนั้นจำเลยยังให้โจทก์ก่อสร้างเพิ่มเติมอาคารอีกหลังหนึ่งด้วยและจำเลยก็ไม่ติดใจเรื่องค่าปรับวันละ 1,000 บาท ตามสัญญา ดังนี้เมื่อจำเลยไม่ได้เคร่งครัดเรื่องกำหนดเวลาการก่อสร้างและไม่ได้ติดใจในเรื่องค่าปรับ ทั้งยังยอมรับผลงานของโจทก์หลังจากพ้นกำหนดเวลาตามสัญญาแล้ว อันเป็นการยอมรับชำระหนี้โดย มิได้สงวนสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับ จำเลยย่อมหมดสิทธิที่จะเรียกเอาเบี้ยปรับจากโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 381 วรรคสาม
ตามทุนทรัพย์ที่จำเลยฎีกาแยกเป็นในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม 200,000 บาทในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องแย้ง 221,000 บาท แต่จำเลยเสียค่าขึ้นศาลชั้นฎีกาจากทุนทรัพย์259,067 บาท เป็นเงินค่าขึ้นศาล 6,477.50 บาท เมื่อศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาจำเลยที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ศาลฎีกาจึงถือว่าจำเลยเสียค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องแย้งจากทุนทรัพย์ 221,000 บาท เป็นค่าขึ้นศาล 5,525บาท ครบถ้วน ส่วนที่เหลือถือว่าเป็นค่าขึ้นศาลในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิมจำนวน952.50 บาท แม้จะไม่ครบ แต่เมื่อศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาจำเลยในส่วนที่เกี่ยวกับฟ้องเดิม เพราะต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 วรรคหนึ่ง เสียแล้ว ศาลฎีกาจึงต้องคืนค่าขึ้นศาลในส่วนที่เหลือนี้แก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6609/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำร้องคัดค้านการเลือกตั้งต้องชัดเจนและมีเหตุผลเพียงพอที่จะเปลี่ยนแปลงผลการเลือกตั้ง
คำร้องคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาตรา 79 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2522 ให้นำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม ฉะนั้น คำร้องคัดค้านการเลือกตั้งจึงต้องอยู่ในบังคับของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 172 วรรคสอง ผู้ร้องได้ยื่นคำร้องคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตเลือกตั้งที่ 2 ว่าเป็นไปโดยมิชอบโดยอ้างเหตุเป็น 2 ตอน โดยในตอนที่สองได้บรรยายคำร้องว่านอกจากจะมีการทุจริตในหน่วยเลือกตั้งที่ 1 แล้ว หน่วยเลือกตั้งอื่นอาจจะมีการกระทำทุจริต กล่าวคือ อำเภอ ก.หน่วยเลือกตั้งที่ 1 มีผู้ใช้สิทธิคนเดียวหลายครั้งเพื่อลงคะแนนให้แก่ผู้สมัครรับเลือกตั้งหมายเลขอื่น และกรรมการนับคะแนนโดยไม่ขานคะแนนของผู้ร้อง หน่วยเลือกตั้งที่ 5กรรมการนับคะแนนโดยไม่ขานคะแนนของผู้ร้อง และทำบัตรดีให้เป็นบัตรเสียโดยมีการกา 2 ครั้งในช่องเดียวกันเจ้าหน้าที่ขานว่าเป็นบัตรเสีย ซึ่งลักษณะการกระทำผิดในหน่วยเลือกตั้งอื่นของอำเภอ ก. อำเภอ บ. และอำเภอ ด. นั้นผู้ร้องเข้าใจว่าอาจเป็นการกระทำทุจริตโดยเจ้าหน้าที่อาจปล่อยให้มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งหลายครั้ง ทำให้คะแนนของผู้ร้องลดลง ดังนี้ คำร้อง ของ ผู้ร้องในตอนที่สองที่เกี่ยวกับหน่วยเลือกตั้งอื่นดังกล่าวนี้ ผู้ร้องมิได้ยืนยันว่ามีการทุจริตในการเลือกตั้ง แต่เป็นความเข้าใจเอาเองของผู้ร้องทั้งผู้ร้องมิได้บรรยายให้เห็นว่าบัตรเลือกตั้งที่ใช้เวียน ลงคะแนนก็ดี บัตรที่ขานคะแนนของผู้ร้องเป็นของผู้สมัครคนอื่นก็ดี บัตรที่ไม่ขานคะแนนให้ผู้ร้องโดยอ้างว่าเป็นบัตรเสียก็ดีนั้นมีจำนวนเท่าใด การใช้คนเวียน ลงคะแนนให้ผู้สมัครคนอื่นและขานคะแนนของผู้ร้องเป็นของผู้สมัครคนอื่นนั้นเป็นผู้สมัครคนใดบ้าง และมีผลทำให้คะแนนของผู้สมัครคนใดเพิ่มขึ้นหรือลดลงจำนวนเท่าใด คำร้อง ของผู้ร้องที่อ้างเหตุในตอนที่สองนี้เป็นคำร้องที่มิได้ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 172 วรรคสอง จึงเป็นคำร้องที่เคลือบคลุม ผู้ร้องยื่นคำร้องอ้างว่า ทางอำเภอกำแพงแสนจัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งว่ามีจำนวน 875 คน จากผู้มีสิทธิเลือกตั้งเพียง 775 คน และมีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งเพียง437 คน แต่จากรายงานผลการนับคะแนนว่า ผู้คัดค้านที่ 2ได้รับคะแนน 752 คะแนน เกินกว่าจำนวนผู้ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ถ้าเปิดหีบเลือกตั้งมานับใหม่แล้วจะทำให้คะแนนของผู้ร้องเพิ่มขึ้นและทำให้ผลการเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงไปนั้น เมื่อปรากฏตามคำร้อง ของ ผู้ร้องว่า ผู้ร้องได้คะแนนน้อยกว่าผู้คัดค้านที่ 2 จำนวน 2,305 คะแนน ดังนั้นแม้จะนำจำนวนของผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมดในหน่วยเลือกตั้งนี้เป็นคะแนนที่ลงให้แก่ผู้ร้องนำมาหักออกจากคะแนนของผู้คัดค้านที่ 2 ก็หาทำให้ผลการเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงไปอันจะทำให้ผู้ร้องได้รับการเลือกตั้งและผู้คัดค้านที่ 2ไม่ได้รับการเลือกตั้ง จึงไม่จำต้องเปิดหีบเลือกตั้งเพื่อนับคะแนนเสียงใหม่ เมื่อคำร้อง ของ ผู้ร้องที่คัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นคำร้องที่เคลือบคลุมและไม่ทำให้ผลการเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงไป ศาลฎีกาจึงไม่อาจรับคำร้องของผู้ร้องไว้พิจารณาได้ ให้ยกคำร้อง ของ ผู้ร้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6609/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำร้องคัดค้านการเลือกตั้งต้องชัดเจนและมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงผลการเลือกตั้ง จึงจะรับพิจารณาได้
คำร้องคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มาตรา79 แห่ง พ.ร.บ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2522 ให้นำ ป.วิ.พ.มาใช้บังคับโดยอนุโลม ฉะนั้น คำร้องคัดค้านการเลือกตั้งจึงต้องอยู่ในบังคับของป.วิ.พ.มาตรา 172 วรรคสอง
ผู้ร้องได้ยื่นคำร้องคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตเลือกตั้งที่ 2 ว่าเป็นไปโดยมิชอบโดยอ้างเหตุเป็น 2 ตอน โดยในตอนที่สองได้บรรยายคำร้องว่า นอกจากจะมีการทุจริตในหน่วยเลือกตั้งที่ 1 แล้ว หน่วยเลือกตั้งอื่นอาจจะมีการกระทำทุจริต กล่าวคือ อำเภอ ก.หน่วยเลือกตั้งที่ 1 มีผู้ใช้สิทธิคนเดียวหลายครั้งเพื่อลงคะแนนให้แก่ผู้สมัครรับเลือกตั้งหมายเลขอื่น และกรรมการนับคะแนนโดยไม่ขานคะแนนของผู้ร้อง หน่วยเลือกตั้งที่ 5 กรรมการนับคะแนนโดยไม่ขานคะแนนของผู้ร้อง และทำบัตรดีให้เป็นบัตรเสียโดยมีการกา 2 ครั้งในช่องเดียวกัน เจ้าหน้าที่ขานว่าเป็นบัตรเสีย ซึ่งลักษณะการกระทำผิดในหน่วยเลือกตั้งอื่นของอำเภอ ก. อำเภอ บ. และอำเภอ ด.นั้น ผู้ร้องเข้าใจว่าอาจเป็นการกระทำทุจริตโดยเจ้าหน้าที่อาจปล่อยให้มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งหลายครั้ง ทำให้คะแนนของผู้ร้องลดลง ดังนี้ คำร้องของผู้ร้องในตอนที่สองที่เกี่ยวกับหน่วยเลือกตั้งอื่นดังกล่าวนี้ ผู้ร้องมิได้ยืนยันว่ามีการทุจริตในการเลือกตั้ง แต่เป็นความเข้าใจเอาเองของผู้ร้องทั้งผู้ร้องมิได้บรรยายให้เห็นว่าบัตรเลือกตั้งที่ใช้เวียนลงคะแนนก็ดี บัตรที่ขานคะแนนของผู้ร้องเป็นของผู้สมัครคนอื่นก็ดี บัตรที่ไม่ขานคะแนนให้ผู้ร้องโดยอ้างว่าเป็นบัตรเสียก็ดีนั้นมีจำนวนเท่าใด การใช้คนเวียนลงคะแนนให้ผู้สมัครคนอื่นและขานคะแนนของผู้ร้องเป็นของผู้สมัครคนอื่นนั้นเป็นผู้สมัครคนใดบ้าง และมีผลทำให้คะแนนของผู้สมัครคนใดเพิ่มขึ้นหรือลดลงจำนวนเท่าใด คำร้องของผู้ร้องที่อ้างเหตุในตอนที่สองนี้เป็นคำร้องที่มิได้ปฏิบัติตาม ป.วิ.พ.มาตรา 172 วรรคสอง จึงเป็นคำร้องที่เคลือบคลุม
ผู้ร้องยื่นคำร้องอ้างว่า ทางอำเภอกำแพงแสนจัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งว่ามีจำนวน 875 คน จากผู้มีสิทธิเลือกตั้งเพียง 775 คน และมีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งเพียง 437 คน แต่จากรายงานผลการนับคะแนนว่า ผู้คัดค้านที่ 2 ได้รับคะแนน 752 คะแนน เกินกว่าจำนวนผู้ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ถ้าเปิดหีบเลือกตั้งมานับใหม่แล้วจะทำให้คะแนนของผู้ร้องเพิ่มขึ้นและทำให้ผลการเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงไปนั้น เมื่อปรากฏตามคำร้องของผู้ร้องว่า ผู้ร้องได้คะแนนน้อยกว่าผู้คัดค้านที่ 2 จำนวน 2,305 คะแนน ดังนั้น แม้จะนำจำนวนของผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมดในหน่วยเลือกตั้งนี้เป็นคะแนนที่ลงให้แก่ผู้ร้องนำมาหักออกจากคะแนนของผู้คัดค้านที่ 2 ก็หาทำให้ผลการเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงไปอันจะทำให้ผู้ร้องได้รับการเลือกตั้งและผู้คัดค้านที่ 2 ไม่ได้รับการเลือกตั้ง จึงไม่จำต้องเปิดหีบเลือกตั้งเพื่อนับคะแนนเสียงใหม่
เมื่อคำร้องของผู้ร้องที่คัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นคำร้องที่เคลือบคลุมและไม่ทำให้ผลการเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงไป ศาลฎีกาจึงไม่อาจรับคำร้องของผู้ร้องไว้พิจารณาได้ ให้ยกคำร้องของผู้ร้อง
ผู้ร้องได้ยื่นคำร้องคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตเลือกตั้งที่ 2 ว่าเป็นไปโดยมิชอบโดยอ้างเหตุเป็น 2 ตอน โดยในตอนที่สองได้บรรยายคำร้องว่า นอกจากจะมีการทุจริตในหน่วยเลือกตั้งที่ 1 แล้ว หน่วยเลือกตั้งอื่นอาจจะมีการกระทำทุจริต กล่าวคือ อำเภอ ก.หน่วยเลือกตั้งที่ 1 มีผู้ใช้สิทธิคนเดียวหลายครั้งเพื่อลงคะแนนให้แก่ผู้สมัครรับเลือกตั้งหมายเลขอื่น และกรรมการนับคะแนนโดยไม่ขานคะแนนของผู้ร้อง หน่วยเลือกตั้งที่ 5 กรรมการนับคะแนนโดยไม่ขานคะแนนของผู้ร้อง และทำบัตรดีให้เป็นบัตรเสียโดยมีการกา 2 ครั้งในช่องเดียวกัน เจ้าหน้าที่ขานว่าเป็นบัตรเสีย ซึ่งลักษณะการกระทำผิดในหน่วยเลือกตั้งอื่นของอำเภอ ก. อำเภอ บ. และอำเภอ ด.นั้น ผู้ร้องเข้าใจว่าอาจเป็นการกระทำทุจริตโดยเจ้าหน้าที่อาจปล่อยให้มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งหลายครั้ง ทำให้คะแนนของผู้ร้องลดลง ดังนี้ คำร้องของผู้ร้องในตอนที่สองที่เกี่ยวกับหน่วยเลือกตั้งอื่นดังกล่าวนี้ ผู้ร้องมิได้ยืนยันว่ามีการทุจริตในการเลือกตั้ง แต่เป็นความเข้าใจเอาเองของผู้ร้องทั้งผู้ร้องมิได้บรรยายให้เห็นว่าบัตรเลือกตั้งที่ใช้เวียนลงคะแนนก็ดี บัตรที่ขานคะแนนของผู้ร้องเป็นของผู้สมัครคนอื่นก็ดี บัตรที่ไม่ขานคะแนนให้ผู้ร้องโดยอ้างว่าเป็นบัตรเสียก็ดีนั้นมีจำนวนเท่าใด การใช้คนเวียนลงคะแนนให้ผู้สมัครคนอื่นและขานคะแนนของผู้ร้องเป็นของผู้สมัครคนอื่นนั้นเป็นผู้สมัครคนใดบ้าง และมีผลทำให้คะแนนของผู้สมัครคนใดเพิ่มขึ้นหรือลดลงจำนวนเท่าใด คำร้องของผู้ร้องที่อ้างเหตุในตอนที่สองนี้เป็นคำร้องที่มิได้ปฏิบัติตาม ป.วิ.พ.มาตรา 172 วรรคสอง จึงเป็นคำร้องที่เคลือบคลุม
ผู้ร้องยื่นคำร้องอ้างว่า ทางอำเภอกำแพงแสนจัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งว่ามีจำนวน 875 คน จากผู้มีสิทธิเลือกตั้งเพียง 775 คน และมีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งเพียง 437 คน แต่จากรายงานผลการนับคะแนนว่า ผู้คัดค้านที่ 2 ได้รับคะแนน 752 คะแนน เกินกว่าจำนวนผู้ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ถ้าเปิดหีบเลือกตั้งมานับใหม่แล้วจะทำให้คะแนนของผู้ร้องเพิ่มขึ้นและทำให้ผลการเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงไปนั้น เมื่อปรากฏตามคำร้องของผู้ร้องว่า ผู้ร้องได้คะแนนน้อยกว่าผู้คัดค้านที่ 2 จำนวน 2,305 คะแนน ดังนั้น แม้จะนำจำนวนของผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมดในหน่วยเลือกตั้งนี้เป็นคะแนนที่ลงให้แก่ผู้ร้องนำมาหักออกจากคะแนนของผู้คัดค้านที่ 2 ก็หาทำให้ผลการเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงไปอันจะทำให้ผู้ร้องได้รับการเลือกตั้งและผู้คัดค้านที่ 2 ไม่ได้รับการเลือกตั้ง จึงไม่จำต้องเปิดหีบเลือกตั้งเพื่อนับคะแนนเสียงใหม่
เมื่อคำร้องของผู้ร้องที่คัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นคำร้องที่เคลือบคลุมและไม่ทำให้ผลการเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงไป ศาลฎีกาจึงไม่อาจรับคำร้องของผู้ร้องไว้พิจารณาได้ ให้ยกคำร้องของผู้ร้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5910/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองปรปักษ์ สิทธิในที่ดิน การสมยอม การซื้อที่ดินจากการบังคับคดี
การกู้ยืมเงินระหว่างจำเลยที่ 1 กับจำเลยที่ 2 เป็นการสมยอมกัน และจำเลยที่ 2 ทราบอยู่แล้วว่าโจทก์มีสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทการที่จำเลยที่ 2 นำหนี้สมยอมดังกล่าวมาฟ้องคดีแพ่งและยึดที่ดินพิพาทออกขายทอดตลาดแล้วประมูลซื้อที่ดินพิพาทจากการขายทอดตลาดนั้น จึงเป็นการได้มาโดยไม่สุจริต ไม่ได้รับความคุ้มครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1330 การที่คดีนี้โจทก์เสียค่าขึ้นศาลในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ไม่ถูกต้องครบถ้วนโดยที่ศาลชั้นต้นก็มิได้เรียกให้เสียให้ครบถ้วนทั้งเมื่อคดีมาสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกาก็มิได้มีคำสั่งประการอื่นใดก็หาทำให้กระบวนพิจารณาที่ดำเนินมาแล้วต้องเสียไปแต่ประการใดไม่กรณีเป็นเรื่องของโจทก์และศาล จำเลยที่ 2 ไม่มีสิทธิยื่นคำร้องโต้แย้ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5910/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้มาซึ่งทรัพย์สินโดยไม่สุจริตจากการฟ้องคดีสมยอมและประมูลซื้อ
การกู้ยืมเงินระหว่างจำเลยที่ 1 กับจำเลยที่ 2 เป็นการสมยอมกัน และจำเลยที่ 2 ทราบอยู่แล้วว่าโจทก์มีสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทการที่จำเลยที่ 2 นำหนี้สมยอมดังกล่าวมาฟ้องคดีแพ่งและยึดที่ดินพิพาทออกขายทอดตลาดแล้วประมูลซื้อที่ดินพิพาทจากการขายทอดตลาดนั้น จึงเป็นการได้มาโดยไม่สุจริต ไม่ได้รับความคุ้มครองตาม ป.พ.พ.มาตรา 1330
การที่คดีนี้โจทก์เสียค่าขึ้นศาลในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ไม่ถูกต้องครบถ้วนโดยที่ศาลชั้นต้นก็มิได้เรียกให้เสียให้ครบถ้วน ทั้งเมื่อคดีมาสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกาก็มิได้มีคำสั่งประการอื่นใด ก็หาทำให้กระบวนพิจารณาที่ดำเนินมาแล้วต้องเสียไปแต่ประการใดไม่ กรณีเป็นเรื่องของโจทก์และศาล จำเลยที่ 2ไม่มีสิทธิยื่นคำร้องโต้แย้ง
การที่คดีนี้โจทก์เสียค่าขึ้นศาลในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ไม่ถูกต้องครบถ้วนโดยที่ศาลชั้นต้นก็มิได้เรียกให้เสียให้ครบถ้วน ทั้งเมื่อคดีมาสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกาก็มิได้มีคำสั่งประการอื่นใด ก็หาทำให้กระบวนพิจารณาที่ดำเนินมาแล้วต้องเสียไปแต่ประการใดไม่ กรณีเป็นเรื่องของโจทก์และศาล จำเลยที่ 2ไม่มีสิทธิยื่นคำร้องโต้แย้ง