พบผลลัพธ์ทั้งหมด 127 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1331/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องอาญาไม่มีรายละเอียดเพียงพอ ขาดอายุความ และขาดองค์ความผิด ฉ้อโกงไม่สำเร็จ
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยกระทำความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 267 โดยบรรยายฟ้องเพียงกว้างๆ ว่า จำเลยบังอาจแจ้งให้เจ้าพนักงานที่ดินจดข้อความอันเป็นเท็จลงในเอกสารราชการ และเอกสารสิทธิ ไม่พอที่จะทำให้จำเลยรู้ว่าเอกสารที่โจทก์กล่าวถึงนั้นคืออะไร มีอยู่จริงหรือไม่ ถือได้ว่าฟ้องโจทก์ไม่มีข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิ่งของที่เกี่ยวข้องพอสมควรเท่าที่จะให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดีไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5)
เมื่อเหตุดังกล่าวเกิดมากว่า 10 ปีแล้ว ความผิดตามมาตรา 267 และความผิดตามมาตรา 137 ที่อาศัยข้อเท็จจริงอันเดียวกัน ย่อมขาดอายุความ
การที่จำเลยใช้แบบแจ้งการครอบครองที่จำเลยแจ้งว่าที่ดินของโจทก์เป็นของจำเลยนั้น เป็นการใช้เอกสารที่มีข้อความไม่ตรงกับความจริงเท่านั้น เมื่อโจทก์มิได้บรรยายว่าเป็นเอกสารปลอมหรือเป็นเอกสารที่จำเลยแจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความอันเป็นเท็จลงไว้จึงเป็นฟ้องที่ขาดองค์ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 268
จำเลยหลอกลวงเจ้าพนักงานที่ดินว่าที่ดินของโจทก์เป็นของจำเลยเจ้าพนักงานหลงเชื่อได้ออกโฉนดให้แก่จำเลย กรณีเช่นนี้โจทก์ไม่ได้ถูกหลอกลวง และจำเลยก็ไม่ได้ทรัพย์สินอะไรไปจากโจทก์ถือไม่ได้ว่าจำเลยได้กระทำผิดต่อโจทก์ฐานฉ้อโกง
เมื่อเหตุดังกล่าวเกิดมากว่า 10 ปีแล้ว ความผิดตามมาตรา 267 และความผิดตามมาตรา 137 ที่อาศัยข้อเท็จจริงอันเดียวกัน ย่อมขาดอายุความ
การที่จำเลยใช้แบบแจ้งการครอบครองที่จำเลยแจ้งว่าที่ดินของโจทก์เป็นของจำเลยนั้น เป็นการใช้เอกสารที่มีข้อความไม่ตรงกับความจริงเท่านั้น เมื่อโจทก์มิได้บรรยายว่าเป็นเอกสารปลอมหรือเป็นเอกสารที่จำเลยแจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความอันเป็นเท็จลงไว้จึงเป็นฟ้องที่ขาดองค์ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 268
จำเลยหลอกลวงเจ้าพนักงานที่ดินว่าที่ดินของโจทก์เป็นของจำเลยเจ้าพนักงานหลงเชื่อได้ออกโฉนดให้แก่จำเลย กรณีเช่นนี้โจทก์ไม่ได้ถูกหลอกลวง และจำเลยก็ไม่ได้ทรัพย์สินอะไรไปจากโจทก์ถือไม่ได้ว่าจำเลยได้กระทำผิดต่อโจทก์ฐานฉ้อโกง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2212/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องอาญา: การนับวันหยุดราชการและสิทธิฟ้องเองของผู้เสียหาย
กำหนดเวลาที่ให้ผู้เสียหายร้องทุกข์ภายใน 3 เดือนนับแต่วันที่รู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำผิด มิฉะนั้นจะเป็นอันขาดอายุความนั้น เป็นบทบัญญัติสำหรับกรณีที่ผู้เสียหายจะร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน ฯลฯ แต่ถ้าผู้เสียหายไม่ร้องทุกข์เสียก่อน จะใช้สิทธินำคดีมาฟ้องต่อศาลด้วยตนเองก็ย่อมกระทำได้ภายในกำหนดระยะเวลาเดียวกัน แต่เมื่อวันสุดท้ายแห่งระยะเวลาเป็นวันหยุด ซึ่งตามประเพณีงดเว้นการงานท่านให้นับวันที่เริ่มทำงานใหม่เข้าด้วย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161 ดังนั้น การที่ระยะเวลาที่ผู้เสียหายจะร้องทุกข์ในคดีนี้ได้สิ้นสุดลงในวันที่ 24 อันเป็นวันหยุดราชการ ผู้เสียหายยื่นฟ้องคดีต่อศาลในวันที่ 25ซึ่งเป็นวันเริ่มทำงานใหม่ ฟ้องของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2212/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องอาญา: การนับวันหยุดราชการและสิทธิฟ้องเองของผู้เสียหาย
กำหนดเวลาที่ให้ผู้เสียหายร้องทุกข์ภายใน 3 เดือน นับแต่วันที่รู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำผิด มิฉะนั้นจะเป็นอันขาดอายุความนั้น เป็นบทบัญญัติสำหรับกรณีที่ผู้เสียหายจะร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน ฯลฯ แต่ถ้าผู้เสียหายไม่ร้องทุกข์เสียก่อน จะใช้สิทธินำคดีมาฟ้องต่อศาลด้วยตนเองก็ย่อมกระทำได้ภายในกำหนดระยะเวลาเดียวกัน แต่เมื่อวันสุดท้ายแห่งระยะเวลาเป็นวันหยุด ซึ่งตามประเพณีงดเว้นการงาน ท่านให้นับวันที่เริ่มทำงานใหม่เข้าด้วย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161 ดังนั้น การที่ระยะเวลาที่ผู้เสียหายจะร้องทุกข์ในคดีนี้ได้สิ้นสุดลงในวันที่ 24 อันเป็นวันหยุดราชการ ผู้เสียหายยื่นฟ้องคดีต่อศาลในวันที่ 25 ซึ่งเป็นวันเริ่มทำงานใหม่ ฟ้องของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 986/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีอาญา: การฟ้องและการได้ตัวจำเลยมาศาลต้องภายในกำหนด ป.อ. มาตรา 95
คดีอาญา โจทก์ฟ้องจำเลยต่อศาลภายในกำหนดอายุความแล้ว แต่ไม่ได้ตัวจำเลยมายังศาลภายในกำหนดอายุความ ก็ต้องถือคดีเป็นอันขาดอายุความ จะนำเอาเรื่องอายุความสะดุดหยุดลงเมื่อฟ้องคดีในทางแพ่งมาใช้บังคับไม่ได้ เพราะ ป.อ. มาตรา 95 บัญญัติไว้ชัดแจ้งแล้ว
ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2497 เมื่อได้ร้องทุกข์ไว้ภายในกำหนดอายุความตามมาตรา 96 แห่ง ป.อ. แล้ว ย่อมมีอายุความห้าปีตาม ป.อ. มาตรา 95(4) เมื่อฟ้องจำเลยไว้ภายในอายุความแล้ว แต่เพิ่งได้ตัวจำเลยมาศาล เมื่อพ้นกำหนด 5 ปี นับแต่วันกระทำผิด (วันที่ธนาคารปฏิเสธการใช้เงิน) คดีเป็นอันขาดอายุความ
ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2497 เมื่อได้ร้องทุกข์ไว้ภายในกำหนดอายุความตามมาตรา 96 แห่ง ป.อ. แล้ว ย่อมมีอายุความห้าปีตาม ป.อ. มาตรา 95(4) เมื่อฟ้องจำเลยไว้ภายในอายุความแล้ว แต่เพิ่งได้ตัวจำเลยมาศาล เมื่อพ้นกำหนด 5 ปี นับแต่วันกระทำผิด (วันที่ธนาคารปฏิเสธการใช้เงิน) คดีเป็นอันขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 471/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหลบหนีเข้าเมืองและการอยู่ในราชอาณาจักรโดยไม่ได้รับอนุญาต ไม่ขาดอายุความฟ้อง
จำเลยได้เข้ามาในราชอาณาจักรไทยโดยไม่ผ่านการตรวจของ เจ้าพนักงานและไม่ได้เดินทางเข้ามาตามช่องทางซึ่งรัฐมนตรีกำหนดไว้ตามกฎหมาย(จำเลยฎีกาว่าจำเลยได้เข้ามาเป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว คดีของโจทก์ขาดอายุความ) และจำเลยได้อยู่ในประเทศไทยโดยมิได้รับอนุญาตตลอดมาจนถึงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2509 เป็นเวลาถึง 10 ปีแล้วก็ตาม ก็ถือได้ว่าจำเลยได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทยโดยไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2493 มาตรา 21 (โจทก์ฟ้องจำเลยเมื่อวันที่ 11กันยายน 2510) ดังนี้ คดีจึงไม่ขาดอายุความตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองพ.ศ. 2493 มาตรา 58 ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 95
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 471/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกระทำผิดคนต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองและอยู่ในราชอาณาจักรโดยไม่ได้รับอนุญาต ไม่ขาดอายุความ
จำเลยได้เข้ามาในราชอาณาจักรไทยโดยไม่ผ่านการตรวจของเจ้าพนักงานและไม่ได้เดินทางเข้ามาตามช่องทางซึ่งรัฐมนตรีกำหนดไว้ตามกฎหมาย(จำเลยฎีกาว่าจำเลยได้เข้ามาเป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว คดีของโจทก์ขาดอายุความ) และจำเลยได้อยู่ในประเทศไทยโดยมิได้รับอนุญาตตลอดมาจนถึงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2509 เป็นเวลาถึง 10 ปีแล้วก็ตาม ก็ถือได้ว่าจำเลยได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทยโดยไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2493 มาตรา 21 (โจทก์ฟ้องจำเลยเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2510) ดังนี้ คดีจึงไม่ขาดอายุความตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองพ.ศ. 2493 มาตรา 58 ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 95
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1603/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีปลอมแปลงเอกสารสิทธิและใช้เอกสารปลอม พิจารณาจากวันยื่นเอกสารและประเภทเอกสาร
เอกสารแบบขอและรับโอนการเช่าที่ดินของกรมรถไฟเป็นเพียงเอกสารสิทธิ กล่าวคือเป็นเอกสารแห่งการก่อ เปลี่ยนแปลงโอนสงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ แต่ไม่ใช่เอกสารราชการเพราะไม่ใช่เอกสารที่เจ้าพนักงานได้ทำขึ้นหรือรับรองในหน้าที่
ความผิดในข้อหาอ้างใช้เอกสารปลอม เป็นความผิดสำเร็จเมื่อยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่รับเรื่อง อายุความฟ้องคดีจึงนับตั้งแต่วันยื่นเอกสารเป็นต้นไป แม้จะต้องมีการเสนอขึ้นไปตามลำดับชั้นจนถึงเจ้าพนักงานผู้ออกคำสั่งในชั้นที่สุด
ความผิดในข้อหาอ้างใช้เอกสารปลอม เป็นความผิดสำเร็จเมื่อยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่รับเรื่อง อายุความฟ้องคดีจึงนับตั้งแต่วันยื่นเอกสารเป็นต้นไป แม้จะต้องมีการเสนอขึ้นไปตามลำดับชั้นจนถึงเจ้าพนักงานผู้ออกคำสั่งในชั้นที่สุด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1603/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีปลอมแปลงเอกสารสิทธิและการใช้เอกสารปลอม พิจารณาจากวันยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงาน
เอกสารแบบขอและรับโอนการเช่าที่ดินของกรมรถไฟเป็นเพียงเอกสารสิทธิ กล่าวคือเป็นเอกสารแห่งการก่อ เปลี่ยนแปลงโอนสงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ แต่ไม่ใช่เอกสารราชการเพราะไม่ใช่เอกสารที่เจ้าพนักงานได้ทำขึ้นหรือรับรองในหน้าที่
ความผิดในข้อหาอ้างใช้เอกสารปลอม เป็นความผิดสำเร็จเมื่อยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่รับเรื่อง อายุความฟ้องคดีจึงนับตั้งแต่วันยื่นเอกสารเป็นต้นไป แม้จะต้องมีการเสนอขึ้นไปตามลำดับชั้นจนถึงเจ้าพนักงานผู้ออกคำสั่งในชั้นที่สุด
ความผิดในข้อหาอ้างใช้เอกสารปลอม เป็นความผิดสำเร็จเมื่อยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่รับเรื่อง อายุความฟ้องคดีจึงนับตั้งแต่วันยื่นเอกสารเป็นต้นไป แม้จะต้องมีการเสนอขึ้นไปตามลำดับชั้นจนถึงเจ้าพนักงานผู้ออกคำสั่งในชั้นที่สุด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1603/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เอกสารโอนเช่าที่ดินกรมรถไฟเป็นเอกสารสิทธิ ไม่ใช่เอกสารราชการ คดีขาดอายุความ
เอกสารแบบขอและรับโอนการเช่าที่ดินของกรมรถไฟเป็นเพียงเอกสารสิทธิ. กล่าวคือเป็นเอกสารแห่งการก่อ เปลี่ยนแปลงโอนสงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ. แต่ไม่ใช่เอกสารราชการเพราะไม่ใช่เอกสารที่เจ้าพนักงานได้ทำขึ้นหรือรับรองในหน้าที่.
ความผิดในข้อหาอ้างใช้เอกสารปลอม เป็นความผิดสำเร็จเมื่อยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่รับเรื่อง. อายุความฟ้องคดีจึงนับตั้งแต่วันยื่นเอกสารเป็นต้นไป. แม้จะต้องมีการเสนอขึ้นไปตามลำดับชั้นจนถึงเจ้าพนักงานผู้ออกคำสั่งในชั้นที่สุด.
ความผิดในข้อหาอ้างใช้เอกสารปลอม เป็นความผิดสำเร็จเมื่อยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่รับเรื่อง. อายุความฟ้องคดีจึงนับตั้งแต่วันยื่นเอกสารเป็นต้นไป. แม้จะต้องมีการเสนอขึ้นไปตามลำดับชั้นจนถึงเจ้าพนักงานผู้ออกคำสั่งในชั้นที่สุด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 637/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประกอบกิจการคล้ายประกันชีวิตโดยไม่ได้รับอนุญาต ถือเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ควบคุมกิจการค้าขาย
การกระทำตามฟ้องและจำเลยรับเป็นการกระทำอันมีลักษณะคล้ายคลึงกับการประกันชีวิตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 861, 889 เพราะจำเลยตกลงจะใช้เงินจำนวนหนึ่งแก่ผู้รับประโยชน์ในเหตุการณ์อันเป็นมรณะของผู้เป็นสมาชิกในอนาคต และจำเลยจะใช้เงินจำนวนหนึ่งแก่ผู้รับประโยชน์หรือไม่ ย่อมอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของผู้เป็นสมาชิก ดังนี้ ต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวงเศรษฐการ การกระทำที่ไม่ได้รับอนุญาตจึงเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติควบคุมกิจการค้าขายอันกระทบถึงความปลอดภัยหรือผาสุกแห่งสาธารณชน ฯ และการที่บริษัทจำกัดจำเลยที่ 1 ได้ดำเนินการดังกล่าวตามวัตถุประสงค์ที่ว่า ดำเนินการอันเป็นกุศลหรือสงเคราะห์ผู้ถือหุ้นและลูกค้านั้นโดยมิได้รับอนุญาต จำเลยที่ 1 จึงมีความผิดตามกฎหมายดังกล่าว จำเลยที่ 2 เป็นผู้จัดการของจำเลยที่ 1 ร่วมกระทำด้วย ต้องมีความผิดด้วย และเมื่อการกระทำของจำเลยที่ 2 ในตอนต้นและตอนหลังเป็นกิจการคล้ายคลึงกับการประกันชีวิตอันเดียวกันและยังไม่สิ้นระยะเวลาตามระเบียบข้อตกลงในกิจการที่จำเลยกระทำ จึงไม่ขาดอายุความฟ้องร้อง.