พบผลลัพธ์ทั้งหมด 273 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3230/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องสัญญาซื้อขาย, การชำระราคาด้วยเช็ค, การโอนที่ดินให้ผู้อื่นเป็นการผิดสัญญา
ที่จำเลยที่ 1 ฎีกาว่า โจทก์ลงลายมือชื่อในสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทแทน ส. มารดาโจทก์ โจทก์มิใช่คู่สัญญาที่แท้จริงจึงไม่มีอำนาจฟ้องนั้นเมื่อปัญหาดังกล่าวจำเลยที่ 1 มิได้ให้การไว้แม้ศาลอุทธรณ์จะรับวินิจฉัยให้ก็เป็นการไม่ชอบ ฎีกาของจำเลยที่ 1จึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ต้องห้ามมิให้ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 คดีที่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ผู้พิพากษาที่ได้นั่งพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นรับรองว่ามีเหตุสมควรที่จะฎีกาในข้อเท็จจริงได้ก็ตามแต่ข้อเท็จจริงที่รับรองให้ฎีกาได้นั้นต้องเป็นข้อเท็จจริงที่ได้ว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาจึงจะวินิจฉัยได้ โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาททำสัญญาจะขายที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ โดยจำเลยที่ 2 สามีจำเลยที่ 1ลงลายมือชื่อให้ความยินยอมด้วย แต่จำเลยทั้งสองผิดสัญญาโดยร่วมกันทำสัญญาขายและจดทะเบียนโอนที่ดินให้แก่ผู้อื่นไป สัญญาซื้อขายเป็นสัญญาต่างตอบแทน การที่จำเลยที่ 1 ทำสัญญาขายและจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่บุคคลอื่นไป ไม่อาจจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ตามสัญญาได้ จำเลยที่ 1 จึงเป็นฝ่ายผิดสัญญาเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง โจทก์กับจำเลยที่ 1 ตกลงทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทกันโดยฝ่ายโจทก์ผู้ซื้อออกเช็คชำระราคาที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 2ซึ่งเป็นสามีจำเลย 1 ข้อตกลงดังกล่าวเป็นเจตนาของคู่สัญญาที่มีผลผูกพันกันได้ เช็คดังกล่าวลงวันที่ล่วงหน้าเป็นวันที่28 กรกฎาคม 2532 แต่จำเลยที่ 1 กลับไปทำสัญญาขายและจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่บุคคลอื่นไปตั้งแต่วันที่ 27 กรกฎาคม 2532ดังนี้ จำเลยที่ 1 จะอ้างว่าโจทก์ยังไม่ได้ชำระราคาที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 1 หาได้ไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง ตามคำฟ้องของโจทก์กล่าวว่า จำเลยทั้งสองเป็นฝ่ายผิดสัญญาต้องคืนเงินมัดจำ 200,000 บาท และจ่ายเงินค่าปรับ 10 เท่าของราคาซื้อขายที่ดินคิดเป็นเงิน 10,750,000 บาท รวมเป็นเงินที่จำเลยทั้งสองจะต้องรับผิดต่อโจทก์ 10,950,000 บาท และในคำขอท้ายฟ้องของโจทก์ก็ขอให้จำเลยทั้งสองชำระเงิน 10,950,000 บาทให้แก่โจทก์ เมื่อเงินมัดจำ 50,000 บาท เป็นส่วนหนึ่งของค่ามัดจำ200,000 บาท ตามหนังสือสัญญาจะซื้อจะขาย ซึ่งโจทก์บรรยายไว้ในคำฟ้องว่ามอบให้จำเลยที่ 1 ไป และมีคำขอให้บังคับจำเลยทั้งสองชำระคืนรวมอยู่ด้วยในคำขอท้ายฟ้องแล้ว ที่ศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยให้จำเลยที่ 1 คืนมัดจำให้แก่โจทก์ด้วย จึงไม่เป็นพิพากษาเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3230/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องสัญญาซื้อขาย, การชำระราคาด้วยเช็ค, และการโอนสิทธิในที่ดิน
ที่จำเลยที่1ฎีกาว่าโจทก์ลงลายมือชื่อในสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทแทนส. มารดาโจทก์โจทก์มิใช่คู่สัญญาที่แท้จริงจึงไม่มีอำนาจฟ้องนั้นเมื่อปัญหาดังกล่าวจำเลยที่1มิได้ให้การไว้แม้ศาลอุทธรณ์จะรับวินิจฉัยให้ก็เป็นการไม่ชอบฎีกาของจำเลยที่1จึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ต้องห้ามมิให้ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา249 คดีที่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ผู้พิพากษาที่ได้นั่งพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นรับรองว่ามีเหตุสมควรที่จะฎีกาในข้อเท็จจริงได้ก็ตามแต่ข้อเท็จจริงที่รับรองให้ฎีกาได้นั้นต้องเป็นข้อเท็จจริงที่ได้ว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ศาลฎีกาจึงจะวินิจฉัยได้ โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่1ซึ่งเป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาททำสัญญาจะขายที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์โดยจำเลยที่2สามีจำเลยที่1ลงลายมือชื่อให้ความยินยอมด้วยแต่จำเลยทั้งสองผิดสัญญาโดยร่วมกันทำสัญญาขายและจดทะเบียนโอนที่ดินให้แก่ผู้อื่นไปสัญญาซื้อขายเป็นสัญญาต่างตอบแทนการที่จำเลยที่1ทำสัญญาขายและจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่บุคคลอื่นไปไม่อาจจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ตามสัญญาได้จำเลยที่1จึงเป็นฝ่ายผิดสัญญาเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง โจทก์กับจำเลยที่1ตกลงทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทกันโดยฝ่ายโจทก์ผู้ซื้อออกเช็คชำระราคาที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่2ซึ่งเป็นสามีจำเลย1ข้อตกลงดังกล่าวเป็นเจตนาของคู่สัญญาที่มีผลผูกพันกันได้เช็คดังกล่าวลงวันที่ล่วงหน้าเป็นวันที่28กรกฎาคม2532แต่จำเลยที่1กลับไปทำสัญญาขายและจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่บุคคลอื่นไปตั้งแต่วันที่27กรกฎาคม2532ดังนี้จำเลยที่1จะอ้างว่าโจทก์ยังไม่ได้ชำระราคาที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่1หาได้ไม่โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง ตามคำฟ้องของโจทก์กล่าวว่าจำเลยทั้งสองเป็นฝ่ายผิดสัญญาต้องคืนเงินมัดจำ200,000บาทและจ่ายเงินค่าปรับ10เท่าของราคาซื้อขายที่ดินคิดเป็นเงิน10,750,000บาทรวมเป็นเงินที่จำเลยทั้งสองจะต้องรับผิดต่อโจทก์10,950,000บาทและในคำขอท้ายฟ้องของโจทก์ก็ขอให้จำเลยทั้งสองชำระเงิน10,950,000บาทให้แก่โจทก์เมื่อเงินมัดจำ50,000บาทเป็นส่วนหนึ่งของค่ามัดจำ200,000บาทตามหนังสือสัญญาจะซื้อจะขายซึ่งโจทก์บรรยายไว้ในคำฟ้องว่ามอบให้จำเลยที่1ไปและมีคำขอให้บังคับจำเลยทั้งสองชำระคืนรวมอยู่ด้วยในคำขอท้ายฟ้องแล้วที่ศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยให้จำเลยที่1คืนมัดจำให้แก่โจทก์ด้วยจึงไม่เป็นพิพากษาเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3230/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องร้องสัญญาซื้อขายที่ดิน: อำนาจฟ้อง, การผิดสัญญา, และขอบเขตคำฟ้อง
ที่จำเลยที่ 1 ฎีกาว่า โจทก์ลงลายมือชื่อในสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทแทน ส.มารดาโจทก์ โจทก์มิใช่คู่สัญญาที่แท้จริงจึงไม่มีอำนาจฟ้องนั้นเมื่อปัญหาดังกล่าวจำเลยที่ 1 มิได้ให้การไว้ แม้ศาลอุทธรณ์จะรับวินิจฉัยให้ก็เป็นการไม่ชอบ ฎีกาของจำเลยที่ 1 จึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ต้องห้ามมิให้ฎีกาตาม ป.วิ.พ.มาตรา 249
คดีที่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ผู้พิพากษาที่ได้นั่งพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นรับรองว่ามีเหตุสมควรที่จะฎีกาในข้อเท็จจริงได้ก็ตามแต่ข้อเท็จจริงที่รับรองให้ฎีกาได้นั้น ต้องเป็นข้อเท็จจริงที่ได้ว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาจึงจะวินิจฉัยได้
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาททำสัญญาจะขายที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ โดยจำเลยที่ 2 สามีจำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อให้ความยินยอมด้วย แต่จำเลยทั้งสองผิดสัญญาโดยร่วมกันทำสัญญาขายและจดทะเบียนโอนที่ดินให้แก่ผู้อื่นไป สัญญาซื้อขายเป็นสัญญาต่างตอบแทน การที่จำเลยที่ 1 ทำสัญญาขายและจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่บุคคลอื่นไป ไม่อาจจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ตามสัญญาได้ จำเลยที่ 1 จึงเป็นฝ่ายผิดสัญญาเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
โจทก์กับจำเลยที่ 1 ตกลงทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทกันโดยฝ่ายโจทก์ผู้ซื้อออกเช็คชำระราคาที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นสามีจำเลย 1 ข้อตกลงดังกล่าวเป็นเจตนาของคู่สัญญาที่มีผลผูกพันกันได้ เช็คดังกล่าวลงวันที่ล่วงหน้าเป็นวันที่ 28 กรกฎาคม 2532 แต่จำเลยที่ 1 กลับไปทำสัญญาขายและจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่บุคคลอื่นไปตั้งแต่วันที่ 27 กรกฎาคม2532 ดังนี้ จำเลยที่ 1 จะอ้างว่าโจทก์ยังไม่ได้ชำระราคาที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 1 หาได้ไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
ตามคำฟ้องของโจทก์กล่าวว่า จำเลยทั้งสองเป็นฝ่ายผิดสัญญาต้องคืนเงินมัดจำ 200,000 บาท และจ่ายเงินค่าปรับ 10 เท่า ของราคาซื้อขายที่ดินคิดเป็นเงิน 10,750,000 บาท รวมเป็นเงินที่จำเลยทั้งสองจะต้องรับผิดต่อโจทก์ 10,950,000 บาท และในคำขอท้ายฟ้องของโจทก์ก็ขอให้จำเลยทั้งสองชำระเงิน 10,950,000 บาท ให้แก่โจทก์ เมื่อเงินมัดจำ 50,000 บาท เป็นส่วนหนึ่งของค่ามัดจำ 200,000 บาท ตามหนังสือสัญญาจะซื้อจะขาย ซึ่งโจทก์บรรยายไว้ในคำฟ้องว่ามอบให้จำเลยที่ 1 ไป และมีคำขอให้บังคับจำเลยทั้งสองชำระคืนรวมอยู่ด้วยในคำขอท้ายฟ้องแล้ว ที่ศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยให้จำเลยที่ 1คืนมัดจำให้แก่โจทก์ด้วย จึงไม่เป็นพิพากษาเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง
คดีที่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ผู้พิพากษาที่ได้นั่งพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นรับรองว่ามีเหตุสมควรที่จะฎีกาในข้อเท็จจริงได้ก็ตามแต่ข้อเท็จจริงที่รับรองให้ฎีกาได้นั้น ต้องเป็นข้อเท็จจริงที่ได้ว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาจึงจะวินิจฉัยได้
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาททำสัญญาจะขายที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ โดยจำเลยที่ 2 สามีจำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อให้ความยินยอมด้วย แต่จำเลยทั้งสองผิดสัญญาโดยร่วมกันทำสัญญาขายและจดทะเบียนโอนที่ดินให้แก่ผู้อื่นไป สัญญาซื้อขายเป็นสัญญาต่างตอบแทน การที่จำเลยที่ 1 ทำสัญญาขายและจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่บุคคลอื่นไป ไม่อาจจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ตามสัญญาได้ จำเลยที่ 1 จึงเป็นฝ่ายผิดสัญญาเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
โจทก์กับจำเลยที่ 1 ตกลงทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทกันโดยฝ่ายโจทก์ผู้ซื้อออกเช็คชำระราคาที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นสามีจำเลย 1 ข้อตกลงดังกล่าวเป็นเจตนาของคู่สัญญาที่มีผลผูกพันกันได้ เช็คดังกล่าวลงวันที่ล่วงหน้าเป็นวันที่ 28 กรกฎาคม 2532 แต่จำเลยที่ 1 กลับไปทำสัญญาขายและจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่บุคคลอื่นไปตั้งแต่วันที่ 27 กรกฎาคม2532 ดังนี้ จำเลยที่ 1 จะอ้างว่าโจทก์ยังไม่ได้ชำระราคาที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 1 หาได้ไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
ตามคำฟ้องของโจทก์กล่าวว่า จำเลยทั้งสองเป็นฝ่ายผิดสัญญาต้องคืนเงินมัดจำ 200,000 บาท และจ่ายเงินค่าปรับ 10 เท่า ของราคาซื้อขายที่ดินคิดเป็นเงิน 10,750,000 บาท รวมเป็นเงินที่จำเลยทั้งสองจะต้องรับผิดต่อโจทก์ 10,950,000 บาท และในคำขอท้ายฟ้องของโจทก์ก็ขอให้จำเลยทั้งสองชำระเงิน 10,950,000 บาท ให้แก่โจทก์ เมื่อเงินมัดจำ 50,000 บาท เป็นส่วนหนึ่งของค่ามัดจำ 200,000 บาท ตามหนังสือสัญญาจะซื้อจะขาย ซึ่งโจทก์บรรยายไว้ในคำฟ้องว่ามอบให้จำเลยที่ 1 ไป และมีคำขอให้บังคับจำเลยทั้งสองชำระคืนรวมอยู่ด้วยในคำขอท้ายฟ้องแล้ว ที่ศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยให้จำเลยที่ 1คืนมัดจำให้แก่โจทก์ด้วย จึงไม่เป็นพิพากษาเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3071/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้ตามคำพิพากษาด้วยแคชเชียร์เช็คภายใต้เงื่อนไขการซื้อขายที่ดิน ย่อมไม่ถือว่าเป็นการชำระหนี้จนกว่าจะมีการซื้อขายสำเร็จ
หลังจากโจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินของจำเลยแล้ว ต่อมา ศ. ได้ทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินที่ถูกยึดกับฝ่ายจำเลย โดย ศ. ได้ขอสินเชื่อเพื่อซื้อที่ดินจากธนาคาร น. และได้รับอนุมัติสินเชื่อแล้ว ธนาคาร น.จึงได้ออกแคชเชียร์เช็คจำนวน 6,200,945.44 บาท เพื่อให้ศ. ใช้ชำระค่าซื้อที่ดิน ต่อมาได้มีการมอบแคชเชียร์เช็คดังกล่าวแก่โจทก์และโจทก์ได้ขอถอนการยึดทรัพย์ที่ดินของฝ่ายจำเลยเพื่อจะได้จดทะเบียนโอนขายแก่ ศ. และจดทะเบียนจำนองเป็นประกันหนี้ต่อธนาคาร น. ต่อไป และเจ้าพนักงานบังคับคดีอนุญาตแล้วก็ตาม แต่การที่โจทก์ ศ. และธนาคาร น.ตกลงให้โจทก์ถือแคชเชียร์เช็คดังกล่าวไว้เป็นประกันในการที่ยอมถอนการยึดทรัพย์ที่ดินให้เท่านั้น หากต่อมาตกลงซื้อขายกันไม่ได้โจทก์ย่อมคืนแคชเชียร์เช็คให้แก่ธนาคาร น. ได้ การที่ ศ. จะชำระค่าที่ดินโดยแคชเชียร์เช็คดังกล่าวก็เพื่อให้จำเลยที่ 2 จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ให้ศ. ในคราวเดียวภายในวันเดียวกันเพียงแต่ต้องมอบแคชเชียร์เช็คให้โจทก์ก่อน เพื่อให้ขั้นตอนการถอนการยึดทรัพย์ซึ่งต้องกระทำก่อนการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์กระทำได้สำเร็จ โดย ศ. มีเจตนาจะชำระเงินค่าที่ดินตามแคชเชียร์เช็คนั้นให้แก่จำเลยที่ 2 เป็นค่าซื้อที่ดินโดยเงื่อนไขว่าต้องมีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ให้ ศ.ได้ในวันเดียวกันนั้น เมื่อจำเลยที่ 2 ยังไม่สามารถจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ ศ. ได้ จำเลยที่ 2 จึงยังไม่มีสิทธิได้รับเงินตามแคชเชียร์เช็คนั้นเป็นการชำระค่าที่ดินและการมอบแคชเชียร์เช็คให้โจทก์ยึดถือไว้ เช่นนี้ย่อมถือไม่ได้ว่าจำเลยได้ชำระหนี้ตามคำพิพากษาแก่โจทก์แล้วโจทก์ย่อมจะคืนแคชเชียร์เช็คแก่ธนาคาร น. ตามข้อตกลงได้โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากจำเลย และโจทก์มีสิทธิบังคับคดีจำเลยต่อไปได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3071/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้ด้วยแคชเชียร์เช็คภายใต้เงื่อนไขการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์: สิทธิของเจ้าหนี้บังคับคดี
หลังจากโจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินของจำเลยแล้วต่อมา ศ.ได้ทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินที่ถูกยึดกับฝ่ายจำเลย โดย ศ.ได้ขอสินเชื่อเพื่อซื้อที่ดินจากธนาคาร น. และได้รับอนุมัติสินเชื่อแล้ว ธนาคาร น.จึงได้ออกแคชเชียร์เช็คจำนวน 6,200,945.44 บาท เพื่อให้ ศ.ใช้ชำระค่าซื้อที่ดิน ต่อมาได้มีการมอบแคชเชียร์เช็คดังกล่าวแก่โจทก์และโจทก์ได้ขอถอนการยึดทรัพย์ที่ดินของฝ่ายจำเลยเพื่อจะได้จดทะเบียนโอนขายแก่ ศ.และจดทะเบียนจำนองเป็นประกันหนี้ต่อธนาคาร น.ต่อไป และเจ้าพนักงานบังคับคดีอนุญาตแล้วก็ตาม แต่การที่โจทก์ ศ. และธนาคาร น.ตกลงให้โจทก์ถือแคชเชียร์เช็คดังกล่าวไว้เป็นประกันในการที่ยอมถอนการยึดทรัพย์ที่ดินให้เท่านั้น หากต่อมาตกลงซื้อขายกันไม่ได้โจทก์ย่อมคืนแคชเชียร์เช็คให้แก่ธนาคาร น.ได้ การที่ ศ.จะชำระค่าที่ดินโดยแคชเชียร์เช็คดังกล่าวก็เพื่อให้จำเลยที่ 2 จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ให้ ศ.ในคราวเดียวภายในวันเดียวกันเพียงแต่ต้องมอบแคชเชียร์เช็คให้โจทก์ก่อน เพื่อให้ขั้นตอนการถอนการยึดทรัพย์ซึ่งต้องกระทำก่อนการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์กระทำได้สำเร็จ โดย ศ.มีเจตนาจะชำระเงินค่าที่ดินตามแคชเชียร์เช็คนั้นให้แก่จำเลยที่ 2 เป็นค่าซื้อที่ดินโดยเงื่อนไขว่าต้องมีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ให้ศ.ได้ในวันเดียวกันนั้น เมื่อจำเลยที่ 2 ยังไม่สามารถจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ ศ.ได้ จำเลยที่ 2 จึงยังไม่มีสิทธิได้รับเงินตามแคชเชียร์เช็คนั้นเป็นการชำระค่าที่ดิน และการมอบแคชเชียร์เช็คให้โจทก์ยึดถือไว้ เช่นนี้ย่อมถือไม่ได้ว่าจำเลยได้ชำระหนี้ตามคำพิพากษาแก่โจทก์แล้ว โจทก์ย่อมจะคืนแคชเชียร์เช็คแก่ธนาคาร น. ตามข้อตกลงได้โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากจำเลย และโจทก์มีสิทธิบังคับคดีจำเลยต่อไปได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3071/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดทรัพย์แล้วตกลงซื้อขายกันไม่ได้ แคชเชียร์เช็คยังไม่ถือว่าชำระหนี้ได้
หลังจากโจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินของจำเลยแล้วต่อมาศ. ได้ทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินที่ถูกยึดกับฝ่ายจำเลยโดยศ. ได้ขอสินเชื่อเพื่อซื้อที่ดินจากธนาคารน. และได้รับอนุมัติสินเชื่อแล้วธนาคารน.จึงได้ออกแคชเชียร์เช็คจำนวน6,200,945.44บาทเพื่อให้ศ. ใช้ชำระค่าซื้อที่ดินต่อมาได้มีการมอบแคชเชียร์เช็คดังกล่าวแก่โจทก์และโจทก์ได้ขอถอนการยึดทรัพย์ที่ดินของฝ่ายจำเลยเพื่อจะได้จดทะเบียนโอนขายแก่ศ. และจดทะเบียนจำนองเป็นประกันหนี้ต่อธนาคารน. ต่อไปและเจ้าพนักงานบังคับคดีอนุญาตแล้วก็ตามแต่การที่โจทก์ศ. และธนาคารน.ตกลงให้โจทก์ถือแคชเชียร์เช็คดังกล่าวไว้เป็นประกันในการที่ยอมถอนการยึดทรัพย์ที่ดินให้เท่านั้นหากต่อมาตกลงซื้อขายกันไม่ได้โจทก์ย่อมคืนแคชเชียร์เช็คให้แก่ธนาคารน. ได้การที่ศ. จะชำระค่าที่ดินโดยแคชเชียร์เช็คดังกล่าวก็เพื่อให้จำเลยที่2จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ให้ศ. ในคราวเดียวภายในวันเดียวกันเพียงแต่ต้องมอบแคชเชียร์เช็คให้โจทก์ก่อนเพื่อให้ขั้นตอนการถอนการยึดทรัพย์ซึ่งต้องกระทำก่อนการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์กระทำได้สำเร็จโดยศ. มีเจตนาจะชำระเงินค่าที่ดินตามแคชเชียร์เช็คนั้นให้แก่จำเลยที่2เป็นค่าซื้อที่ดินโดยเงื่อนไขว่าต้องมีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ให้ศ.ได้ในวันเดียวกันนั้นเมื่อจำเลยที่2ยังไม่สามารถจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ศ. ได้จำเลยที่2จึงยังไม่มีสิทธิได้รับเงินตามแคชเชียร์เช็คนั้นเป็นการชำระค่าที่ดินและการมอบแคชเชียร์เช็คให้โจทก์ยึดถือไว้เช่นนี้ย่อมถือไม่ได้ว่าจำเลยได้ชำระหนี้ตามคำพิพากษาแก่โจทก์แล้วโจทก์ย่อมจะคืนแคชเชียร์เช็คแก่ธนาคารน. ตามข้อตกลงได้โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากจำเลยและโจทก์มีสิทธิบังคับคดีจำเลยต่อไปได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1517/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เขตอำนาจศาล, การรับรองพยาน, และการเปลี่ยนแปลงตั๋วสัญญาใช้เงินในคดีแพ่ง
โจทก์บรรยายฟ้องขอให้จำเลยที่ 1 รับผิดตามความตกลงการขายลดตั๋วเงินกับโจทก์โดยกำหนดวงเงินสินเชื่อตามสัญญาซึ่งมีจำเลยที่ 2 จำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างเป็นประกันและจำเลยที่ 2 และที่ 3 ทำสัญญาค้ำประกันหนี้ของจำเลยที่ 1 ยอมรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วม โดยได้กล่าวถึงรายละเอียดของตั๋วสัญญาใช้เงินแต่ละฉบับว่า เป็นตั๋วสัญญาใช้เงินเลขที่เท่าใด จำนวนเงินเท่าใด อัตราดอกเบี้ยเท่าใด ถึงกำหนดใช้เงินเมื่อใด ฉบับใดที่จำเลยที่ 1 ชำระต้นเงินให้โจทก์บางส่วนแล้ว และจำเลยที่ 1 เริ่มผิดนัดไม่ชำระดอกเบี้ยตามตั๋วสัญญาใช้เงินฉบับใดตั้งแต่เมื่อใด และเมื่อครบกำหนดใช้เงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินแล้วจำเลยที่ 1 ไม่ชำระต้นเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงิน คงค้างชำระต้นเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินที่พิพาทเป็นเงินเท่าใด ซึ่งเป็นสภาพแห่งข้อหาและข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาตามคำฟ้องของโจทก์แล้ว ส่วนตั๋วสัญญาใช้เงินฉบับใดที่จำเลยที่ 1 ใช้เงินแก่โจทก์แล้วหรือเมื่อถึงกำหนดใช้เงินแล้ว จำเลยที่ 1 ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินฉบับใหม่ให้โจทก์แทนแล้วนั้นไม่จำต้องกล่าวในฟ้องอีก เพราะโจทก์ไม่ได้ฟ้องให้จำเลยรับผิดตามตั๋วสัญญาใช้เงินดังกล่าว นอกจากนี้จำเลยทั้งสามให้การปฏิเสธตั๋วสัญญาใช้เงินตามฟ้องโจทก์เพียงฉบับเดียว ส่วนตั๋วสัญญาใช้เงินอีก 5 ฉบับ จำเลยไม่ปฏิเสธ แสดงว่าจำเลยทั้งสามเข้าใจฟ้องของโจทก์ดีแล้วไม่ได้หลงข้อต่อสู้ ดังนี้ ฟ้องโจทก์ชอบด้วย ป.วิ.พ.มาตรา172 วรรคสอง จึงไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ได้ทำบันทึกข้อตกลงการขายลดตั๋วเงินและสัญญาวงเงินสินเชื่อกับโจทก์ ณ ที่ทำการของโจทก์ในกรุงเทพมหานคร มูลคดีจึงเกิดในเขตอำนาจของศาลแพ่ง จำเลยทั้งสามมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตอำนาจของศาลแพ่ง-ธนบุรี จำเลยที่ 2 จำนองที่ดินที่จังหวัดระยองเป็นประกันหนี้ของจำเลยที่ 1โจทก์จึงอาจยื่นฟ้องจำเลยทั้งสามได้ที่ศาลแพ่งหรือศาลแพ่งธนบุรีตาม ป.วิ.พ.มาตรา 4 (1) และถ้าถือว่าฟ้องโจทก์เป็นคำฟ้องเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ตามที่จำเลยทั้งสามฎีกา โจทก์ก็อาจยื่นฟ้องต่อศาลจังหวัดระยองได้อีกศาลหนึ่ง เมื่อคำฟ้องของโจทก์อาจเสนอต่อศาลได้สองศาลหรือกว่านั้นขึ้นไป และคดีนี้เป็นเรื่องฟ้องให้จำเลยทั้งสามร่วมกันชำระหนี้แก่โจทก์โดยจำเลยที่ 2 จำนองที่ดินเป็นประกันและจำเลยที่ 2 และที่ 3 ทำสัญญาค้ำประกันหนี้ของจำเลยที่ 1 จึงเป็นคำฟ้องที่มูลความแห่งคดีเกี่ยวข้องกัน โจทก์จึงมีสิทธิเสนอคำฟ้องต่อศาลใดศาลหนึ่งซึ่งมีเขตศาลดังที่กล่าวข้างต้นได้ ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 5 ดังนี้ ศาลแพ่งไม่จำต้องใช้ดุลพินิจอนุญาตให้โจทก์ฟ้องคดีนี้ก็มีอำนาจรับฟ้องของโจทก์ไว้พิจารณาได้
เอกสารหมาย จ.34 เป็นใบแจ้งหนี้ตามตั๋วสัญญาใช้เงิน5 ฉบับเดิม โดยหักจำนวนเงินที่จำเลยที่ 1 ชำระหนี้ให้โจทก์บางส่วนออกแล้วการที่จำเลยที่ 1 ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินตามเอกสารหมาย จ.14 มอบแก่โจทก์โดยระบุจำนวนเงินเท่ากับยอดหนี้ในเอกสารหมาย จ.34 ให้โจทก์ไว้ จึงถือได้ว่าเป็นการออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้โจทก์เพื่อชำระหนี้แทนตั๋วสัญญาใช้เงิน 5 ฉบับเดิมที่ถึงกำหนดใช้เงินแล้ว แม้จำเลยที่ 1 จะไม่ได้รับเงินจากโจทก์ตามตั๋วสัญญาใช้เงินตามเอกสารหมายจ.14 ตั๋วสัญญาใช้เงินตามเอกสารหมาย จ.14 ก็มีมูลหนี้ตามตั๋วสัญญาใช้เงิน5 ฉบับเดิม และแม้โจทก์จะไม่มีหลักฐานการคืนตั๋วสัญญาใช้เงิน 5 ฉบับเดิมแก่จำเลยที่ 1 มาแสดง พยานหลักฐานโจทก์ก็รับฟังได้ และเมื่อจำเลยที่ 1ต้องรับผิดใช้เงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินเอกสารหมาย จ.14 แก่โจทก์แล้ว โจทก์ก็ไม่อาจนำตั๋วสัญญาใช้เงิน 5 ฉบับเดิมมาฟ้องเรียกจากจำเลยที่ 1 อีก
นับตั้งแต่วันนัดสืบพยานจำเลยครั้งแรกถึงวันนัดครั้งสุดท้ายเป็นเวลา 7 เดือนเศษ พยานจำเลยทั้งสามมีจำเลยที่ 2 เบิกความเพียงปากเดียวยังไม่สิ้นกระแสความ ส่วนจำเลยที่ 3 ยังไม่ได้เข้าเบิกความเพราะจำเลยที่ 2และที่ 3 ต่างขอเลื่อนคดี อ้างเหตุเจ็บป่วยบ้าง มีธุรกิจต้องเดินทางไปต่างประเทศบ้าง และเปลี่ยนทนายจำเลยบ้าง หลายครั้งหลายหน ทั้ง ๆ ที่ทนายจำเลยทั้งสามได้ให้คำรับรองต่อศาลว่าจะนำพยานมาสืบให้เสร็จ หากไม่มีพยานมาศาลไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ ให้ถือว่าไม่ติดใจสืบพยาน ดังนี้ การขอเลื่อนคดีของจำเลยทั้งสามมีพฤติการณ์ประวิงคดี ที่ศาลชั้นต้นสั่งไม่อนุญาตให้จำเลยเลื่อนคดีอีก และถือว่าหมดพยานจำเลยจึงชอบแล้ว
ในระหว่างพิจารณาคดีนี้ในศาลชั้นต้นโจทก์ได้ร้องทุกข์กล่าวหาว่าจำเลยทั้งสามฉ้อโกงโจทก์ต่อพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการพิจารณาสำนวนสอบสวนแล้วมีคำสั่งไม่ฟ้อง แต่เมื่อคดีนี้ไม่ใช่คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาและข้อเท็จจริงตามสำนวนสอบสวนก็ไม่ใช่ข้อเท็จจริงที่พิจารณาได้ความในชั้นศาลปัญหาว่าจำเลยทั้งสามต้องรับผิดต่อโจทก์หรือไม่เพียงใด ย่อมอาศัยข้อเท็จจริงที่โจทก์จำเลยทั้งสามนำสืบในคดีนี้โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยข้อเท็จจริงในสำนวนสอบสวนคดีอาญา การที่ศาลล่างทั้งสองไม่อนุญาตให้จำเลยระบุพยานเพิ่มเติมอ้างผลคดีอาญาในสำนวนการสอบสวนดังกล่าวจึงชอบแล้ว
จำเลยที่ 1 ได้ทำบันทึกข้อตกลงการขายลดตั๋วเงินและสัญญาวงเงินสินเชื่อกับโจทก์ ณ ที่ทำการของโจทก์ในกรุงเทพมหานคร มูลคดีจึงเกิดในเขตอำนาจของศาลแพ่ง จำเลยทั้งสามมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตอำนาจของศาลแพ่ง-ธนบุรี จำเลยที่ 2 จำนองที่ดินที่จังหวัดระยองเป็นประกันหนี้ของจำเลยที่ 1โจทก์จึงอาจยื่นฟ้องจำเลยทั้งสามได้ที่ศาลแพ่งหรือศาลแพ่งธนบุรีตาม ป.วิ.พ.มาตรา 4 (1) และถ้าถือว่าฟ้องโจทก์เป็นคำฟ้องเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ตามที่จำเลยทั้งสามฎีกา โจทก์ก็อาจยื่นฟ้องต่อศาลจังหวัดระยองได้อีกศาลหนึ่ง เมื่อคำฟ้องของโจทก์อาจเสนอต่อศาลได้สองศาลหรือกว่านั้นขึ้นไป และคดีนี้เป็นเรื่องฟ้องให้จำเลยทั้งสามร่วมกันชำระหนี้แก่โจทก์โดยจำเลยที่ 2 จำนองที่ดินเป็นประกันและจำเลยที่ 2 และที่ 3 ทำสัญญาค้ำประกันหนี้ของจำเลยที่ 1 จึงเป็นคำฟ้องที่มูลความแห่งคดีเกี่ยวข้องกัน โจทก์จึงมีสิทธิเสนอคำฟ้องต่อศาลใดศาลหนึ่งซึ่งมีเขตศาลดังที่กล่าวข้างต้นได้ ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 5 ดังนี้ ศาลแพ่งไม่จำต้องใช้ดุลพินิจอนุญาตให้โจทก์ฟ้องคดีนี้ก็มีอำนาจรับฟ้องของโจทก์ไว้พิจารณาได้
เอกสารหมาย จ.34 เป็นใบแจ้งหนี้ตามตั๋วสัญญาใช้เงิน5 ฉบับเดิม โดยหักจำนวนเงินที่จำเลยที่ 1 ชำระหนี้ให้โจทก์บางส่วนออกแล้วการที่จำเลยที่ 1 ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินตามเอกสารหมาย จ.14 มอบแก่โจทก์โดยระบุจำนวนเงินเท่ากับยอดหนี้ในเอกสารหมาย จ.34 ให้โจทก์ไว้ จึงถือได้ว่าเป็นการออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้โจทก์เพื่อชำระหนี้แทนตั๋วสัญญาใช้เงิน 5 ฉบับเดิมที่ถึงกำหนดใช้เงินแล้ว แม้จำเลยที่ 1 จะไม่ได้รับเงินจากโจทก์ตามตั๋วสัญญาใช้เงินตามเอกสารหมายจ.14 ตั๋วสัญญาใช้เงินตามเอกสารหมาย จ.14 ก็มีมูลหนี้ตามตั๋วสัญญาใช้เงิน5 ฉบับเดิม และแม้โจทก์จะไม่มีหลักฐานการคืนตั๋วสัญญาใช้เงิน 5 ฉบับเดิมแก่จำเลยที่ 1 มาแสดง พยานหลักฐานโจทก์ก็รับฟังได้ และเมื่อจำเลยที่ 1ต้องรับผิดใช้เงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินเอกสารหมาย จ.14 แก่โจทก์แล้ว โจทก์ก็ไม่อาจนำตั๋วสัญญาใช้เงิน 5 ฉบับเดิมมาฟ้องเรียกจากจำเลยที่ 1 อีก
นับตั้งแต่วันนัดสืบพยานจำเลยครั้งแรกถึงวันนัดครั้งสุดท้ายเป็นเวลา 7 เดือนเศษ พยานจำเลยทั้งสามมีจำเลยที่ 2 เบิกความเพียงปากเดียวยังไม่สิ้นกระแสความ ส่วนจำเลยที่ 3 ยังไม่ได้เข้าเบิกความเพราะจำเลยที่ 2และที่ 3 ต่างขอเลื่อนคดี อ้างเหตุเจ็บป่วยบ้าง มีธุรกิจต้องเดินทางไปต่างประเทศบ้าง และเปลี่ยนทนายจำเลยบ้าง หลายครั้งหลายหน ทั้ง ๆ ที่ทนายจำเลยทั้งสามได้ให้คำรับรองต่อศาลว่าจะนำพยานมาสืบให้เสร็จ หากไม่มีพยานมาศาลไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ ให้ถือว่าไม่ติดใจสืบพยาน ดังนี้ การขอเลื่อนคดีของจำเลยทั้งสามมีพฤติการณ์ประวิงคดี ที่ศาลชั้นต้นสั่งไม่อนุญาตให้จำเลยเลื่อนคดีอีก และถือว่าหมดพยานจำเลยจึงชอบแล้ว
ในระหว่างพิจารณาคดีนี้ในศาลชั้นต้นโจทก์ได้ร้องทุกข์กล่าวหาว่าจำเลยทั้งสามฉ้อโกงโจทก์ต่อพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการพิจารณาสำนวนสอบสวนแล้วมีคำสั่งไม่ฟ้อง แต่เมื่อคดีนี้ไม่ใช่คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาและข้อเท็จจริงตามสำนวนสอบสวนก็ไม่ใช่ข้อเท็จจริงที่พิจารณาได้ความในชั้นศาลปัญหาว่าจำเลยทั้งสามต้องรับผิดต่อโจทก์หรือไม่เพียงใด ย่อมอาศัยข้อเท็จจริงที่โจทก์จำเลยทั้งสามนำสืบในคดีนี้โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยข้อเท็จจริงในสำนวนสอบสวนคดีอาญา การที่ศาลล่างทั้งสองไม่อนุญาตให้จำเลยระบุพยานเพิ่มเติมอ้างผลคดีอาญาในสำนวนการสอบสวนดังกล่าวจึงชอบแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6028/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้เงินกู้ด้วยการโอนเงินทางโทรศัพท์ทำให้หนี้ระงับ แม้ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ
จำเลยโอนเงินทางโทรศัพท์เข้าบัญชีโจทก์เพื่อชำระหนี้เงินกู้ไม่ต้องด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653แต่เป็นการชำระหนี้อย่างอื่น เมื่อโจทก์ยอมรับแล้วหนี้เงินกู้จึงระงับลง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4643/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้ด้วยการมอบบัตรเอทีเอ็มและการยอมรับการชำระหนี้โดยเจ้าหนี้
ล.ทำสัญญากู้ยืมเงินโจทก์รวม275,000บาทโดยมีจำเลยที่1ค้ำประกันและล. ได้มอบสมุดคู่ฝากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์และบัตรถอนเงินอัตโนมัติให้ไว้แก่โจทก์เพื่อให้โจทก์นำไปถอนเงินเดือนของล.จากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์โจทก์ถอนเงินจากเครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติรวม345,000บาทจึงต้องนำเงินจำนวนนี้หักชำระหนี้จากเงินที่ล. กู้จากโจทก์จำนวน275,000บาทแต่เงินที่โจทก์ถอนมาทั้งหมดอันจะนำไปหักชำระหนี้นั้นเป็นการชำระทั้งต้นเงินและดอกเบี้ยซึ่งไม่ได้ความว่าคงเหลือต้นเงินเท่าใดและโจทก์ก็อ้างว่าล. ไม่เคยชำระหนี้ให้โจทก์เลยดังนั้นจึงกำหนดต้นเงินตามที่จำเลยที่2และที่3ให้การยอมรับว่าโจทก์ได้รับชำระหนี้บางส่วนไปแล้วเป็นเงิน210,000บาท การที่ล. มอบสิทธิในการถอนเงินโดยมอบบัตรถอนเงินอัตโนมัติให้โจทก์ไปถอนเงินจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ของตนผ่านเครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติถือว่าเป็นการชำระหนี้อย่างอื่นซึ่งโจทก์ในฐานะเจ้าหนี้ได้ยอมรับแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา321แม้ว่าจำเลยที่2ที่3ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ให้ยืมมาแสดงหรือเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมได้เวนคืนแล้วหรือได้แทงเพิกถอนในเอกสารนั้นแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา653วรรคสองก็รับฟังได้ว่าล. ได้ชำระหนี้เงินกู้ให้โจทก์บางส่วนแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4643/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้ด้วยการมอบสิทธิถอนเงินจากบัญชี และการรับชำระหนี้บางส่วนโดยเจ้าหนี้
ล.ทำสัญญากู้ยืมเงินโจทก์รวม 275,000 บาท โดยมีจำเลยที่ 1ค้ำประกัน และ ล.ได้มอบสมุดคู่ฝากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์และบัตรถอนเงินอัตโนมัติให้ไว้แก่โจทก์เพื่อให้โจทก์นำไปถอนเงินเดือนของ ล.จากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์โจทก์ถอนเงินจากเครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติรวม 345,000 บาท จึงต้องนำเงินจำนวนนี้หักชำระหนี้จากเงินที่ ล.กู้จากโจทก์จำนวน 275,000 บาท แต่เงินที่โจทก์ถอนมาทั้งหมดอันจะนำไปหักชำระหนี้นั้นเป็นการชำระทั้งต้นเงินและดอกเบี้ยซึ่งไม่ได้ความว่าคงเหลือต้นเงินเท่าใด และโจทก์ก็อ้างว่า ล.ไม่เคยชำระหนี้ให้โจทก์เลยดังนั้นจึงกำหนดต้นเงินตามที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ให้การยอมรับว่าโจทก์ได้รับชำระหนี้บางส่วนไปแล้วเป็นเงิน 210,000 บาท
การที่ ล.มอบสิทธิในการถอนเงินโดยมอบบัตรถอนเงินอัตโนมัติให้โจทก์ไปถอนเงินจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ของตนผ่านเครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติถือว่าเป็นการชำระหนี้อย่างอื่นซึ่งโจทก์ในฐานะเจ้าหนี้ได้ยอมรับแล้ว ตาม ป.พ.พ.มาตรา 321 แม้ว่าจำเลยที่ 2 ที่ 3 ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ให้ยืมมาแสดงหรือเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมได้เวนคืนแล้วหรือได้แทงเพิกถอนในเอกสารนั้นแล้ว ตาม ป.พ.พ. มาตรา 653 วรรคสอง ก็รับฟังได้ว่า ล.ได้ชำระหนี้เงินกู้ให้โจทก์บางส่วนแล้ว
การที่ ล.มอบสิทธิในการถอนเงินโดยมอบบัตรถอนเงินอัตโนมัติให้โจทก์ไปถอนเงินจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ของตนผ่านเครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติถือว่าเป็นการชำระหนี้อย่างอื่นซึ่งโจทก์ในฐานะเจ้าหนี้ได้ยอมรับแล้ว ตาม ป.พ.พ.มาตรา 321 แม้ว่าจำเลยที่ 2 ที่ 3 ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ให้ยืมมาแสดงหรือเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมได้เวนคืนแล้วหรือได้แทงเพิกถอนในเอกสารนั้นแล้ว ตาม ป.พ.พ. มาตรา 653 วรรคสอง ก็รับฟังได้ว่า ล.ได้ชำระหนี้เงินกู้ให้โจทก์บางส่วนแล้ว