พบผลลัพธ์ทั้งหมด 328 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1000/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกเลิกสัญญาเช่า, อำนาจฟ้อง, และขอบเขตคำพิพากษาเกินคำขอ
ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่า การเคหะแห่งชาติเคยมีหนังสือบอกเลิกการเช่าห้องพิพาทแก่จำเลยแล้ว จำเลยก็ยอมรับ แต่ปฏิเสธว่าหนังสือบอกเลิกสัญญาเช่าไม่มีผลบังคับ เพราะได้มีบัญชาของนายกรัฐมนตรีขณะนั้นให้ระงับโครงการรื้อถอนและให้ผู้เช่ารวมทั้งจำเลยเช่าอยู่ต่อไป แต่จำเลยไม่มีพยานมาสืบให้เห็นเป็นดังที่จำเลยอ้างเพียงกล่าวอ้างลอย ๆ ถือว่าการบอกเลิกการเช่ามีผลสมบูรณ์ จำเลยอยู่ในห้องพิพาทโดยละเมิด การที่จำเลยอุทธรณ์ว่า โจทก์และโจทก์ร่วมไม่มีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยเนื่องจากการบอกเลิกการเช่าห้องพิพาทไม่มีผลตามกฎหมายนั้นเป็นการโต้เถียงข้อเท็จจริงว่า หนังสือบอกเลิกสัญญาไม่มีผลบังคับเพื่อนำไปสู่ปัญหาข้อกฎหมายที่จำเลยอุทธรณ์ว่าจำเลยมีสิทธิการเช่าในห้องพิพาทดีกว่าโจทก์ตาม ป.พ.พ.มาตรา 543 (3) อุทธรณ์ของจำเลยจึงเป็นอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง
ฎีกาของจำเลยในข้อที่ว่า โจทก์จะเรียกสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เข้ามาเป็นโจทก์ร่วม ไม่ต้องด้วยเหตุตาม ป.วิ.พ.มาตรา 57(3) (ก) เมื่อศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยว่า กรณีที่โจทก์เรียกสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เข้ามาเป็นโจทก์ร่วมต้องด้วยเหตุตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57 (3) (ข) แล้ว ดังนี้ ฎีกาข้อนี้ของจำเลยจึงไม่เป็นการโต้แย้งคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่วินิจฉัยให้
ตามสัญญาเช่าระบุว่า ผู้เช่าสัญญาจะเป็นผู้ดำเนินการให้ผู้ครอบครองผู้บุกรุก หรือบุคคลอื่นออกจากสถานที่เช่าและสิ่งปลูกสร้างในสถานที่เช่าจนสามารถครอบครองสถานที่เช่าได้ทั้งหมด โดยผู้ให้เช่าเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆตามที่ผู้เช่าจ่ายจริงภายในวงเงินไม่เกินสิบล้านบาทนั้น สัญญาได้ระบุไว้ชัดเจนว่าผู้เช่าคือโจทก์เป็นผู้ดำเนินการโดยผู้ให้เช่าคือโจทก์ร่วมเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายจึงเป็นเรื่องการกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการของโจทก์ มิใช่เป็นสัญญาเพื่อประโยชน์ของบุคคลภายนอก ที่ศาลล่างทั้งสองพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ร่วมด้วยนั้น เมื่อปรากฏตามคำร้องเข้าเป็นโจทก์ร่วมว่า โจทก์ร่วมเพียงแต่ขอให้บังคับจำเลยและบริวารขนย้ายทรัพย์สินออกไปจากห้องพิพาทและห้ามเข้าไปเกี่ยวข้องอีกเท่านั้น ดังนั้น คำพิพากษาศาลล่างทั้งสองในส่วนนี้จึงเป็นการพิพากษาเกินไปกว่าคำขอ อันเป็นการต้องห้ามตาม ป.วิ.พ.มาตรา 142ศาลฎีกาสมควรแก้ไขเสียให้ถูกต้องเป็นจำเลยไม่ต้องใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ร่วม
ฎีกาของจำเลยในข้อที่ว่า โจทก์จะเรียกสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เข้ามาเป็นโจทก์ร่วม ไม่ต้องด้วยเหตุตาม ป.วิ.พ.มาตรา 57(3) (ก) เมื่อศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยว่า กรณีที่โจทก์เรียกสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เข้ามาเป็นโจทก์ร่วมต้องด้วยเหตุตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57 (3) (ข) แล้ว ดังนี้ ฎีกาข้อนี้ของจำเลยจึงไม่เป็นการโต้แย้งคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่วินิจฉัยให้
ตามสัญญาเช่าระบุว่า ผู้เช่าสัญญาจะเป็นผู้ดำเนินการให้ผู้ครอบครองผู้บุกรุก หรือบุคคลอื่นออกจากสถานที่เช่าและสิ่งปลูกสร้างในสถานที่เช่าจนสามารถครอบครองสถานที่เช่าได้ทั้งหมด โดยผู้ให้เช่าเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆตามที่ผู้เช่าจ่ายจริงภายในวงเงินไม่เกินสิบล้านบาทนั้น สัญญาได้ระบุไว้ชัดเจนว่าผู้เช่าคือโจทก์เป็นผู้ดำเนินการโดยผู้ให้เช่าคือโจทก์ร่วมเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายจึงเป็นเรื่องการกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการของโจทก์ มิใช่เป็นสัญญาเพื่อประโยชน์ของบุคคลภายนอก ที่ศาลล่างทั้งสองพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ร่วมด้วยนั้น เมื่อปรากฏตามคำร้องเข้าเป็นโจทก์ร่วมว่า โจทก์ร่วมเพียงแต่ขอให้บังคับจำเลยและบริวารขนย้ายทรัพย์สินออกไปจากห้องพิพาทและห้ามเข้าไปเกี่ยวข้องอีกเท่านั้น ดังนั้น คำพิพากษาศาลล่างทั้งสองในส่วนนี้จึงเป็นการพิพากษาเกินไปกว่าคำขอ อันเป็นการต้องห้ามตาม ป.วิ.พ.มาตรา 142ศาลฎีกาสมควรแก้ไขเสียให้ถูกต้องเป็นจำเลยไม่ต้องใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ร่วม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1000/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้อง, สิทธิการเช่า, สัญญาเช่า, การบอกเลิกสัญญา, ค่าเสียหาย - ข้อพิพาทเรื่องการเช่าและการครอบครอง
ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่า การเคหะแห่งชาติเคยมีหนังสือบอกเลิกการเช่าห้องพิพาทแก่จำเลยแล้ว จำเลยก็ยอมรับ แต่ปฏิเสธว่าหนังสือบอกเลิกสัญญาเช่าไม่มีผลบังคับ เพราะได้มีบัญชาของนายกรัฐมนตรีขณะนั้นให้ระงับโครงการรื้อถอนและให้ผู้เช่ารวมทั้งจำเลยเช่าอยู่ต่อไป แต่จำเลยไม่มีพยานมาสืบให้เห็นเป็นดังที่จำเลยอ้างเพียงกล่าวอ้างลอย ๆ ถือว่าการบอกเลิกการเช่ามีผลสมบูรณ์ จำเลยอยู่ในห้องพิพาทโดยละเมิดการที่จำเลยอุทธรณ์ว่า โจทก์และโจทก์ร่วมไม่มีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยเนื่องจากการบอกเลิกการเช่าห้องพิพาทไม่มีผลตามกฎหมายนั้นเป็นการโต้เถียงข้อเท็จจริงว่า หนังสือบอกเลิกสัญญาไม่มีผลบังคับเพื่อนำไปสู่ปัญหาข้อกฎหมายที่จำเลยอุทธรณ์ว่าจำเลยมีสิทธิการเช่าในห้องพิพาทดีกว่าโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 543(3) อุทธรณ์ของจำเลยจึงเป็นอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง ฎีกาของจำเลยในข้อที่ว่า โจทก์จะเรียกสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เข้ามาเป็นโจทก์ร่วม ไม่ต้องด้วยเหตุตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3)(ก) เมื่อศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยว่า กรณีที่โจทก์เรียกสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เข้ามาเป็นโจทก์ร่วมต้องด้วยเหตุตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3)(ข) แล้วดังนี้ ฎีกาข้อนี้ของจำเลยจึงไม่เป็นการโต้แย้งคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ศาลฎีกาไม่วินิจฉัยให้ ตามสัญญาเช่าระบุว่า ผู้เช่าสัญญาจะเป็นผู้ดำเนินการให้ผู้ครอบครองผู้บุกรุก หรือบุคคลอื่นออกจากสถานที่เช่าและสิ่งปลูกสร้างในสถานที่เช่าจนสามารถครอบครองสถานที่เช่าได้ทั้งหมด โดยผู้ให้เช่าเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ตามที่ผู้เช่าจ่ายจริงภายในวงเงินไม่เกินสิบล้านบาทนั้น สัญญาได้ระบุไว้ชัดเจนว่าผู้เช่าคือโจทก์เป็นผู้ดำเนินการโดยผู้ให้เช่าคือโจทก์ร่วมเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายจึงเป็นเรื่องการกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการของโจทก์ มิใช่เป็นสัญญาเพื่อประโยชน์ของบุคคลภายนอกที่ศาลล่างทั้งสองพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ร่วมด้วยนั้น เมื่อปรากฏตามคำร้องเข้าเป็นโจทก์ร่วมว่า โจทก์ร่วมเพียงแต่ขอให้บังคับจำเลยและบริวารขนย้ายทรัพย์สินออกไปจากห้องพิพาทและห้ามเข้าไปเกี่ยวข้องอีกเท่านั้นดังนั้น คำพิพากษาศาลล่างทั้งสองในส่วนนี้จึงเป็นการพิพากษาเกินไปกว่าคำขอ อันเป็นการต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 ศาลฎีกาสมควรแก้ไขเสียให้ถูกต้องเป็นจำเลยไม่ต้องใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ร่วม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 100/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกเลิกสัญญาเช่า, สิทธิการเช่า, และขอบเขตการบังคับคดีความเสียหายจากสัญญาเช่า
ศาลชั้นต้น ฟัง ข้อเท็จจริง ว่า การ เคหะ แห่งชาติ เคย มี หนังสือ บอกเลิก การ เช่า ห้อง พิพาท แก่ จำเลย แล้ว จำเลย ก็ ยอมรับ แต่ ปฏิเสธ ว่า หนังสือ บอกเลิก สัญญาเช่า ไม่มี ผลบังคับ เพราะ ได้ มี บัญชา ของ นายกรัฐมนตรี ขณะ นั้น ให้ ระงับ โครงการ รื้อถอน และ ให้ ผู้เช่า รวมทั้ง จำเลย เช่า อยู่ ต่อไป แต่ จำเลย ไม่มี พยาน มา สืบ ให้ เห็น เป็น ดัง ที่ จำเลย อ้าง เพียง กล่าวอ้าง ลอย ๆ ถือว่า การ บอกเลิก การ เช่า มีผล สมบูรณ์ จำเลย อยู่ ใน ห้อง พิพาท โดย ละเมิด การ ที่ จำเลย อุทธรณ์ ว่า โจทก์ และ โจทก์ร่วม ไม่มี อำนาจฟ้อง ขับไล่ จำเลย เนื่องจาก การ บอกเลิก การ เช่า ห้อง พิพาท ไม่มี ผล ตาม กฎหมาย นั้น เป็น การ โต้เถียง ข้อเท็จจริง ว่า หนังสือ บอกเลิก สัญญา ไม่มี ผลบังคับ เพื่อ นำ ไป สู่ ปัญหาข้อกฎหมาย ที่ จำเลย อุทธรณ์ ว่า จำเลย มีสิทธิ การ เช่า ใน ห้อง พิพาท ดีกว่า โจทก์ ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 543(3) อุทธรณ์ ของ จำเลย จึง เป็น อุทธรณ์ ใน ปัญหาข้อเท็จจริง ฎีกา ของ จำเลย ใน ข้อ ที่ ว่า โจทก์ จะ เรียก สำนักงาน ทรัพย์สิน ส่วน พระมหากษัตริย์ เข้า มา เป็น โจทก์ร่วม ไม่ต้อง ด้วย เหตุ ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57 (3)( ก ) เมื่อ ศาลอุทธรณ์ ได้ วินิจฉัย ว่า กรณี ที่ โจทก์ เรียก สำนักงาน ทรัพย์สิน ส่วน พระมหากษัตริย์ เข้า มา เป็น โจทก์ร่วม ต้องด้วย เหตุ ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3)( ข ) แล้ว ดังนี้ ฎีกา ข้อ นี้ ของ จำเลย จึง ไม่เป็น การ โต้แย้ง คำพิพากษา ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา ไม่ วินิจฉัย ให้ ตาม สัญญาเช่า ระบุ ว่า ผู้เช่า สัญญา จะ เป็น ผู้ดำเนินการ ให้ ผู้ครอบครอง ผู้บุกรุก หรือ บุคคลอื่น ออกจาก สถานที่ เช่า และ สิ่งปลูกสร้าง ใน สถานที่ เช่า จน สามารถ ครอบครอง สถานที่ เช่า ได้ ทั้งหมด โดย ผู้ให้เช่า เป็น ผู้ เสีย ค่าใช้จ่าย ต่าง ๆ ตาม ที่ ผู้เช่า จ่าย จริง ภายใน วงเงิน ไม่เกิน สิบ ล้าน บาท นั้น สัญญา ได้ ระบุ ไว้ ชัดเจน ว่า ผู้เช่า คือ โจทก์ เป็น ผู้ดำเนินการ โดย ผู้ให้เช่า คือ โจทก์ร่วม เป็น ผู้ เสีย ค่าใช้จ่าย จึง เป็น เรื่อง การ กำหนด ค่าใช้จ่าย ใน การ ดำเนินการ ของ โจทก์ มิใช่ เป็น สัญญา เพื่อ ประโยชน์ ของ บุคคลภายนอก ที่ ศาลล่าง ทั้ง สอง พิพากษา ให้ จำเลย ใช้ ค่าเสียหาย แก่ โจทก์ร่วม ด้วย นั้น เมื่อ ปรากฏ ตาม คำร้อง เข้า เป็น โจทก์ร่วม ว่า โจทก์ร่วม เพียงแต่ ขอให้ บังคับ จำเลย และ บริวาร ขนย้าย ทรัพย์สิน ออก ไป จาก ห้อง พิพาท และ ห้ามเข้า ไป เกี่ยวข้อง อีก เท่านั้น ดังนั้น คำพิพากษา ศาลล่าง ทั้ง สอง ใน ส่วน นี้ จึง เป็น การ พิพากษา เกิน ไป กว่า คำขอ อันเป็น การ ต้องห้าม ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 ศาลฎีกา สมควร แก้ไข เสีย ให้ ถูกต้อง เป็น จำเลย ไม่ต้อง ใช้ ค่าเสียหาย แก่ โจทก์ร่วม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5398/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งศาลในคดีเลือกตั้งเทศบาลถือเป็นที่สุด อุทธรณ์ไม่ได้ตามกฎหมาย
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลพ.ศ.2482ตามนัยมาตรา58วรรคแรกเมื่อศาลได้รับคำร้องคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลแล้วให้ดำเนินการพิจารณาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งโดยเร็วโดยให้เจ้าหน้าที่ผู้ดำเนินการเลือกตั้งที่มีส่วนได้เสียมีโอกาสต่อสู้การคัดค้านนั้นเมื่อศาลสั่งอย่างใดให้แจ้งคำสั่งไปยังเทศบาลโดยมิชักช้าคำสั่งศาลนั้นให้เป็นที่สุดดังนั้นเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งยกคำร้องของผู้ร้องคำสั่งของศาลชั้นต้นจึงถือที่สุดและผู้ร้องไม่มีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวต่อไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา223ที่กำหนดในเรื่องการอุทธรณ์ไว้ว่าคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นจะได้บัญญัติว่าให้เป็นที่สุด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5398/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งศาลคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลเป็นที่สุด เมื่อศาลชั้นต้นยกคำร้อง
พ.ร.บ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482 ตามนัยมาตรา 58 วรรคแรก เมื่อศาลได้รับคำร้องคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลแล้ว ให้ดำเนินการพิจารณาตาม ป.วิ.พ. โดยเร็ว โดยให้เจ้าหน้าที่ผู้ดำเนินการเลือกตั้งที่มีส่วนได้เสียมีโอกาสต่อสู้การคัดค้านนั้น เมื่อศาลสั่งอย่างใดให้แจ้งคำสั่งไปยังเทศบาลโดยมิชักช้า คำสั่งศาลนั้นให้เป็นที่สุด ดังนั้นเมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งยกคำร้องของผู้ร้อง คำสั่งของศาลชั้นต้นจึงถึงที่สุด และผู้ร้องไม่มีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวต่อไป ตามบทบัญญัติแห่ง ป.วิ.พ. มาตรา 223 ที่กำหนดในเรื่องการอุทธรณ์ไว้ว่า คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้น ให้ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ เว้นแต่คำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นจะได้บัญญัติว่าให้เป็นที่สุด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4229/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความบังคับคดีและการฟ้องล้มละลาย: สิทธิบังคับคดีสูญสิ้นเมื่อพ้น 10 ปีหลังครบกำหนดชำระหนี้
ศาลชั้นต้นได้ยกขึ้นวินิจฉัยว่า การที่โจทก์ได้ดำเนินการบังคับคดีแก่จำเลยที่ 2 ภายในสิบปีนับแต่วันมีคำพิพากษาตามยอมนับได้ว่ามีผลอย่างเดียวกับการฟ้องคดีเพื่อตั้งหลักฐานสิทธิเรียกร้องและเพื่อให้ชำระหนี้ตามที่เรียกร้องย่อมเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลง ฟ้องโจทก์ไม่ขาดอายุความบังคับคดี โจทก์จึงมีสิทธิบังคับคดีแก่จำเลยที่ 2 อีกได้ แม้ศาลชั้นต้นจะได้พิพากษายกฟ้องโจทก์ โดยฟังว่าโจทก์ไม่นำสืบให้รับฟังได้ว่าจำเลยที่ 2 เป็นหนี้โจทก์เท่าใดแน่นอน ประกอบกับจำเลยที่ 2 มีเงินมาวางศาลประกันการชำระหนี้พอกับจำนวนหนี้ที่โจทก์อ้างว่ายังค้างชำระ คดีจึงยังไม่มีเหตุที่จะให้จำเลยที่ 2 เป็นบุคคลล้มละลายก็ตาม แต่ปัญหาที่ว่าหนี้ที่โจทก์นำมาฟ้องขอให้จำเลยที่ 2 ล้มละลายนั้นเป็นหนี้ที่โจทก์มีสิทธิบังคับคดีได้หรือไม่ ย่อมเป็นประเด็นโดยตรงที่ศาลต้องพิจารณาเอาความจริงในการพิจารณาคดีล้มละลายตามคำฟ้องของโจทก์ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 14 แห่งพ.ร.บ. ล้มละลาย พ.ศ. 2483 ด้วย ดังนั้น ประเด็นที่ว่าโจทก์มีสิทธิที่จะบังคับคดีเอาแก่จำเลยที่ 2 ได้อีกหรือไม่ จึงนับว่าประเด็นสำคัญโดยตรงในคดีหาใช่นอกประเด็นของคดีล้มละลายไม่ และคำวินิจฉัยของศาลชั้นต้นดังกล่าวอาจมีผลผูกพันคู่ความในคดีและกระทบต่อสิทธิของจำเลยที่ 2 ให้ต้องผูกพันตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นนั้น อุทธรณ์ของจำเลยที่ 2 จึงเป็นสาระแก่คดีที่ศาลอุทธรณ์ต้องวินิจฉัยให้แม้จำเลยที่ 2 จะเป็นฝ่ายชนะในผลแห่งคดีก็ตาม
กำหนดเวลาให้บังคับคดีตาม ป.วิ.พ. มาตรา 271 มิใช่เรื่องอายุความแห่งสิทธิเรียกร้องอันจะอยู่ในบังคับแห่งบทบัญญัติว่าด้วยอายุความตาม ป.พ.พ. จึงไม่อาจนำบทบัญญัติเกี่ยวกับอายุความสะดุดหยุดลงมาใช้บังคับแก่คดีนี้ได้
หนี้ตามคำพิพากษาตามยอมจำเลยทั้งสองตกลงจะชำระหนี้ให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ปี นับแต่วันทำสัญญาประนีประนอมยอมความ ซึ่งครบกำหนดเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2526 ซึ่งเป็นวันที่โจทก์อาจบังคับตามคำพิพากษาได้แล้วการที่จำเลยที่ 2 ไม่ชำระหนี้และโจทก์ได้บังคับเอาแก่ทรัพย์สินของจำเลยที่ 2ชำระหนี้บางส่วนแล้วก็ตาม โจทก์ก็ชอบที่จะบังคับคดีเพื่อชำระหนี้ที่เหลือจากจำเลยที่ 2 ภายใน 10 ปี นับแต่วันที่ 19 มกราคม 2526 แต่โจทก์ได้นำหนี้ดังกล่าวมาฟ้อง จำเลยที่ 2 ขอให้ล้มละลายเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2536 ซึ่งพ้นกำหนดสิบปีแล้ว โจทก์จึงหมดสิทธิที่จะบังคับคดีเพื่อหนี้ตามฟ้อง โจทก์ย่อมไม่มีสิทธินำหนี้ตามฟ้องมาเป็นมูลฟ้องขอให้จำเลยที่ 2 ล้มละลายได้
กำหนดเวลาให้บังคับคดีตาม ป.วิ.พ. มาตรา 271 มิใช่เรื่องอายุความแห่งสิทธิเรียกร้องอันจะอยู่ในบังคับแห่งบทบัญญัติว่าด้วยอายุความตาม ป.พ.พ. จึงไม่อาจนำบทบัญญัติเกี่ยวกับอายุความสะดุดหยุดลงมาใช้บังคับแก่คดีนี้ได้
หนี้ตามคำพิพากษาตามยอมจำเลยทั้งสองตกลงจะชำระหนี้ให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ปี นับแต่วันทำสัญญาประนีประนอมยอมความ ซึ่งครบกำหนดเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2526 ซึ่งเป็นวันที่โจทก์อาจบังคับตามคำพิพากษาได้แล้วการที่จำเลยที่ 2 ไม่ชำระหนี้และโจทก์ได้บังคับเอาแก่ทรัพย์สินของจำเลยที่ 2ชำระหนี้บางส่วนแล้วก็ตาม โจทก์ก็ชอบที่จะบังคับคดีเพื่อชำระหนี้ที่เหลือจากจำเลยที่ 2 ภายใน 10 ปี นับแต่วันที่ 19 มกราคม 2526 แต่โจทก์ได้นำหนี้ดังกล่าวมาฟ้อง จำเลยที่ 2 ขอให้ล้มละลายเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2536 ซึ่งพ้นกำหนดสิบปีแล้ว โจทก์จึงหมดสิทธิที่จะบังคับคดีเพื่อหนี้ตามฟ้อง โจทก์ย่อมไม่มีสิทธินำหนี้ตามฟ้องมาเป็นมูลฟ้องขอให้จำเลยที่ 2 ล้มละลายได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4229/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความบังคับคดีล้มละลาย: การบังคับคดีภายใน 10 ปีนับจากคำพิพากษาตามยอม และผลกระทบต่อการฟ้องล้มละลาย
ศาลชั้นต้นได้ยกขึ้นวินิจฉัยว่าการที่โจทก์ได้ดำเนินการบังคับคดีแก่จำเลยที่2ภายในสิบปีนับแต่วันมีคำพิพากษาตามยอมนับได้ว่ามีผลอย่างเดียวกับการฟ้องคดีเพื่อตั้งหลักฐานสิทธิเรียกร้องและเพื่อให้ชำระหนี้ตามที่เรียกร้องย่อมเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลงฟ้องโจทก์ไม่ขาดอายุความบังคับคดีโจทก์จึงมีสิทธิบังคับคดีแก่จำเลยที่2อีกได้แม้ศาลชั้นต้นจะได้พิพากษายกฟ้องโจทก์โดยฟังว่าโจทก์ไม่นำสืบให้รับฟังได้ว่าจำเลยที่2เป็นหนี้โจทก์เท่าใดแน่นอนประกอบกับจำเลยที่2มีเงินมาวางศาลประกันการชำระหนี้พอกับจำนวนหนี้ที่โจทก์อ้างว่ายังค้างชำระคดีจึงยังไม่มีเหตุที่จะให้จำเลยที่2เป็นบุคคลล้มละลายก็ตามแต่ปัญหาที่ว่าหนี้ที่โจทก์นำมาฟ้องขอให้จำเลยที่2ล้มละลายนั้นเป็นหนี้ที่โจทก์มีสิทธิบังคับคดีได้หรือไม่ย่อมเป็นประเด็นโดยตรงที่ศาลต้องพิจารณาเอาความจริงในการพิจารณาคดีล้มละลายตามคำฟ้องของโจทก์ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา14แห่งพระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ.2483ด้วยดังนั้นประเด็นที่ว่าโจทก์มีสิทธิที่จะบังคับคดีเอาแก่จำเลยที่2ได้อีกหรือไม่จึงนับว่าประเด็นสำคัญโดยตรงในคดีหาใช่นอกประเด็นของคดีล้มละลายไม่และคำวินิจฉัยของศาลชั้นต้นดังกล่าวอาจมีผลผูกพันคู่ความในคดีและกระทบต่อสิทธิของจำเลยที่2ให้ต้องผูกพันตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นนั้นอุทธรณ์ของจำเลยที่2จึงเป็นสาระแก่คดีที่ศาลอุทธรณ์ต้องวินิจฉัยให้แม้จำเลยที่2จะเป็นฝ่ายชนะในผลแห่งคดีก็ตาม กำหนดเวลาให้บังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา271มิใช่เรื่องอายุความแห่งสิทธิเรียกร้องอันจะอยู่ในบังคับแห่งบทบัญญัติว่าด้วยอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จึงไม่อาจนำบทบัญญัติเกี่ยวกับอายุความสะดุดหยุดลงมาใช้บังคับแก่คดีนี้ได้ หนี้ตามคำพิพากษาตามยอมจำเลยทั้งสองตกลงจะชำระหนี้ให้เสร็จสิ้นภายใน1ปีนับแต่วันทำสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งครบกำหนดเมื่อวันที่19มกราคม2526ซึ่งเป็นวันที่โจทก์อาจบังคับตามคำพิพากษาได้แล้วการที่จำเลยที่2ไม่ชำระหนี้และโจทก์ได้บังคับเอาแก่ทรัพย์สินของจำเลยที่2ชำระหนี้บางส่วนแล้วก็ตามโจทก์ก็ชอบที่จะบังคับคดีเพื่อชำระหนี้ที่เหลือจากจำเลยที่2ภายใน10ปีนับแต่วันที่19มกราคม2526แต่โจทก์ได้นำหนี้ดังกล่าวมาฟ้องจำเลยที่2ขอให้ล้มละลายเมื่อวันที่20พฤษภาคม2536ซึ่งพ้นกำหนดสิบปีแล้วโจทก์จึงหมดสิทธิที่จะบังคับคดีเพื่อหนี้ตามฟ้องโจทก์ย่อมไม่มีสิทธินำหนี้ตามฟ้องมาเป็นมูลฟ้องขอให้จำเลยที่2ล้มละลายได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1937/2539 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งพิจารณาใหม่หลังพิพากษา: อุทธรณ์ไม่ทันเวลา ไม่อาจฎีกาได้
คำสั่งของศาลชั้นต้นที่ให้พิจารณาใหม่ตาม ป.วิ.พ. มาตรา208 เป็นคำสั่งภายหลังเมื่อศาลชั้นต้นได้พิพากษาคดีแล้ว ไม่เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา แต่เป็นคำสั่งชี้ขาดใด ๆ ซึ่งอยู่ในบังคับของการอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดซึ่งต้องยื่นอุทธรณ์ภายในกำหนด 1 เดือน นับแต่วันที่ศาลชั้นต้นอ่านคำสั่งดังกล่าวให้คู่ความฟังตามมาตรา 223 และ 229 เมื่อโจทก์มิได้อุทธรณ์คำสั่งของศาลชั้นต้นที่อนุญาตให้พิจารณาใหม่ ภายใน 1 เดือน นับแต่วันที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งคำสั่งของศาลชั้นต้นดังกล่าวจึงถึงที่สุดแล้ว โจทก์ไม่มีสิทธิหยิบยกประเด็นดังกล่าวขึ้นอุทธรณ์อีก แม้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยให้ก็ถือไม่ได้ว่าเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลอุทธรณ์โดยชอบ โจทก์จะยกขึ้นฎีกาต่อมาไม่ได้ มาตรา 249 วรรคหนึ่งศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1937/2539
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาใหม่และการอุทธรณ์คำสั่งศาล: คำสั่งพิจารณาใหม่หลังพิพากษาถึงที่สุดแล้วไม่อาจอุทธรณ์ได้
คำสั่งของศาลชั้นต้นที่ให้พิจารณาใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา208เป็นคำสั่งภายหลังเมื่อศาลชั้นต้นได้พิพากษาคดีแล้วไม่เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณาแต่เป็นคำสั่งชี้ขาดใดๆซึ่งอยู่ในบังคับของการอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดซึ่งต้องยื่นอุทธรณ์ภายในกำหนด1เดือนนับแต่วันที่ศาลชั้นต้นอ่านคำสั่งดังกล่าวให้คู่ความฟังตามมาตรา223และ229เมื่อโจทก์มิได้อุทธรณ์คำสั่งของศาลชั้นต้นที่อนุญาตให้พิจารณาใหม่ภายใน1เดือนนับแต่วันที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งคำสั่งของศาลชั้นต้นดังกล่าวจึงถึงที่สุดแล้วโจทก์ไม่มีสิทธิหยิบยกประเด็นดังกล่าวขึ้นอุทธรณ์อีกแม้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยให้ก็ถือไม่ได้ว่าเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลอุทธรณ์โดยชอบโจทก์จะยกขึ้นฎีกาต่อมาไม่ได้มาตรา249วรรคหนึ่งศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1929/2539 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดี, การจัดการงานที่ขัดต่อความประสงค์ของตัวการ, และขอบเขตความรับผิดของผู้จัดการ
อำนาจสั่งจำหน่ายคดีในกรณีทิ้งฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา132นั้นกฎหมายให้อำนาจศาลไว้เพื่อใช้ตามควรแก่กรณีมิใช่เป็นบทบัญญัติบังคับว่าจะต้องจำหน่ายคดีเสมอไปถ้าศาลให้ดุลพินิจไม่สั่งจำหน่ายคดีก็ต้องวินิจฉัยชี้ขาดตัดสินคดีไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา133การที่ศาลอุทธรณ์ภาค1วินิจฉัยคดีไปโดยมิได้สั่งจำหน่ายฟ้องอุทธรณ์ของจำเลยที่1นั้นเป็นการใช้ดุลพินิจตามควรแก่กรณีแล้วและมีอำนาจวินิจฉัยฟ้องอุทธรณ์ของจำเลยที่1ได้ตามกฎหมาย โจทก์บรรยายฟ้องให้รับผิดในลักษณะละเมิดจึงต้องฟ้องภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่โจทก์รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนแม้ไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเมื่อใดแต่โจทก์ได้มอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดฟ้องคดีถือว่าโจทก์ได้รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนตั้งแต่ในวันดังกล่าวเมื่อโจทก์มาฟ้องคดีเมื่อเกินหนึ่งปีนับแต่วันมอบอำนาจฟ้องโจทก์จึงขาดอายุความ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา396เป็นกรณีผู้จัดการได้เข้าจัดการงานอันเป็นการขัดกับความประสงค์อันแท้จริงของตัวการทั้งที่รู้อยู่แล้วว่าตัวการไม่ประสงค์เช่นนั้นการที่จำเลยที่1กระทำไปตามอำนาจหน้าที่ที่เคยปฏิบัติมาและโจทก์เองก็รับรู้และยอมรับข้อปฏิบัติดังกล่าวจึงมิใช่ทำไปโดยขัดกับความประสงค์แท้จริงของโจทก์จำเลยที่3ซึ่งปฏิบัติงานตามที่จำเลยที่1มอบหมายจึงไม่ต้องรับผิดเช่นกัน