พบผลลัพธ์ทั้งหมด 85 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 752-753/2523 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์เงินฝากและการบังคับคดี: เงินที่ฝากธนาคารเป็นของจำเลย แม้ที่มาจะเป็นเงินที่ได้มาจากการกระทำที่อาจไม่ชอบด้วยกฎหมาย
จำเลยเบิกเงินไปจากธนาคารผู้ร้องโดยไม่ได้ความชัดว่าเป็นการเบิกโดยปลอมลายมือชื่อ และดวงตราของผู้สั่งจ่ายในเช็ค และจำเลยได้นำเงินนั้นไปฝากไว้กับธนาคารอื่นเงินตราที่ฝากย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์ของธนาคารผู้รับฝาก เพราะไม่มีข้อตกลงให้ธนาคารส่งคืนเป็นเงินตราอันเดียวกันกับที่รับฝาก
เงิน (จากบัญชีจำเลย) ที่ธนาคารผู้รับฝากส่งไปให้เจ้าพนักงานบังคับคดี (ตามคำสั่งอายัดในคดีที่จำเลยเป็นลูกหนี้โจทก์ตามคำพิพากษา) ไม่จำเป็นต้องเป็นเงินตราอันเดียวกันกับที่จำเลยนำมาฝาก ทั้งไม่มีข้อเท็จจริงใด ๆ แสดงว่าเป็นเงินตราอันเดียวกันกับที่จำเลยเบิกไปจากผู้ร้อง เงินนั้นจึงเป็นเงินของจำเลย ผู้ร้องจะร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ไม่ได้
เงิน (จากบัญชีจำเลย) ที่ธนาคารผู้รับฝากส่งไปให้เจ้าพนักงานบังคับคดี (ตามคำสั่งอายัดในคดีที่จำเลยเป็นลูกหนี้โจทก์ตามคำพิพากษา) ไม่จำเป็นต้องเป็นเงินตราอันเดียวกันกับที่จำเลยนำมาฝาก ทั้งไม่มีข้อเท็จจริงใด ๆ แสดงว่าเป็นเงินตราอันเดียวกันกับที่จำเลยเบิกไปจากผู้ร้อง เงินนั้นจึงเป็นเงินของจำเลย ผู้ร้องจะร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 752-753/2523
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในเงินฝากและการบังคับคดี: เงินที่นำฝากเป็นของเจ้าของ แม้แหล่งที่มาจะมาจากเช็คที่ถูกอ้างว่าปลอม
จำเลยเบิกเงินไปจากธนาคารผู้ร้องโดยไม่ได้ความชัดว่าเป็นการเบิกโดยปลอมลายมือชื่อและดวงตราของผู้สั่งจ่ายในเช็ค และจำเลยได้นำเงินนั้นไปฝากไว้กับธนาคารอื่นเงินตราที่ฝากย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์ของธนาคารผู้รับฝากเพราะไม่มีข้อตกลงให้ธนาคารส่งคืนเป็นเงินตราอันเดียวกันกับที่รับฝาก
เงิน (จากบัญชีจำเลย) ที่ธนาคารผู้รับฝากส่งไปให้เจ้าพนักงานบังคับคดี(ตามคำสั่งอายัดในคดีที่จำเลยเป็นลูกหนี้โจทก์ตามคำพิพากษา) ไม่จำเป็นต้องเป็นเงินตราอันเดียวกันกับที่จำเลยนำมาฝาก ทั้งไม่มีข้อเท็จจริงใด ๆ แสดงว่าเป็นเงินตราอันเดียวกันกับที่จำเลยเบิกไปจากผู้ร้องเงินนั้นจึงเป็นเงินของจำเลย ผู้ร้องจะร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ไม่ได้
เงิน (จากบัญชีจำเลย) ที่ธนาคารผู้รับฝากส่งไปให้เจ้าพนักงานบังคับคดี(ตามคำสั่งอายัดในคดีที่จำเลยเป็นลูกหนี้โจทก์ตามคำพิพากษา) ไม่จำเป็นต้องเป็นเงินตราอันเดียวกันกับที่จำเลยนำมาฝาก ทั้งไม่มีข้อเท็จจริงใด ๆ แสดงว่าเป็นเงินตราอันเดียวกันกับที่จำเลยเบิกไปจากผู้ร้องเงินนั้นจึงเป็นเงินของจำเลย ผู้ร้องจะร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 18/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับเงินและหน้าที่คืนเงิน แม้รายละเอียดการส่งมอบจะต่างกันเล็กน้อย ศาลยังคงบังคับคดีได้หากพิสูจน์ได้ว่าจำเลยได้รับเงินจริง
การที่โจทก์บรรยายฟ้องว่าได้ฝากเงินจำเลยไว้ แต่นำสืบว่าโจทก์ได้ฝากเงินให้จำเลยไปฝากธนาคารนั้น เป็นเรื่องการแตกต่างกันเล็กๆน้อยๆ เท่านั้น ข้อใหญ่ใจความของคดีคงอยู่ที่ว่า โจทก์ได้อ้างว่าเงินของโจทก์อยู่ที่จำเลย และขอให้จำเลยส่งคืนซึ่งข้อนี้จำเลยได้ให้การต่อสู้ว่าจำเลยไม่เคยได้รับฝากเงินจากโจทก์ไว้เลยในวันที่โจทก์อ้างตามฟ้องนั้น จำเลยก็ไม่ได้รับเงินไว้จากโจทก์ ฉะนั้น หากทางพิจารณาคดีฟังได้ว่าจำเลยได้รับเงินของโจทก์ไว้ ศาลก็ชอบที่จะบังคับตามคำขอท้ายฟ้องให้จำเลยคืนเงินให้แก่โจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 235/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฝากเงินแล้วนำไปใช้โดยไม่มีเจตนาทุจริต ถือเป็นผิดสัญญา ไม่ใช่ยักยอก
ผู้เสียหายฝากเงินไว้กับจำเลย ต่อมาขอคืน จำเลยคืนให้ไม่ได้อ้างว่าเอาไปใช้หมดแล้ว หลังจากนั้นผู้เสียหายไปทวงอีกหลายครั้ง จำเลยขอผัดผ่อน และไม่เคยปฏิเสธ ว่าไม่ได้รับฝากเงิน จนกระทั่งผู้เสียหายไปแจ้งความ พนักงานสอบสวน เรียกไปสอบถาม จำเลยจึงปฏิเสธว่าไม่เคยรับฝากเงินจากผู้เสียหาย ดังนี้ แสดงว่าขณะที่จำเลยเอาเงินไปใช้หมด. จำเลยไม่มีเจตนาทุจริตยักยอกเงินนั้น จึงเป็นเรื่องผิดสัญญาทางแพ่ง การที่จำเลยปฏิเสธต่อพนักงานสอบสวนในตอนหลัง ไม่ทำให้จำเลยมีความผิดฐานทุจริตยักยอกเงินที่รับฝาก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 235/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฝากเงินและใช้เงินส่วนตัวโดยไม่มีเจตนาทุจริต ถือเป็นผิดสัญญา ไม่ใช่ยักยอกทรัพย์
ผู้เสียหายฝากเงินไว้กับจำเลย ต่อมาขอคืน จำเลยคืนให้ไม่ได้อ้างว่าเอาไปใช้หมดแล้ว หลังจากนั้นผู้เสียหายไปทวงอีกหลายครั้งจำเลยขอผัดผ่อน และไม่เคยปฏิเสธ ว่าไม่ได้รับฝากเงิน จนกระทั่งผู้เสียหายไปแจ้งความ พนักงานสอบสวน เรียกไปสอบถาม จำเลยจึงปฏิเสธว่าไม่เคยรับฝากเงินจากผู้เสียหาย ดังนี้ แสดงว่าขณะที่จำเลยเอาเงินไปใช้หมด. จำเลยไม่มีเจตนาทุจริตยักยอกเงินนั้น จึงเป็นเรื่องผิดสัญญาทางแพ่ง การที่จำเลยปฏิเสธต่อพนักงานสอบสวนในตอนหลัง ไม่ทำให้จำเลยมีความผิดฐานทุจริตยักยอกเงินที่รับฝาก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1124/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฝากเงินกับผู้ประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยไม่ได้รับอนุญาต สิทธิการเรียกร้องเงินฝากของผู้ฝากที่ไม่ร่วมรู้
การประกอบกิจการรับฝากเงินซึ่งต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม โดยให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ฝากเป็นดอกเบี้ย และใช้ประโยชน์เงินฝากนั้นในการให้พ่อค้าและผู้รู้จักชอบพอกู้ยืมโดยเรียกค่านายหน้าค่ารางวัล และดอกเบี้ยจากผู้กู้ยืมมีจำนวนสูงกว่าดอกเบี้ยที่จะจ่ายแก่ผู้ฝาก หากกระทำเป็นปกติธุระย่อมเป็นการประกอบการธนาคารพาณิชย์ ซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
การใดอันมีวัตถุที่ประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายซึ่งตกเป็นโมฆะกรรมนั้น ในสัญญาซึ่งเป็นนิติกรรมทำโดยบุคคลสองฝ่าย ประโยชน์อันเป็นผลสุดท้ายที่ทั้งสองฝ่ายต้องการ คู่กรณีทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมรู้กัน จึงจะเป็นวัตถุที่ประสงค์ของนิติกรรมสัญญานั้น ถ้าคู่สัญญาแต่ฝ่ายเดียวรู้ถึงการกระทำของตนว่าเป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย โดยอีกฝ่ายมิได้ร่วมรู้ด้วย จะถือว่านิติกรรมสัญญานั้นมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมายหาได้ไม่
แม้ผู้รับฝากเงินจะประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยมิได้รับอนุญาต แต่ผู้ฝากมิได้ร่วมรู้ในการกระทำของผู้รับฝากซึ่งมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย ดังนี้ นิติกรรมรับฝากเงินระหว่างผู้ฝากกับผู้รับฝากย่อมไม่เป็นโมฆะ ผู้ฝากมีสิทธิเรียกเงินฝากคืนจากผู้รับฝากได้
คดีล้มละลายที่ได้ยื่นฟ้องก่อนวันที่พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2511 ใช้บังคับ และยังค้างพิจารณาอยู่ในศาลหรืออยู่ในระหว่างปฏิบัติการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ แม้จะมีการอุทธรณ์ฎีกา คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลหลังจากใช้บังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้แล้ว ค่าธรรมเนียมในการอุทธรณ์ฎีกาก็ยังคงเสียตามอัตราเดิมที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
การใดอันมีวัตถุที่ประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายซึ่งตกเป็นโมฆะกรรมนั้น ในสัญญาซึ่งเป็นนิติกรรมทำโดยบุคคลสองฝ่าย ประโยชน์อันเป็นผลสุดท้ายที่ทั้งสองฝ่ายต้องการ คู่กรณีทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมรู้กัน จึงจะเป็นวัตถุที่ประสงค์ของนิติกรรมสัญญานั้น ถ้าคู่สัญญาแต่ฝ่ายเดียวรู้ถึงการกระทำของตนว่าเป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย โดยอีกฝ่ายมิได้ร่วมรู้ด้วย จะถือว่านิติกรรมสัญญานั้นมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมายหาได้ไม่
แม้ผู้รับฝากเงินจะประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยมิได้รับอนุญาต แต่ผู้ฝากมิได้ร่วมรู้ในการกระทำของผู้รับฝากซึ่งมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย ดังนี้ นิติกรรมรับฝากเงินระหว่างผู้ฝากกับผู้รับฝากย่อมไม่เป็นโมฆะ ผู้ฝากมีสิทธิเรียกเงินฝากคืนจากผู้รับฝากได้
คดีล้มละลายที่ได้ยื่นฟ้องก่อนวันที่พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2511 ใช้บังคับ และยังค้างพิจารณาอยู่ในศาลหรืออยู่ในระหว่างปฏิบัติการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ แม้จะมีการอุทธรณ์ฎีกา คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลหลังจากใช้บังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้แล้ว ค่าธรรมเนียมในการอุทธรณ์ฎีกาก็ยังคงเสียตามอัตราเดิมที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1124/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฝากเงินประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยไม่ได้รับอนุญาตและผลกระทบต่อสิทธิผู้ฝาก เงินฝากไม่เป็นโมฆะหากผู้ฝากไม่รู้
การประกอบกิจการรับฝากเงินซึ่งต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม โดยให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ฝากเป็นดอกเบี้ย และใช้ประโยชน์เงินฝากนั้นในการให้พ่อค้าและผู้รู้จักชอบพอกู้ยืมโดยเรียกค่านายหน้าค่ารางวัล และดอกเบี้ยจากผู้กู้ยืมมีจำนวนสูงกว่าดอกเบี้ยที่จะจ่ายแก่ผู้ฝาก หากกระทำเป็นปกติธุระย่อมเป็นการประกอบการธนาคารพาณิชย์ซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
การใดอันมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายซึ่งตกเป็นโมฆะกรรมนั้น ในสัญญาซึ่งเป็นนิติกรรมทำโดยบุคคลสองฝ่าย ประโยชน์อันเป็นผลสุดท้ายที่ทั้งสองฝ่ายต้องการคู่กรณีทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมรู้กัน จึงจะเป็นวัตถุที่ประสงค์ของนิติกรรมสัญญานั้นถ้าคู่สัญญาแต่ฝ่ายเดียวรู้ถึงการกระทำของตนว่าเป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย โดยอีกฝ่ายมิได้ร่วมรู้ด้วย จะถือว่านิติกรรมสัญญานั้นมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมายหาได้ไม่
แม้ผู้รับฝากเงินจะประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยมิได้รับอนุญาตแต่ผู้ฝากมิได้ร่วมรู้ ในการกระทำของผู้รับฝากซึ่งมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย ดังนี้นิติกรรมรับฝากเงินระหว่างผู้ฝากกับผู้รับฝากย่อมไม่เป็นโมฆะ ผู้ฝากมีสิทธิเรียกเงินฝากคืนจากผู้รับฝากได้
คดีล้มละลายที่ได้ยื่นฟ้องก่อนวันที่พระราชบัญญัติล้มละลาย(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 ใช้บังคับ และยังค้างพิจารณาอยู่ในศาลหรืออยู่ในระหว่างปฏิบัติการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ แม้จะมีการอุทธรณ์ฎีกา คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลหลังจากใช้บังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้แล้ว ค่าธรรมเนียมในการอุทธรณ์ฎีกาก็ยังคงเสียตามอัตราเดิมที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483
การใดอันมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายซึ่งตกเป็นโมฆะกรรมนั้น ในสัญญาซึ่งเป็นนิติกรรมทำโดยบุคคลสองฝ่าย ประโยชน์อันเป็นผลสุดท้ายที่ทั้งสองฝ่ายต้องการคู่กรณีทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมรู้กัน จึงจะเป็นวัตถุที่ประสงค์ของนิติกรรมสัญญานั้นถ้าคู่สัญญาแต่ฝ่ายเดียวรู้ถึงการกระทำของตนว่าเป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย โดยอีกฝ่ายมิได้ร่วมรู้ด้วย จะถือว่านิติกรรมสัญญานั้นมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมายหาได้ไม่
แม้ผู้รับฝากเงินจะประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยมิได้รับอนุญาตแต่ผู้ฝากมิได้ร่วมรู้ ในการกระทำของผู้รับฝากซึ่งมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย ดังนี้นิติกรรมรับฝากเงินระหว่างผู้ฝากกับผู้รับฝากย่อมไม่เป็นโมฆะ ผู้ฝากมีสิทธิเรียกเงินฝากคืนจากผู้รับฝากได้
คดีล้มละลายที่ได้ยื่นฟ้องก่อนวันที่พระราชบัญญัติล้มละลาย(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 ใช้บังคับ และยังค้างพิจารณาอยู่ในศาลหรืออยู่ในระหว่างปฏิบัติการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ แม้จะมีการอุทธรณ์ฎีกา คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลหลังจากใช้บังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้แล้ว ค่าธรรมเนียมในการอุทธรณ์ฎีกาก็ยังคงเสียตามอัตราเดิมที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1124/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฝากเงินเพื่อลงทุนโดยผิดกฎหมายธนาคารพาณิชย์ สัญญาไม่เป็นโมฆะหากผู้ฝากไม่รู้เห็น
การประกอบกิจการรับฝากเงินซึ่งต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม โดยให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ฝากเป็นดอกเบี้ย. และใช้ประโยชน์เงินฝากนั้นในการให้พ่อค้าและผู้รู้จักชอบพอกู้ยืมโดยเรียกค่านายหน้าค่ารางวัล และดอกเบี้ยจากผู้กู้ยืมมีจำนวนสูงกว่าดอกเบี้ยที่จะจ่ายแก่ผู้ฝาก. หากกระทำเป็นปกติธุระย่อมเป็นการประกอบการธนาคารพาณิชย์ซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตตามกฎหมาย.
การใดอันมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายซึ่งตกเป็นโมฆะกรรมนั้น ในสัญญาซึ่งเป็นนิติกรรมทำโดยบุคคลสองฝ่าย. ประโยชน์อันเป็นผลสุดท้ายที่ทั้งสองฝ่ายต้องการคู่กรณีทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมรู้กัน จึงจะเป็นวัตถุที่ประสงค์ของนิติกรรมสัญญานั้น.ถ้าคู่สัญญาแต่ฝ่ายเดียวรู้ถึงการกระทำของตนว่าเป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย. โดยอีกฝ่ายมิได้ร่วมรู้ด้วย. จะถือว่านิติกรรมสัญญานั้นมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมายหาได้ไม่.
แม้ผู้รับฝากเงินจะประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยมิได้รับอนุญาต. แต่ผู้ฝากมิได้ร่วมรู้.ในการกระทำของผู้รับฝากซึ่งมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย. ดังนี้นิติกรรมรับฝากเงินระหว่างผู้ฝากกับผู้รับฝากย่อมไม่เป็นโมฆะ. ผู้ฝากมีสิทธิเรียกเงินฝากคืนจากผู้รับฝากได้.
คดีล้มละลายที่ได้ยื่นฟ้องก่อนวันที่พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 ใช้บังคับ. และยังค้างพิจารณาอยู่ในศาลหรืออยู่ในระหว่างปฏิบัติการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์. แม้จะมีการอุทธรณ์ฎีกา คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลหลังจากใช้บังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้แล้ว. ค่าธรรมเนียมในการอุทธรณ์ฎีกาก็ยังคงเสียตามอัตราเดิมที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483.
การใดอันมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายซึ่งตกเป็นโมฆะกรรมนั้น ในสัญญาซึ่งเป็นนิติกรรมทำโดยบุคคลสองฝ่าย. ประโยชน์อันเป็นผลสุดท้ายที่ทั้งสองฝ่ายต้องการคู่กรณีทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมรู้กัน จึงจะเป็นวัตถุที่ประสงค์ของนิติกรรมสัญญานั้น.ถ้าคู่สัญญาแต่ฝ่ายเดียวรู้ถึงการกระทำของตนว่าเป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย. โดยอีกฝ่ายมิได้ร่วมรู้ด้วย. จะถือว่านิติกรรมสัญญานั้นมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมายหาได้ไม่.
แม้ผู้รับฝากเงินจะประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยมิได้รับอนุญาต. แต่ผู้ฝากมิได้ร่วมรู้.ในการกระทำของผู้รับฝากซึ่งมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย. ดังนี้นิติกรรมรับฝากเงินระหว่างผู้ฝากกับผู้รับฝากย่อมไม่เป็นโมฆะ. ผู้ฝากมีสิทธิเรียกเงินฝากคืนจากผู้รับฝากได้.
คดีล้มละลายที่ได้ยื่นฟ้องก่อนวันที่พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 ใช้บังคับ. และยังค้างพิจารณาอยู่ในศาลหรืออยู่ในระหว่างปฏิบัติการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์. แม้จะมีการอุทธรณ์ฎีกา คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลหลังจากใช้บังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้แล้ว. ค่าธรรมเนียมในการอุทธรณ์ฎีกาก็ยังคงเสียตามอัตราเดิมที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1866/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับเงินไปซื้อของแทนผู้อื่น หากนำไปใช้ส่วนตัว ถือเป็นการยักยอก
การที่จำเลยรับมอบเงินจากผู้เสียหายเพื่อซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายเช่นนี้ แม้จะไม่มีกำหนดเวลาว่าจำเลยจะต้องซื้อเมื่อใด ก็ไม่มีลักษณะเป็นการฝากทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 657 และ 672 เพราะไม่ใช่เป็นการมอบเงินให้เก็บรักษาไว้ในอารักขาของจำเลยแล้วจำเลยจะคืนให้ จริงอยู่จำเลยอาจนำธนบัตรฉบับอื่นหรือเหรียญกษาปณ์อันอื่นไปซื้อได้ แต่นั่นเป็นเพราะธนบัตรและเหรียญกษาปณ์เป็นเงินตราที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายด้วยกันตามพระราชบัญญัติเงินตราฯ จะนำธนบัตรฉบับไหนไปซื้อ ก็สมประโยชน์ของผู้เสียหาย และย่อมไม่ใช่การกระทำโดยทุจริตด้วยเหตุนี้เงินจำนวน 15,000 บาท ที่ผู้เสียหายมอบให้จำเลยครอบครอง จึงยังเป็นของผู้เสียหายอยู่จนกว่าจำเลยจะได้ซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายแล้ว อีกประการหนึ่งการที่จำเลยไม่นำเงินของผู้เสียหายที่ตนครอบครองอยู่ไปซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกตามที่ได้รับมอบหมาย บางกรณีอาจเป็นเพียงผิดสัญญาในทางแพ่งได้ก็จริง แต่ทั้งนี้ต้องไม่ใช่เป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริต หากเป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริตแล้ว ย่อมเป็นความผิดฐานยักยอก โดยเฉพาะคดีนี้ข้อเท็จจริงฟังได้ดังกล่าวข้างต้นว่าจำเลยมีเจตนาทุจริตเบียดบังยักยอกเงินจำนวนนี้ไว้เป็นประโยชน์ของจำเลยเอง จำเลยจึงต้องมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1866/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับเงินเพื่อซื้อของแทน ยักยอกทรัพย์เจตนาทุจริต ความผิดฐานยักยอก
การที่จำเลยรับมอบเงินจากผู้เสียหายเพื่อซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายเช่นนี้ แม้จะไม่มีกำหนดเวลาว่าจำเลยจะต้องซื้อเมื่อใด ก็ไม่มีลักษณะเป็นการฝากทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 657 และ 672 เพราะไม่ใช่เป็นการมอบเงินให้เก็บรักษาไว้ในอารักขาของจำเลยแล้วจำเลยจะคืนให้ จริงอยู่จำเลยอาจนำธนบัตรฉบับอื่นหรือเหรียญกษาปณ์อันอื่นไปซื้อได้ แต่นั่นเป็นเพราะธนบัตรและเหรียญกษาปณ์เป็นเงินตราที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายด้วยกันตามพระราชบัญญัติเงินตราฯ จะนำธนบัตรฉบับไหนไปซื้อ ก็สมประโยชน์ของผู้เสียหาย และย่อมไม่ใช่การกระทำโดยทุจริตด้วยเหตุนี้เงินจำนวน 15,000 บาท ที่ผู้เสียหายมอบให้จำเลยครอบครอง จึงยังเป็นของผู้เสียหายอยู่จนกว่าจำเลยจะได้ซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายแล้ว อีกประการหนึ่งการที่จำเลยไม่นำเงินของผู้เสียหายที่ตนครอบครองอยู่ไปซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกตามที่ได้รับมอบหมาย บางกรณีอาจเป็นเพียงผิดสัญญาในทางแพ่งได้ก็จริง แต่ทั้งนี้ต้องไม่ใช่เป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริต หากเป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริตแล้ว ย่อมเป็นความผิดฐานยักยอก โดยเฉพาะคดีนี้ข้อเท็จจริงฟังได้ดังกล่าวข้างต้นว่าจำเลยมีเจตนาทุจริตเบียดบังยักยอกเงินจำนวนนี้ไว้เป็นประโยชน์ของจำเลยเอง จำเลยจึงต้องมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352