พบผลลัพธ์ทั้งหมด 163 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 710/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องแทนทายาทและการห้ามฟ้องซ้ำในคดีจัดการมรดก
การที่ทายาทคนหนึ่งฟ้องผู้จัดการมรดกเกี่ยวกับการจัดการมรดก ถือว่าเป็นการฟ้องแทนทายาทคนอื่น ๆ ด้วย
ทายาทคนหนึ่งฟ้องผู้จัดการมรดกคนก่อนว่าจัดการมรดกไปด้วยความทุจริต ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ทำให้ทายาทกองมรดกนั้นเสียหาย ศาลวินิจฉัยว่า โจทก์นำสืบไม่ได้ว่าผู้จัดการมรดกคนเก่านั้นได้กระทำไปด้วยความไม่สุจริตและประมาทเลินเล่อ การที่ผู้จัดการมรดกได้กระทำไปจึงผูกพันกองมรดก คดีถึงที่สุด ต่อมาผู้จัดการมรดกคนใหม่ซึ่งเข้ามาจัดการมรดกแทนผู้จัดการมรดกคนเก่าที่ถูกศาลพิพากษาเพิกถอน ได้ฟ้องผู้จัดการมรดกคนเก่าในทำนองเดียวกันกับที่ทายาทได้ฟ้องในคดีก่อน และคดีถึงที่สุดแล้วนั้น ถือว่าเป็นการรื้อฟื้นคดีขึ้นมาฟ้องแทนทายาทอีกเป็นการใช้สิทธิของทายาทซึ่งเป็นตัวการที่ได้ฟ้องไปแล้วนั่นเอง จึงเป็นการฟ้องซ้ำ.
ทายาทคนหนึ่งฟ้องผู้จัดการมรดกคนก่อนว่าจัดการมรดกไปด้วยความทุจริต ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ทำให้ทายาทกองมรดกนั้นเสียหาย ศาลวินิจฉัยว่า โจทก์นำสืบไม่ได้ว่าผู้จัดการมรดกคนเก่านั้นได้กระทำไปด้วยความไม่สุจริตและประมาทเลินเล่อ การที่ผู้จัดการมรดกได้กระทำไปจึงผูกพันกองมรดก คดีถึงที่สุด ต่อมาผู้จัดการมรดกคนใหม่ซึ่งเข้ามาจัดการมรดกแทนผู้จัดการมรดกคนเก่าที่ถูกศาลพิพากษาเพิกถอน ได้ฟ้องผู้จัดการมรดกคนเก่าในทำนองเดียวกันกับที่ทายาทได้ฟ้องในคดีก่อน และคดีถึงที่สุดแล้วนั้น ถือว่าเป็นการรื้อฟื้นคดีขึ้นมาฟ้องแทนทายาทอีกเป็นการใช้สิทธิของทายาทซึ่งเป็นตัวการที่ได้ฟ้องไปแล้วนั่นเอง จึงเป็นการฟ้องซ้ำ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 710/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องซ้ำในฐานะผู้จัดการมรดก: สิทธิของทายาทและการผูกพันของคำพิพากษา
การที่ทายาทคนหนึ่งฟ้องผู้จัดการมรดกเกี่ยวกับการจัดการมรดก ถือว่าเป็นการฟ้องแทนทายาทคนอื่นๆ ด้วย
ทายาทคนหนึ่งฟ้องผู้จัดการมรดกคนก่อนว่า จัดการมรดกไปด้วยความทุจริตประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ทำให้ทายาทกองมรดกนั้นเสียหาย ศาลวินิจฉัยว่าโจทก์นำสืบไม่ได้ว่าผู้จัดการมรดกคนเก่านั้นได้กระทำไปด้วยความไม่สุจริตและประมาทเลินเล่อการที่ผู้จัดการมรดกได้กระทำไปจึงผูกพันกองมรดกคดีถึงที่สุด ต่อมาผู้จัดการมรดกคนใหม่ซึ่งเข้ามาจัดการมรดกแทนผู้จัดการมรดกคนเก่าที่ถูกศาลพิพากษาเพิกถอนได้ฟ้องผู้จัดการมรดกคนเก่าในทำนองเดียวกันกับที่ทายาทได้ฟ้องในคดีก่อน และคดีถึงที่สุดแล้วนั้นถือว่าเป็นการรื้อฟื้นคดีขึ้นมาฟ้องแทนทายาทอีก เป็นการใช้สิทธิของทายาทซึ่งเป็นตัวการที่ได้ฟ้องไปแล้วนั่นเอง จึงเป็นฟ้องซ้ำ
ทายาทคนหนึ่งฟ้องผู้จัดการมรดกคนก่อนว่า จัดการมรดกไปด้วยความทุจริตประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ทำให้ทายาทกองมรดกนั้นเสียหาย ศาลวินิจฉัยว่าโจทก์นำสืบไม่ได้ว่าผู้จัดการมรดกคนเก่านั้นได้กระทำไปด้วยความไม่สุจริตและประมาทเลินเล่อการที่ผู้จัดการมรดกได้กระทำไปจึงผูกพันกองมรดกคดีถึงที่สุด ต่อมาผู้จัดการมรดกคนใหม่ซึ่งเข้ามาจัดการมรดกแทนผู้จัดการมรดกคนเก่าที่ถูกศาลพิพากษาเพิกถอนได้ฟ้องผู้จัดการมรดกคนเก่าในทำนองเดียวกันกับที่ทายาทได้ฟ้องในคดีก่อน และคดีถึงที่สุดแล้วนั้นถือว่าเป็นการรื้อฟื้นคดีขึ้นมาฟ้องแทนทายาทอีก เป็นการใช้สิทธิของทายาทซึ่งเป็นตัวการที่ได้ฟ้องไปแล้วนั่นเอง จึงเป็นฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 161/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของเจ้าของรวม และการพิสูจน์ลักษณะการเช่าเพื่อใช้สิทธิคุ้มครอง
เจ้าของรวมแต่ผู้เดียวย่อมมีอำนาจฟ้องเกี่ยวกับทรัพย์ซึ่งตนมีกรรมสิทธิ์ร่วมกับผู้อื่นได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1359 โดยไม่ต้องรับมอบอำนาจจากเจ้าของรวมคนอื่น ๆ
เมื่อจำเลยอ้างสิทธิว่าที่พิพาทจำเลยปลูกสร้างเคหะใช้เป็นที่อยู่อาศัย ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย ก็ต้องวินิจฉัยตามสภาพที่เป็นจริงแห่งการเช่าว่าเป็นการเช่าเพื่ออยู่อาศัยหรือเพื่อประกอบการค้า ซึ่งคู่ความอาจนำสืบพยานบุคคลได้ ไม่เป็นการสืบเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงหนังสือสัญญาเช่า อันต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 94 เพราะการเช่าที่มีการอ้างถึงความคุ้มครองเช่นนี้ย่อมฟ้องร้องกันได้ โดยไม่ต้องอาศัยหลักฐานเป็นหนังสือ.
เมื่อจำเลยอ้างสิทธิว่าที่พิพาทจำเลยปลูกสร้างเคหะใช้เป็นที่อยู่อาศัย ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย ก็ต้องวินิจฉัยตามสภาพที่เป็นจริงแห่งการเช่าว่าเป็นการเช่าเพื่ออยู่อาศัยหรือเพื่อประกอบการค้า ซึ่งคู่ความอาจนำสืบพยานบุคคลได้ ไม่เป็นการสืบเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงหนังสือสัญญาเช่า อันต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 94 เพราะการเช่าที่มีการอ้างถึงความคุ้มครองเช่นนี้ย่อมฟ้องร้องกันได้ โดยไม่ต้องอาศัยหลักฐานเป็นหนังสือ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 161/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของเจ้าของรวม, การเช่าเพื่อประกอบการค้า vs. อยู่อาศัย, และการบอกเลิกสัญญาเช่า
เจ้าของรวมแต่ผู้เดียวย่อมมีอำนาจฟ้องเกี่ยวกับทรัพย์ซึ่งตนมีกรรมสิทธิ์ร่วมกับผู้อื่นได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1359 โดยไม่ต้องรับมอบอำนาจจากเจ้าของรวมคนอื่นๆ
เมื่อจำเลยอ้างสิทธิว่าที่พิพาทจำเลยปลูกสร้างเคหะใช้เป็นที่อยู่อาศัย ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายก็ต้องวินิจฉัยตามสภาพที่เป็นจริงแห่งการเช่าว่าเป็นการเช่าเพื่ออยู่อาศัยหรือเพื่อประกอบการค้า ซึ่งคู่ความอาจนำสืบพยานบุคคลได้ ไม่เป็นการสืบเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงหนังสือสัญญาเช่า อันต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 เพราะการเช่าที่มีการอ้างถึงความคุ้มครองเช่นนี้ย่อมฟ้องร้องกันได้ โดยไม่ต้องอาศัยหลักฐานเป็นหนังสือ
เมื่อจำเลยอ้างสิทธิว่าที่พิพาทจำเลยปลูกสร้างเคหะใช้เป็นที่อยู่อาศัย ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายก็ต้องวินิจฉัยตามสภาพที่เป็นจริงแห่งการเช่าว่าเป็นการเช่าเพื่ออยู่อาศัยหรือเพื่อประกอบการค้า ซึ่งคู่ความอาจนำสืบพยานบุคคลได้ ไม่เป็นการสืบเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงหนังสือสัญญาเช่า อันต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 เพราะการเช่าที่มีการอ้างถึงความคุ้มครองเช่นนี้ย่อมฟ้องร้องกันได้ โดยไม่ต้องอาศัยหลักฐานเป็นหนังสือ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 298/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกที่ดิน เจ้าของรวม และผลผูกพันของคำพิพากษา
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยบุกรุก ขอให้ขับไล่และใช้ค่าเสียหาย ประเด็นบุกรุกเป็นข้ออ้างของโจทก์ที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาและคำขอบังคับ เมื่อประเด็นข้อนี้ฟังเป็นยุติว่า จำเลยไม่ได้บุกรุก ข้อหาและคำขอบังคับอันมีค่าเสียหายและที่พิพาทเป็นของผู้ใดย่อมตกไปในตัว ศาลไม่จำต้องวินิจฉัย
เจ้าของรวมคนหนึ่งอาจใช้สิทธิครอบไปถึงทรัพย์สินทั้งหมดเพื่อต่อสู้บุคคลภายนอกได้ ฉะนั้น ผลแห่งคดีที่แม้เจ้าของรวมเพียงคนเดียวเป็นโจทก์ฟ้อง ก็ย่อมต้องผูกพันถึงเจ้าของรวมคนอื่น ๆ ด้วย เหตุนี้ ถ้าเจ้าของรวมคนอื่นมาฟ้องใหม่อีก จึงเป็นฟ้องซ้ำ
เจ้าของรวมคนหนึ่งอาจใช้สิทธิครอบไปถึงทรัพย์สินทั้งหมดเพื่อต่อสู้บุคคลภายนอกได้ ฉะนั้น ผลแห่งคดีที่แม้เจ้าของรวมเพียงคนเดียวเป็นโจทก์ฟ้อง ก็ย่อมต้องผูกพันถึงเจ้าของรวมคนอื่น ๆ ด้วย เหตุนี้ ถ้าเจ้าของรวมคนอื่นมาฟ้องใหม่อีก จึงเป็นฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 298/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องบุกรุกที่ดิน: ผลผูกพันเจ้าของรวม และการฟ้องซ้ำ
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยบุกรุก ขอให้ขับไล่และใช้ค่าเสียหายประเด็นบุกรุกเป็นข้ออ้างของโจทก์ที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาและคำขอบังคับเมื่อประเด็นข้อนี้ฟังเป็นยุติว่าจำเลยไม่ได้บุกรุก ข้อหาและคำขอบังคับอันมีค่าเสียหายและที่พิพาทเป็นของผู้ใดย่อมตกไปในตัว ศาลไม่จำต้องวินิจฉัย
เจ้าของรวมคนหนึ่งอาจใช้สิทธิครอบไปถึงทรัพย์สินทั้งหมดเพื่อต่อสู้บุคคลภายนอกได้ฉะนั้น ผลแห่งคดีที่แม้เจ้าของรวมเพียงคนเดียวเป็นโจทก์ฟ้อง ก็ย่อมต้องผูกพันถึงเจ้าของรวมคนอื่นๆ ด้วย เหตุนี้ถ้าเจ้าของรวมคนอื่นมาฟ้องใหม่อีก จึงเป็นฟ้องซ้ำ
เจ้าของรวมคนหนึ่งอาจใช้สิทธิครอบไปถึงทรัพย์สินทั้งหมดเพื่อต่อสู้บุคคลภายนอกได้ฉะนั้น ผลแห่งคดีที่แม้เจ้าของรวมเพียงคนเดียวเป็นโจทก์ฟ้อง ก็ย่อมต้องผูกพันถึงเจ้าของรวมคนอื่นๆ ด้วย เหตุนี้ถ้าเจ้าของรวมคนอื่นมาฟ้องใหม่อีก จึงเป็นฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 417/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์สิ่งปลูกสร้างบนที่ดินเช่า และสิทธิของเจ้าของรวมในการฟ้องคดี
เช่าที่ดินปลูกตึกโดยมีข้อสัญญาว่าให้ตึกเป็นของเจ้าของที่ดินเมื่อครบกำหนดสัญญาเช่าแล้ว ฉะนั้น เมื่อครบกำหนดการเช่า ตึกย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์ของเจ้าของที่ดินตามสัญญาในฐานะเป็นส่วนควบของที่ดินโดยไม่ต้องการโอนต่อกัน
ทรัพย์ที่มีบุคคลหลายคนเป็นเจ้าของร่วมกันนั้น การที่เจ้าของรวมคนหนึ่งใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาและฟ้องคดีเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้น ย่อมเป็นการใช้สิทธิอันเกิดแต่กรรมสิทธิ์ครอบไปถึงทรัพย์สินทั้งหมด เพื่อต่อสู้บุคคลภายนอกด้วย
ทรัพย์ที่มีบุคคลหลายคนเป็นเจ้าของร่วมกันนั้น การที่เจ้าของรวมคนหนึ่งใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาและฟ้องคดีเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้น ย่อมเป็นการใช้สิทธิอันเกิดแต่กรรมสิทธิ์ครอบไปถึงทรัพย์สินทั้งหมด เพื่อต่อสู้บุคคลภายนอกด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 417/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ตึกหลังครบกำหนดเช่า และสิทธิเจ้าของร่วมในการฟ้องคดี
เช่าที่ดินปลูกตึกโดยมีข้อสัญญาว่าให้ตึกเป็นของเจ้าของที่ดินเมื่อครบกำหนดเช่าแล้วฉะนั้น เมื่อครบกำหนดการเช่า ตึกย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์ของเจ้าของที่ดินตามสัญญาในฐานะเป็นส่วนควบของที่ดินโดยไม่ต้องทำการโอนต่อกัน
ทรัพย์สินซึ่งมีบุคคลหลายคนเป็นเจ้าของร่วมกันนั้นการที่เจ้าของร่วมคนหนึ่งใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาและฟ้องคดีเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้นย่อมเป็นการใช้สิทธิอันเกิดแต่กรรมสิทธิ์ครอบไปถึงทรัพย์สินทั้งหมดเพื่อต่อสู้บุคคลภายนอกด้วย
ทรัพย์สินซึ่งมีบุคคลหลายคนเป็นเจ้าของร่วมกันนั้นการที่เจ้าของร่วมคนหนึ่งใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาและฟ้องคดีเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้นย่อมเป็นการใช้สิทธิอันเกิดแต่กรรมสิทธิ์ครอบไปถึงทรัพย์สินทั้งหมดเพื่อต่อสู้บุคคลภายนอกด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 259/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ร่วมในมรดก การครอบครองแทนกัน และอายุความมรดก
โจทก์อยู่กับมารดาที่เรือนมารดาในที่พิพาท ก่อนมารดาตาย มารดาตายที่พิพาทตกเป็นมรดกของมารดา โจทก์ก็ยังคงอยู่ที่เรือนมารดาอีกหลายเดือนนับแต่มารดาตาย แล้วเรือนมารดาก็ถูกรื้อถวายวัด โจทก์จึงมาอยู่ที่เรือนจำเลยในที่พิพาทอีกหลายเดือน รวมเวลาที่โจทก์อยู่ในที่พิพาทหลังจากมารดาตายได้ราวปีเศษ โจทก์จึงไปอยู่ที่จังหวัดอื่น นับว่าโจทก์ได้ครอบครองที่พิพาทอันเป็นทรัพย์มรดกมากับจำเลยด้วยกันในตอนแรก โจทก์กับจำเลยจึงมีฐานะเป็นเจ้าของทรัพย์มรดกร่วมกันมา การที่จำเลยครอบครองที่พิพาทต่อมาถือได้ว่าครอบครองที่พิพาทไว้แทนในฐานะเจ้าของร่วม แม้โจทก์มาฟ้องขอให้แบ่งมรดกที่พิพาทภายหลังมารดาตายแล้ว 18 ปี คดีก็ไม่ขาดอายุความ
โจทก์ที่ 1 ที่ 2 ฟ้องจำเลยคนเดียว ขอให้แบ่งที่ดินมรดกให้แก่โจทก์ทั้งสองคนคนละ 1 ใน 3 ส่วน แต่ปรากฏว่าคดีสำหรับโจทก์ที่ 1 ขาดอายุความมรดกแล้ว โจทก์ที่ 2 คงมีสิทธิรับมรดกร่วมกับจำเลยเพียง 2 คน ดังนี้ ศาลจะพิพากษาให้โจทก์ได้รับส่วนแบ่งมรดก 1 ใน 2 ส่วนไม่ได้ เพราะเกินคำขอ คงพิพากษาให้โจทก์ได้รับส่วนแบ่งมรดก 1 ใน 3 ส่วน ตามคำขอ
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2505
โจทก์ที่ 1 ที่ 2 ฟ้องจำเลยคนเดียว ขอให้แบ่งที่ดินมรดกให้แก่โจทก์ทั้งสองคนคนละ 1 ใน 3 ส่วน แต่ปรากฏว่าคดีสำหรับโจทก์ที่ 1 ขาดอายุความมรดกแล้ว โจทก์ที่ 2 คงมีสิทธิรับมรดกร่วมกับจำเลยเพียง 2 คน ดังนี้ ศาลจะพิพากษาให้โจทก์ได้รับส่วนแบ่งมรดก 1 ใน 2 ส่วนไม่ได้ เพราะเกินคำขอ คงพิพากษาให้โจทก์ได้รับส่วนแบ่งมรดก 1 ใน 3 ส่วน ตามคำขอ
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2505
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 259/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ร่วมและครอบครองปรปักษ์: การครอบครองทรัพย์มรดกโดยเจ้าของร่วมและการคำนวณอายุความ
โจทก์อยู่กับมารดาที่เรือนมารดาในที่พิพาทก่อนมารดาตายมารดาตายที่พิพาทตกเป็นมรดกของมารดา โจทก์ก็ยังคงอยู่ที่เรือนมารดาอีกหลายเดือนนับแต่มารดาตาย แล้วเรือนมารดาก็ถูกรื้อถวายวัด โจทก์จึงมาอยู่ที่เรือนจำเลยในที่พิพาทอีกหลายเดือน รวมเวลาที่โจทก์อยู่ในที่พิพาทหลังจากมารดาตายได้ราวปีเศษ โจทก์จึงไปอยู่ที่จังหวัดอื่น นับว่าโจทก์ได้ครอบครองที่พิพาทอันเป็นทรัพย์มรดกมากับจำเลยด้วยกันในตอนแรก โจทก์กับจำเลยจึงมีฐานะเป็นเจ้าของทรัพย์มรดกร่วมกันมา การที่จำเลยครอบครองที่พิพาทต่อมาถือได้ว่าครอบครองที่พิพาทไว้แทนในฐานะเป็นเจ้าของร่วม แม้โจทก์มาฟ้องขอให้แบ่งมรดกที่พิพาทภายหลังมารดาตายแล้ว 18 ปี คดีก็ไม่ขาดอายุความ
โจทก์ที่ 1 ที่ 2 ฟ้องจำเลยคนเดียว ขอให้แบ่งที่ดินมรดกให้แก่โจทก์ทั้งสองคนละ 1 ใน 3 ส่วน แต่ปรากฏว่าคดีสำหรับโจทก์ที่ 1 ขาดอายุความมรดกแล้ว โจทก์ที่ 2 คงมีสิทธิรับมรดกร่วมกับจำเลยเพียง 2 คนดังนี้ ศาลจะพิพากษาให้โจทก์ได้รับส่วนแบ่งมรดก 1 ใน 2 ส่วน ไม่ได้เพราะเกินคำขอ คงพิพากษาให้โจทก์ได้รับส่วนแบ่งมรดก 1 ใน 3 ส่วนตามคำขอ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2505)
โจทก์ที่ 1 ที่ 2 ฟ้องจำเลยคนเดียว ขอให้แบ่งที่ดินมรดกให้แก่โจทก์ทั้งสองคนละ 1 ใน 3 ส่วน แต่ปรากฏว่าคดีสำหรับโจทก์ที่ 1 ขาดอายุความมรดกแล้ว โจทก์ที่ 2 คงมีสิทธิรับมรดกร่วมกับจำเลยเพียง 2 คนดังนี้ ศาลจะพิพากษาให้โจทก์ได้รับส่วนแบ่งมรดก 1 ใน 2 ส่วน ไม่ได้เพราะเกินคำขอ คงพิพากษาให้โจทก์ได้รับส่วนแบ่งมรดก 1 ใน 3 ส่วนตามคำขอ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2505)