พบผลลัพธ์ทั้งหมด 182 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 102/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบพินัยกรรมเพิ่มเติมเพื่อพิสูจน์สิทธิในการจัดการมรดก แม้ยื่นคัดค้านไปแล้ว ศาลรับฟังได้หากเป็นประโยชน์ต่อความยุติธรรม
คดีร้องขอตั้งผู้จัดการมรดก ผู้ร้องอ้างว่าผู้ตายทำพินัยกรรมยกทรัพย์ให้ผู้ร้องและบิดาผู้ร้องโดยตัดผู้คัดค้านมิให้รับมรดก ผู้คัดค้านว่าเป็นพินัยกรรมปลอมผู้คัดค้านสมควรเป็นผู้จัดการมรดก ดังนี้ การที่ผู้คัดค้านนำสืบถึงพินัยกรรมอีกฉบับหนึ่งซึ่งระบุยกทรัพย์ของผู้ตายส่วนหนึ่งให้ผู้คัดค้าน ก็เท่ากับเพื่อแสดงว่าผู้คัดค้านมิได้ถูกตัดมิให้รับมรดก และผู้คัดค้านมีสิทธิเป็นผู้จัดการมรดกได้ กรณีเป็นข้อพิพาทในประเด็นที่ว่าผู้ร้องหรือผู้คัดค้านสมควรเป็นผู้จัดการมรดกแม้ผู้คัดค้านรู้ว่ามีพินัยกรรมฉบับนี้ภายหลังยื่นคำคัดค้านแต่เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม จำเป็นจะต้องสืบพยานหลักฐานอันสำคัญซึ่งเกี่ยวกับประเด็นข้อสำคัญในคดี ศาลมีอำนาจรับฟังได้ จึงไม่เป็นการนำสืบนอกประเด็น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 102/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบพินัยกรรมเพิ่มเติมเพื่อพิสูจน์สิทธิในการจัดการมรดก แม้ยื่นคัดค้านไปแล้ว ศาลรับฟังได้หากมีเหตุผล
คดีร้องขอตั้งผู้จัดการมรดก ผู้ร้องอ้างว่าผู้ตายทำพินัยกรรมยกทรัพย์ให้ผู้ร้องและบิดาผู้ร้องโดยตัดผู้คัดค้านมิให้รับมรดก ผู้คัดค้านว่าเป็นพินัยกรรมปลอม ผู้คัดค้านสมควรเป็นผู้จัดการมรดก ดังนี้ การที่ผู้คัดค้านนำสืบถึงพินัยกรรมอีกฉบับหนึ่ง ซึ่งระบุยกทรัพย์ของผู้ตายส่วนหนึ่งให้ผู้คัดค้าน ก็เท่ากับเพื่อแสดงว่าผู้คัดค้านมิได้ถูกตัดมิให้รับมรดก และผู้คัดค้านมีสิทธิเป็นผู้จัดการมรดกได้ กรณีเป็นข้อพิพาทในประเด็นที่ว่า ผู้ร้องหรือผู้คัดค้านสมควรเป็นผู้จัดการมรดก แม้ผู้คัดค้านรู้ว่ามีพินัยกรรมฉบับนี้ภายหลังยื่นคำคัดค้าน แต่เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม จำเป็นจะต้องสืบพยานหลักฐานอันสำคัญซึ่งเกี่ยวกับประเด็นข้อสำคัญในคดี ศาลมีอำนาจรับฟังได้ จึงไม่เป็นการนำสืบนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 64/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การให้สัตยาบันคำให้การและการใช้ดุลพินิจรับพยานนอกกรอบกฎหมายในคดีแรงงาน
แม้ อ. ประธานกรรมการบริษัทจำเลยแต่ผู้เดียวทำหนังสือมอบอำนาจให้ ว. กรรมการบริหารมีอำนาจกระทำการแทนจำเลยอันเป็นการไม่ถูกต้องตามข้อบังคับของบริษัทจำเลยก็ตาม แต่หลังจาก ว. ได้ยื่นคำให้การต่อศาลแล้ว จำเลยก็ทำหนังสือมอบอำนาจใหม่ให้ ฉ.เป็นผู้มีอำนาจดำเนินคดีแทนโดยอ.และว. ลงชื่อถูกต้องตามข้อบังคับของจำเลยเช่นนี้ การที่ ฉ. ดำเนินคดีต่อมาโดยนำสืบพยานไปตามคำให้การที่ ว. ต่อสู้คดีไว้ ถือได้ว่าจำเลยได้ให้สัตยาบันยอมรับคำให้การดังกล่าวจึงมีสิทธินำสืบพยานไปตามคำให้การนั้นได้
ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งเกี่ยวกับบัญชีระบุพยานของจำเลยว่า'รับ 5 อันดับ' แสดงว่าได้ใช้ดุลพินิจสั่งรับบัญชีระบุพยานของจำเลยที่ยื่นฝ่าฝืนต่อกฎหมายเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมแล้ว.(ที่มา-ส่งเสริม)
ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งเกี่ยวกับบัญชีระบุพยานของจำเลยว่า'รับ 5 อันดับ' แสดงว่าได้ใช้ดุลพินิจสั่งรับบัญชีระบุพยานของจำเลยที่ยื่นฝ่าฝืนต่อกฎหมายเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมแล้ว.(ที่มา-ส่งเสริม)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3931/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนมรดกที่ดินพิพาท: สิทธิทายาทลำดับที่ 4 แทนที่ทายาทที่ตายก่อน และการเพิกถอนการโอน
จำเลยยื่นบัญชีพยานจำเลยในวันสืบพยานโจทก์ซึ่งมีหน้าที่นำสืบก่อน บัญชีพยานดังกล่าวอ้างตัวจำเลยทั้งสามซึ่งแม้เป็นกรณีจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ กฎหมายก็ยังให้จำเลยเบิกความเป็นพยานตนเองได้ และปรากฏตามคำร้องของจำเลยว่าเหตุที่ไม่ได้ยื่นบัญชีพยานตามกำหนด เพราะทนายจำเลยติดการประชุมสภาจังหวัด การที่ศาลชั้นต้นอนุญาตให้จำเลยยื่นบัญชีพยาน โดยอาศัยอำนาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 วรรคสามจึงชอบแล้ว
จำเลยยื่นบัญชีพยานเพิ่มเติมภายหลังสืบพยานโจทก์เสร็จแล้วโดยอ้างว่ายังบกพร่องอยู่ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาต โจทก์แถลงคัดค้าน แต่ศาลชั้นต้นเห็นว่าคำสั่งดังกล่าวไม่ชอบ เพิกถอนคำสั่ง แล้วสั่งใหม่ว่าสำเนาให้โจทก์ โจทก์แถลงคัดค้าน เมื่อศาลชั้นต้นสั่งอนุญาตใหม่ โจทก์ไม่ได้คัดค้านคำสั่งนี้ไว้จึงไม่มีสิทธิอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226 ดังนั้นแม้ศาลอุทธรณ์จะรับวินิจฉัยให้ก็เป็นการไม่ชอบ ถือว่าไม่ได้ว่ากล่าวกันมาในชั้นอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์เป็นหลานเจ้ามรดก มีสิทธิรับมรดกแทนที่มารดาโจทก์ เจ้ามรดกมีที่ดิน 3 แปลงได้ยกให้โจทก์ก่อนเจ้ามรดกตาย โจทก์ครอบครอง ตลอดมาเกินกว่า 10 ปีแล้ว จำเลยที่ 1 ที่ 2 โอนที่ดินทั้ง 3 แปลง แก่ จำเลยที่ 3 ขอให้พิพากษาว่าที่ดินทั้ง 3 แปลงเป็นของโจทก์ และเพิกถอนการโอนระหว่างจำเลย เมื่อทางพิจารณาฟังได้ว่าที่ดินทั้ง 3 แปลงเป็นมรดกและเจ้ามรดกมิได้ยกให้โจทก์แต่โจทก์เป็นทายาท มีสิทธิรับมรดกแทนที่มารดาโจทก์ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการโอนที่ดินระหว่างจำเลยเฉพาะส่วนที่โจทก์มีสิทธิรับมรดก และให้โอนที่ดินที่เพิกถอนนั้นแก่โจทก์
จำเลยยื่นบัญชีพยานเพิ่มเติมภายหลังสืบพยานโจทก์เสร็จแล้วโดยอ้างว่ายังบกพร่องอยู่ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาต โจทก์แถลงคัดค้าน แต่ศาลชั้นต้นเห็นว่าคำสั่งดังกล่าวไม่ชอบ เพิกถอนคำสั่ง แล้วสั่งใหม่ว่าสำเนาให้โจทก์ โจทก์แถลงคัดค้าน เมื่อศาลชั้นต้นสั่งอนุญาตใหม่ โจทก์ไม่ได้คัดค้านคำสั่งนี้ไว้จึงไม่มีสิทธิอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226 ดังนั้นแม้ศาลอุทธรณ์จะรับวินิจฉัยให้ก็เป็นการไม่ชอบ ถือว่าไม่ได้ว่ากล่าวกันมาในชั้นอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์เป็นหลานเจ้ามรดก มีสิทธิรับมรดกแทนที่มารดาโจทก์ เจ้ามรดกมีที่ดิน 3 แปลงได้ยกให้โจทก์ก่อนเจ้ามรดกตาย โจทก์ครอบครอง ตลอดมาเกินกว่า 10 ปีแล้ว จำเลยที่ 1 ที่ 2 โอนที่ดินทั้ง 3 แปลง แก่ จำเลยที่ 3 ขอให้พิพากษาว่าที่ดินทั้ง 3 แปลงเป็นของโจทก์ และเพิกถอนการโอนระหว่างจำเลย เมื่อทางพิจารณาฟังได้ว่าที่ดินทั้ง 3 แปลงเป็นมรดกและเจ้ามรดกมิได้ยกให้โจทก์แต่โจทก์เป็นทายาท มีสิทธิรับมรดกแทนที่มารดาโจทก์ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการโอนที่ดินระหว่างจำเลยเฉพาะส่วนที่โจทก์มีสิทธิรับมรดก และให้โอนที่ดินที่เพิกถอนนั้นแก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3931/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดก การเพิกถอนการโอนที่ดิน และการยื่นบัญชีพยานเพิ่มเติมที่ชอบด้วยกฎหมาย
จำเลยยื่นบัญชีพยานจำเลยในวันสืบพยานโจทก์ซึ่งมีหน้าที่นำสืบก่อน บัญชีพยานดังกล่าวอ้างตัวจำเลยทั้งสามซึ่งแม้เป็นกรณีจำเลย ขาดนัดยื่นคำให้การ กฎหมายก็ยังให้จำเลยเบิกความเป็นพยานตนเองได้ และปรากฏตามคำร้องของจำเลยว่าเหตุที่ไม่ได้ยื่นบัญชีพยานตามกำหนด เพราะทนายจำเลยติดการประชุมสภาจังหวัด การที่ศาลชั้นต้นอนุญาต ให้จำเลยยื่นบัญชีพยาน โดยอาศัยอำนาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88วรรคสามจึงชอบแล้ว
จำเลยยื่นบัญชีพยานเพิ่มเติมภายหลังสืบพยานโจทก์เสร็จแล้วโดยอ้างว่ายังบกพร่องอยู่ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาต โจทก์แถลงคัดค้าน แต่ศาลชั้นต้นเห็นว่าคำสั่งดังกล่าวไม่ชอบเพิกถอนคำสั่ง แล้วสั่งใหม่ว่า สำเนาให้โจทก์ โจทก์แถลงคัดค้าน เมื่อศาลชั้นต้นสั่งอนุญาตใหม่ โจทก์ไม่ได้คัดค้านคำสั่งนี้ไว้จึงไม่มีสิทธิอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226 ดังนั้นแม้ศาลอุทธรณ์จะรับวินิจฉัยให้ก็เป็นการไม่ชอบ ถือว่าไม่ได้ว่ากล่าวกันมาในชั้นอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์เป็นหลานเจ้ามรดก มีสิทธิรับมรดกแทนที่มารดาโจทก์ เจ้ามรดกมีที่ดิน 3 แปลงได้ยกให้โจทก์ก่อนเจ้ามรดกตาย โจทก์ครอบครอง ตลอดมาเกินกว่า 10 ปีแล้วจำเลยที่ 1 ที่ 2 โอนที่ดินทั้ง 3 แปลง แก่ จำเลยที่ 3 ขอให้พิพากษาว่าที่ดินทั้ง 3 แปลงเป็นของโจทก์ และเพิกถอนการโอนระหว่างจำเลย เมื่อทางพิจารณาฟังได้ว่าที่ดินทั้ง 3 แปลงเป็นมรดกและเจ้ามรดกมิได้ยกให้โจทก์แต่โจทก์เป็นทายาท มีสิทธิรับมรดกแทนที่มารดาโจทก์ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการโอนที่ดิน ระหว่างจำเลยเฉพาะส่วนที่โจทก์มีสิทธิรับมรดก และให้โอนที่ดิน ที่เพิกถอนนั้นแก่โจทก์
จำเลยยื่นบัญชีพยานเพิ่มเติมภายหลังสืบพยานโจทก์เสร็จแล้วโดยอ้างว่ายังบกพร่องอยู่ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาต โจทก์แถลงคัดค้าน แต่ศาลชั้นต้นเห็นว่าคำสั่งดังกล่าวไม่ชอบเพิกถอนคำสั่ง แล้วสั่งใหม่ว่า สำเนาให้โจทก์ โจทก์แถลงคัดค้าน เมื่อศาลชั้นต้นสั่งอนุญาตใหม่ โจทก์ไม่ได้คัดค้านคำสั่งนี้ไว้จึงไม่มีสิทธิอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226 ดังนั้นแม้ศาลอุทธรณ์จะรับวินิจฉัยให้ก็เป็นการไม่ชอบ ถือว่าไม่ได้ว่ากล่าวกันมาในชั้นอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์เป็นหลานเจ้ามรดก มีสิทธิรับมรดกแทนที่มารดาโจทก์ เจ้ามรดกมีที่ดิน 3 แปลงได้ยกให้โจทก์ก่อนเจ้ามรดกตาย โจทก์ครอบครอง ตลอดมาเกินกว่า 10 ปีแล้วจำเลยที่ 1 ที่ 2 โอนที่ดินทั้ง 3 แปลง แก่ จำเลยที่ 3 ขอให้พิพากษาว่าที่ดินทั้ง 3 แปลงเป็นของโจทก์ และเพิกถอนการโอนระหว่างจำเลย เมื่อทางพิจารณาฟังได้ว่าที่ดินทั้ง 3 แปลงเป็นมรดกและเจ้ามรดกมิได้ยกให้โจทก์แต่โจทก์เป็นทายาท มีสิทธิรับมรดกแทนที่มารดาโจทก์ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการโอนที่ดิน ระหว่างจำเลยเฉพาะส่วนที่โจทก์มีสิทธิรับมรดก และให้โอนที่ดิน ที่เพิกถอนนั้นแก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3931/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดก การเพิกถอนการโอนที่ดิน และประเด็นการยื่นบัญชีพยานเพิ่มเติมที่ชอบด้วยกฎหมาย
จำเลยยื่นบัญชีพยานจำเลยในวันสืบพยานโจทก์ซึ่งมีหน้าที่นำสืบก่อนบัญชีพยานดังกล่าวอ้างตัวจำเลยทั้งสามซึ่งแม้เป็นกรณีจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การกฎหมายก็ยังให้จำเลยเบิกความเป็นพยานตนเองได้และปรากฏตามคำร้องของจำเลยว่าเหตุที่ไม่ได้ยื่นบัญชีพยานตามกำหนดเพราะทนายจำเลยติดการประชุมสภาจังหวัดการที่ศาลชั้นต้นอนุญาตให้จำเลยยื่นบัญชีพยานโดยอาศัยอำนาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา88วรรคสามจึงชอบแล้ว จำเลยยื่นบัญชีพยานเพิ่มเติมภายหลังสืบพยานโจทก์เสร็จแล้วโดยอ้างว่ายังบกพร่องอยู่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญาตโจทก์แถลงคัดค้านแต่ศาลชั้นต้นเห็นว่าคำสั่งดังกล่าวไม่ชอบเพิกถอนคำสั่งแล้วสั่งใหม่ว่าสำเนาให้โจทก์โจทก์แถลงคัดค้านเมื่อศาลชั้นต้นสั่งอนุญาตใหม่โจทก์ไม่ได้คัดค้านคำสั่งนี้ไว้จึงไม่มีสิทธิอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา226ดังนั้นแม้ศาลอุทธรณ์จะรับวินิจฉัยให้ก็เป็นการไม่ชอบถือว่าไม่ได้ว่ากล่าวกันมาในชั้นอุทธรณ์ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย โจทก์ฟ้องว่าโจทก์เป็นหลานเจ้ามรดกมีสิทธิรับมรดกแทนที่มารดาโจทก์เจ้ามรดกมีที่ดิน3แปลงได้ยกให้โจทก์ก่อนเจ้ามรดกตายโจทก์ครอบครองตลอดมาเกินกว่า10ปีแล้วจำเลยที่1ที่2โอนที่ดินทั้ง3แปลงแก่จำเลยที่3ขอให้พิพากษาว่าที่ดินทั้ง3แปลงเป็นของโจทก์และเพิกถอนการโอนระหว่างจำเลยเมื่อทางพิจารณาฟังได้ว่าที่ดินทั้ง3แปลงเป็นมรดกและเจ้ามรดกมิได้ยกให้โจทก์แต่โจทก์เป็นทายาทมีสิทธิรับมรดกแทนที่มารดาโจทก์ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการโอนที่ดินระหว่างจำเลยเฉพาะส่วนที่โจทก์มีสิทธิรับมรดกและให้โอนที่ดินที่เพิกถอนนั้นแก่โจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2356-2357/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้ดุลพินิจศาลแรงงานในการรับบัญชีระบุพยานหลังจำเลยสืบพยานไปแล้ว และการบังคับใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งโดยอนุโลม
การที่อธิบดีผู้พิพากษาศาลแรงงานกลางอาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 29 ออกข้อกำหนดศาลแรงงาน ว่าด้วยการดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลแรงงาน ข้อ 10 นั้น'เป็นกรณีที่ อธิบดีผู้พิพากษาศาลแรงงานออกข้อกำหนดให้ ศาลแรงงานกลางใช้ ดุลพินิจเลือกดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้ตามที่เห็นสมควรเพื่อให้การดำเนินกระบวนพิจารณาบรรลุผลตามเจตนารมณ์ดังกล่าว หาใช่เป็นข้อกำหนดบังคับให้คู่ความถือ ปฏิบัติโดยที่ศาลแรงงานกลาง
มิได้มีคำสั่งไม่ เมื่อศาลแรงงานกลางมิได้มีคำสั่งตามข้อกำหนดดังกล่าว การยื่นบัญชีระบุพยานจำต้องปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งซึ่งนำมาใช้บังคับโดยอนุโลม การที่ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาตให้โจทก์ ยื่นบัญชีระบุพยาน หลังจากจำเลยซึ่งนำสืบก่อนสืบพยานไปบ้างแล้วนั้น เป็นการใช้ดุลพินิจสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 87 (2)
มิได้มีคำสั่งไม่ เมื่อศาลแรงงานกลางมิได้มีคำสั่งตามข้อกำหนดดังกล่าว การยื่นบัญชีระบุพยานจำต้องปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งซึ่งนำมาใช้บังคับโดยอนุโลม การที่ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาตให้โจทก์ ยื่นบัญชีระบุพยาน หลังจากจำเลยซึ่งนำสืบก่อนสืบพยานไปบ้างแล้วนั้น เป็นการใช้ดุลพินิจสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 87 (2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2356-2357/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดุลพินิจศาลแรงงานในการยื่นบัญชีระบุพยาน และการรับฟังพยานหลักฐาน
การที่อธิบดีผู้พิพากษาศาลแรงงานกลางอาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ.2522มาตรา 29ออกข้อกำหนดศาลแรงงาน ว่าด้วยการดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลแรงงาน ข้อ10นั้น'เป็นกรณีที่ อธิบดีผู้พิพากษาศาลแรงงานออกข้อกำหนดให้ ศาลแรงงานกลางใช้ ดุลพินิจเลือกดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้ตามที่เห็นสมควรเพื่อให้การดำเนินกระบวนพิจารณาบรรลุผลตามเจตนารมณ์ดังกล่าวหาใช่เป็นข้อกำหนดบังคับให้คู่ความถือ ปฏิบัติโดยที่ศาลแรงงานกลางมิได้มีคำสั่งไม่ เมื่อ ศาลแรงงานกลางมิได้มีคำสั่งตามข้อกำหนดดังกล่าว การยื่นบัญชีระบุพยานจำต้องปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งซึ่งนำมาใช้บังคับโดยอนุโลม การที่ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาตให้โจทก์ ยื่นบัญชีระบุพยาน หลังจากจำเลยซึ่งนำสืบ ก่อนสืบพยานไปบ้างแล้วนั้น เป็นการใช้ดุลพินิจสั่งตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 87(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2856/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อพิพาทตัวการตัวแทน, อายุความ, การรับฟังพยานหลักฐาน, ความเสียหายจากการไม่ส่งมอบหุ้น
แม้โจทก์จะอ้างพยานหลักฐานฝ่าฝืนต่อ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 90 วรรคแรก แต่จำเลยก็ไม่เสียเปรียบในเชิงคดีทั้ง มาตรา 87 (2) ให้ศาล มีอำนาจรับฟังพยานหลักฐานที่ฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของมาตรา 90 ได้ ในกรณีที่ศาลเห็นว่าเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมจำเป็นจะต้องสืบพยานหลักฐานอันสำคัญซึ่งเกี่ยวกับประเด็นข้อสำคัญในคดี ฉะนั้นศาลจึงมีอำนาจใช้ดุลพินิจรับฟังพยานหลักฐานที่ฝ่าฝืนต่อกฎหมายดังกล่าวได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 798 เป็นบทบังคับเพื่อความสมบูรณ์ของสัญญาที่ตัวแทนทำต่อบุคคลภายนอกเท่านั้น มิได้ใช้บังคับสำหรับข้อพิพาทระหว่างตัวการกับตัวแทน มูลหนี้ตามสัญญาตัวแทนจึงไม่ตกอยู่ในบังคับของบทกฎหมายดังกล่าวเมื่อโจทก์เป็นตัวแทนจำเลยในการขายหุ้นจำเลยซึ่งเป็นตัวการจะต้องรับผิดต่อโจทก์ในการจัดทำกิจการที่จำเลยมอบหมายแม้การตั้งตัวแทนระหว่างจำเลยกับโจทก์จะไม่ได้ทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือก็ตาม
ข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยถูกกำหนดขึ้นเพื่อให้สมาชิกถือปฏิบัติ หากสมาชิกใดฝ่าฝืนก็อาจถูกลงโทษตามข้อบังคับดังกล่าวแต่ไม่ทำให้ความผูกพันระหว่างจำเลยกับโจทก์ในฐานะตัวการกับตัวแทนเสียไป
จำเลยมีหน้าที่ต้องส่งมอบหุ้นที่จำเลยสั่งขายให้แก่โจทก์เพื่อส่งมอบแก่ผู้ซื้อภายใน 4 วัน แต่จำเลยไม่ส่งมอบให้ โจทก์จึงต้องเอาหุ้นที่โจทก์มีอยู่ในครอบครองส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อแล้วซื้อหุ้นใหม่มาทดแทนพฤติการณ์ดังกล่าวถือได้ว่าโจทก์ซึ่งเป็นตัวแทนต้องเสียหายเนื่องจากการขายหุ้นตามคำสั่งของจำเลยซึ่งเป็นตัวการ โจทก์จึงเรียกค่าเสียหายจากจำเลยได้ และความเสียหายของโจทก์เกิดขึ้นเมื่อชำระหนี้แทนจำเลย จึงต้องคิดค่าเสียหายตามราคาหุ้นในวันที่โจทก์มอบหุ้นให้แก่ผู้ซื้อ จะถือตามราคาหุ้นในวันที่โจทก์ซื้อหุ้นใหม่มาทดแทนหาได้ไม่
โจทก์มิใช่เป็นพ่อค้าตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (1) หรือ (7) แต่โจทก์เป็นตัวแทนเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยซึ่งเป็นตัวการตามมาตรา 816 วรรคท้าย ซึ่งกฎหมายมิได้กำหนดระยะเวลาให้ใช้บังคับสิทธิเรียกร้องไว้เป็นอย่างอื่นจึงมีอายุความ10 ปี ตามมาตรา 164
แม้ศาลชั้นต้นไม่อนุญาตให้จำเลยเลื่อนคดีเป็นเหตุให้จำเลยไม่ได้ถามค้าน ส. พยานโจทก์ แต่จำเลยก็ได้อ้างและนำส. เข้าเบิกความเป็นพยานจำเลย ทั้งเอกสารที่จำเลยประสงค์จะถามค้านก็มิใช่เอกสารสำคัญในการวินิจฉัยคดี จึงไม่จำเป็นต้องให้โอกาสจำเลยถามค้าน ส. อีก
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 798 เป็นบทบังคับเพื่อความสมบูรณ์ของสัญญาที่ตัวแทนทำต่อบุคคลภายนอกเท่านั้น มิได้ใช้บังคับสำหรับข้อพิพาทระหว่างตัวการกับตัวแทน มูลหนี้ตามสัญญาตัวแทนจึงไม่ตกอยู่ในบังคับของบทกฎหมายดังกล่าวเมื่อโจทก์เป็นตัวแทนจำเลยในการขายหุ้นจำเลยซึ่งเป็นตัวการจะต้องรับผิดต่อโจทก์ในการจัดทำกิจการที่จำเลยมอบหมายแม้การตั้งตัวแทนระหว่างจำเลยกับโจทก์จะไม่ได้ทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือก็ตาม
ข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยถูกกำหนดขึ้นเพื่อให้สมาชิกถือปฏิบัติ หากสมาชิกใดฝ่าฝืนก็อาจถูกลงโทษตามข้อบังคับดังกล่าวแต่ไม่ทำให้ความผูกพันระหว่างจำเลยกับโจทก์ในฐานะตัวการกับตัวแทนเสียไป
จำเลยมีหน้าที่ต้องส่งมอบหุ้นที่จำเลยสั่งขายให้แก่โจทก์เพื่อส่งมอบแก่ผู้ซื้อภายใน 4 วัน แต่จำเลยไม่ส่งมอบให้ โจทก์จึงต้องเอาหุ้นที่โจทก์มีอยู่ในครอบครองส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อแล้วซื้อหุ้นใหม่มาทดแทนพฤติการณ์ดังกล่าวถือได้ว่าโจทก์ซึ่งเป็นตัวแทนต้องเสียหายเนื่องจากการขายหุ้นตามคำสั่งของจำเลยซึ่งเป็นตัวการ โจทก์จึงเรียกค่าเสียหายจากจำเลยได้ และความเสียหายของโจทก์เกิดขึ้นเมื่อชำระหนี้แทนจำเลย จึงต้องคิดค่าเสียหายตามราคาหุ้นในวันที่โจทก์มอบหุ้นให้แก่ผู้ซื้อ จะถือตามราคาหุ้นในวันที่โจทก์ซื้อหุ้นใหม่มาทดแทนหาได้ไม่
โจทก์มิใช่เป็นพ่อค้าตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (1) หรือ (7) แต่โจทก์เป็นตัวแทนเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยซึ่งเป็นตัวการตามมาตรา 816 วรรคท้าย ซึ่งกฎหมายมิได้กำหนดระยะเวลาให้ใช้บังคับสิทธิเรียกร้องไว้เป็นอย่างอื่นจึงมีอายุความ10 ปี ตามมาตรา 164
แม้ศาลชั้นต้นไม่อนุญาตให้จำเลยเลื่อนคดีเป็นเหตุให้จำเลยไม่ได้ถามค้าน ส. พยานโจทก์ แต่จำเลยก็ได้อ้างและนำส. เข้าเบิกความเป็นพยานจำเลย ทั้งเอกสารที่จำเลยประสงค์จะถามค้านก็มิใช่เอกสารสำคัญในการวินิจฉัยคดี จึงไม่จำเป็นต้องให้โอกาสจำเลยถามค้าน ส. อีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2856/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฟังพยานหลักฐานฝ่าฝืนกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง, สัญญาตัวแทน, ค่าเสียหายจากการไม่ส่งมอบหุ้น, และอายุความ
แม้โจทก์จะอ้างพยานหลักฐานฝ่าฝืนต่อ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 90 วรรคแรก แต่จำเลยก็ไม่เสียเปรียบในเชิงคดีทั้ง มาตรา 87(2) ให้ศาล มีอำนาจรับฟังพยานหลักฐานที่ฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของมาตรา 90 ได้ ในกรณีที่ศาลเห็นว่าเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมจำเป็นจะต้องสืบพยานหลักฐานอันสำคัญซึ่งเกี่ยวกับประเด็นข้อสำคัญในคดี ฉะนั้นศาลจึงมีอำนาจใช้ดุลพินิจรับฟังพยานหลักฐานที่ฝ่าฝืนต่อกฎหมายดังกล่าวได้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 798 เป็นบทบังคับเพื่อความสมบูรณ์ของสัญญาที่ตัวแทนทำต่อบุคคลภายนอกเท่านั้นมิได้ใช้บังคับสำหรับข้อพิพาทระหว่างตัวการกับตัวแทนมูลหนี้ตามสัญญาตัวแทนจึงไม่ตกอยู่ในบังคับของบทกฎหมายดังกล่าวเมื่อโจทก์เป็นตัวแทนจำเลยในการขายหุ้นจำเลยซึ่งเป็นตัวการจะต้องรับผิดต่อโจทก์ในการจัดทำกิจการที่จำเลยมอบหมาย แม้การตั้งตัวแทนระหว่างจำเลยกับโจทก์จะไม่ได้ทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือก็ตาม ข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยถูกกำหนดขึ้นเพื่อให้สมาชิกถือปฏิบัติ หากสมาชิกใดฝ่าฝืนก็อาจถูกลงโทษตามข้อบังคับดังกล่าวแต่ไม่ทำให้ความผูกพันระหว่างจำเลยกับโจทก์ในฐานะตัวการกับตัวแทนเสียไป จำเลยมีหน้าที่ต้องส่งมอบหุ้นที่จำเลยสั่งขายให้แก่โจทก์เพื่อส่งมอบแก่ผู้ซื้อภายใน 4 วัน แต่จำเลยไม่ส่งมอบให้ โจทก์จึงต้องเอาหุ้นที่โจทก์มีอยู่ในครอบครองส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อแล้วซื้อหุ้นใหม่มาทดแทนพฤติการณ์ดังกล่าวถือได้ว่าโจทก์ซึ่งเป็นตัวแทนต้องเสียหายเนื่องจากการขายหุ้นตามคำสั่งของจำเลยซึ่งเป็นตัวการ โจทก์จึงเรียกค่าเสียหายจากจำเลยได้ และความเสียหายของโจทก์เกิดขึ้นเมื่อชำระหนี้แทนจำเลย จึงต้องคิดค่าเสียหายตามราคาหุ้นในวันที่โจทก์มอบหุ้นให้แก่ผู้ซื้อ จะถือตามราคาหุ้นในวันที่โจทก์ซื้อหุ้นใหม่มาทดแทนหาได้ไม่ โจทก์มิใช่เป็นพ่อค้าตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1) หรือ (7) แต่โจทก์เป็นตัวแทนเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยซึ่งเป็นตัวการตามมาตรา 816 วรรคท้าย ซึ่งกฎหมายมิได้กำหนดระยะเวลาให้ใช้บังคับสิทธิเรียกร้องไว้เป็นอย่างอื่นจึงมีอายุความ10 ปี ตามมาตรา 164 แม้ศาลชั้นต้นไม่อนุญาตให้จำเลยเลื่อนคดีเป็นเหตุให้จำเลยไม่ได้ถามค้าน ส. พยานโจทก์ แต่จำเลยก็ได้อ้างและนำส. เข้าเบิกความเป็นพยานจำเลย ทั้งเอกสารที่จำเลยประสงค์จะถามค้านก็มิใช่เอกสารสำคัญในการวินิจฉัยคดี จึงไม่จำเป็นต้องให้โอกาสจำเลยถามค้าน ส. อีก