พบผลลัพธ์ทั้งหมด 347 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7408/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรวมการพิจารณาคดี: ข้อพิพาทกรรมสิทธิ์ที่ดินกับละเมิด – ฟ้องแย้งไม่เกี่ยวเนื่อง
ตามคำฟ้องโจทก์เป็นเรื่องที่กล่าวหาว่าจำเลยสร้างรั้วคอนกรีตรุกล้ำเข้าไปในที่ดินที่พิพาทของโจทก์ตลอดแนวที่ดินด้านที่ติดกันกับที่ดินจำเลย จำเลยให้การปฏิเสธ อันเป็นการพิพาทเรื่องกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่พิพาทส่วนฟ้องแย้งของจำเลยเป็นเรื่องที่จำเลยกล่าวหาว่า โจทก์ใช้สิทธิปลูกห้องน้ำห้องส้วมบนที่ดินของตนเอง แต่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือเดือดร้อนรำคาญแก่จำเลยซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินที่ติดต่อกันอันเป็นการละเมิด ฟ้องแย้งของจำเลยจึงไม่เกี่ยวข้องกับฟ้องเดิมพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7408/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องแย้งต้องเกี่ยวข้องกับฟ้องเดิม ศาลไม่รับฟ้องแย้งเรื่องละเมิดหากไม่เกี่ยวเนื่องกับพิพาทกรรมสิทธิ์ที่ดิน
ตามคำฟ้องโจทก์เป็นเรื่องที่กล่าวหาว่าจำเลยสร้างรั้วคอนกรีตรุกล้ำเข้าไปในที่ดินที่พิพาทของโจทก์ตลอดแนวที่ดินด้านที่ติดกันกับที่ดินจำเลย จำเลยให้การปฏิเสธอันเป็นการพิพาทเรื่องกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่พิพาท ส่วนฟ้องแย้งของจำเลยเป็นเรื่องที่จำเลยกล่าวหาว่า โจทก์ใช้สิทธิปลูกห้องน้ำห้องส้วมบนที่ดินของตนเอง แต่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือเดือดร้อนรำคาญแก่จำเลยซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินที่ติดต่อกันอันเป็นการละเมิด ฟ้องแย้งของจำเลยจึงไม่เกี่ยวข้องกับฟ้องเดิมพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7222/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความประกันภัย: การแก้ไขฟ้องเพิ่มเติมค่าเสียหายจากบุคคลภายนอกไม่ทำให้ขาดอายุความ หากสิทธิเรียกร้องมีอยู่จริง
โจทก์ฟ้องคดีภายในกำหนดอายุความแล้ว อายุความจึงสะดุดหยุดลง การที่โจทก์แก้ไขเพิ่มเติมฟ้องโดยเรียกค่าเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอกตามกรมธรรม์ประกันภัยตามหลักฐานของสิทธิเรียกร้องที่มีอยู่เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลา 2 ปี แล้ว ไม่ทำให้คดีของโจทก์ในส่วนที่แก้ไขเพิ่มเติมฟ้องนั้น ขาดอายุความตาม ป.พ.พ.มาตรา 193/14 (2)
ตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับพิพาท จำเลยได้ระบุเรื่องความรับผิดต่อทรัพย์สินว่า บริษัทจะใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของผู้เอาประกันภัย ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมายเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก เนื่องจากอุบัติเหตุอันเกิดจากการใช้รถยนต์ในระหว่างระยะเวลาประกันภัยความรับผิดของบริษัทจะมีไม่เกินจำนวนเงินจำกัดความรับผิดที่ระบุไว้ในตารางแล้ว ดังนี้เมื่อเจ้าของรถยนต์บรรทุกซึ่งเป็นบุคคลภายนอกที่ถูกรถโจทก์ผู้เอาประกันภัยชนได้รับความเสียหาย และได้ฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากโจทก์จนได้มีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความ โดยโจทก์ยอมชำระเงินให้แก่ผู้นั้นและโจทก์ถูกบังคับคดีแล้ว ดังนี้ โจทก์ชอบที่จะใช้สิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัยได้ การที่โจทก์จะยังมิได้ชำระค่าเสียหายให้แก่บุคคลภายนอกหรือบุคคลภายนอกมิได้เข้ามาเรียกร้องต่อจำเลย ก็หาทำให้สิทธิเรียกร้องของโจทก์ตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปไม่ และศาลย่อมกำหนดค่าเสียหายในส่วนนี้เป็นเงินซึ่งไม่เกินกว่าจำนวนที่จำเลยจะต้องรับผิดต่อโจทก์ตามกรมธรรม์ประกันภัยนั้นได้
แม้เงื่อนไขตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับพิพาทกำหนดไว้ว่าผู้เอาประกันภัยจะต้องไม่ตกลงยินยอมเสนอหรือให้สัญญาว่าจะชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลใดโดยไม่ได้รับความยินยอมจากบริษัท เว้นแต่บริษัทมิได้จัดการต่อการเรียกร้องนั้นก็ตาม แต่คดีนี้จำเลยผู้รับประกันภัยได้ปฏิเสธความรับผิดตามกรมธรรม์ประกันภัยโดยสิ้นเชิงมาตั้งแต่ต้นก่อนที่โจทก์เรียกร้องจากจำเลย โดยจำเลยอ้างว่าได้ยกเลิกกรมธรรม์ไปแล้วตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุวินาศภัยรถยนต์ชนกันดังนั้น การที่โจทก์ได้ตกลงชดใช้ค่าเสียหายแก่บุคคลภายนอกอันเนื่องมาจากเหตุที่โจทก์ถูกบุคคลภายนอกฟ้องจึงหาเป็นการผิดเงื่อนไขข้อกำหนดตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวไม่
ตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับพิพาท จำเลยได้ระบุเรื่องความรับผิดต่อทรัพย์สินว่า บริษัทจะใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของผู้เอาประกันภัย ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมายเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก เนื่องจากอุบัติเหตุอันเกิดจากการใช้รถยนต์ในระหว่างระยะเวลาประกันภัยความรับผิดของบริษัทจะมีไม่เกินจำนวนเงินจำกัดความรับผิดที่ระบุไว้ในตารางแล้ว ดังนี้เมื่อเจ้าของรถยนต์บรรทุกซึ่งเป็นบุคคลภายนอกที่ถูกรถโจทก์ผู้เอาประกันภัยชนได้รับความเสียหาย และได้ฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากโจทก์จนได้มีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความ โดยโจทก์ยอมชำระเงินให้แก่ผู้นั้นและโจทก์ถูกบังคับคดีแล้ว ดังนี้ โจทก์ชอบที่จะใช้สิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัยได้ การที่โจทก์จะยังมิได้ชำระค่าเสียหายให้แก่บุคคลภายนอกหรือบุคคลภายนอกมิได้เข้ามาเรียกร้องต่อจำเลย ก็หาทำให้สิทธิเรียกร้องของโจทก์ตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปไม่ และศาลย่อมกำหนดค่าเสียหายในส่วนนี้เป็นเงินซึ่งไม่เกินกว่าจำนวนที่จำเลยจะต้องรับผิดต่อโจทก์ตามกรมธรรม์ประกันภัยนั้นได้
แม้เงื่อนไขตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับพิพาทกำหนดไว้ว่าผู้เอาประกันภัยจะต้องไม่ตกลงยินยอมเสนอหรือให้สัญญาว่าจะชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลใดโดยไม่ได้รับความยินยอมจากบริษัท เว้นแต่บริษัทมิได้จัดการต่อการเรียกร้องนั้นก็ตาม แต่คดีนี้จำเลยผู้รับประกันภัยได้ปฏิเสธความรับผิดตามกรมธรรม์ประกันภัยโดยสิ้นเชิงมาตั้งแต่ต้นก่อนที่โจทก์เรียกร้องจากจำเลย โดยจำเลยอ้างว่าได้ยกเลิกกรมธรรม์ไปแล้วตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุวินาศภัยรถยนต์ชนกันดังนั้น การที่โจทก์ได้ตกลงชดใช้ค่าเสียหายแก่บุคคลภายนอกอันเนื่องมาจากเหตุที่โจทก์ถูกบุคคลภายนอกฟ้องจึงหาเป็นการผิดเงื่อนไขข้อกำหนดตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7222/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความสะดุดหยุดเมื่อฟ้องคดี การแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องไม่ทำให้ขาดอายุความ สิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัย
โจทก์ฟ้องคดีภายในกำหนดอายุความแล้ว อายุความจึงสะดุดหยุดลง การที่โจทก์แก้ไขเพิ่มเติมฟ้องโดยเรียกค่าเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอกตามกรมธรรม์ประกันภัยตามหลักฐานของสิทธิเรียกร้องที่มีอยู่เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลา2 ปี แล้ว ไม่ทำให้คดีของโจทก์ในส่วนที่แก้ไขเพิ่มเติมฟ้องนั้น ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 193/14(2)
ตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับพิพาท จำเลยได้ระบุเรื่องความรับผิดต่อทรัพย์สินว่า บริษัทจะใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของผู้เอาประกันภัย ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมายเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก เนื่องจากอุบัติเหตุอันเกิดจากการใช้รถยนต์ในระหว่างระยะเวลาประกันภัยความรับผิดของบริษัทจะมีไม่เกินจำนวนเงินจำกัดความรับผิดที่ระบุไว้ในตารางแล้ว ดังนี้เมื่อเจ้าของรถยนต์บรรทุกซึ่งเป็นบุคคลภายนอกที่ถูกรถโจทก์ผู้เอาประกันภัยชนได้รับความเสียหาย และได้ฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากโจทก์จนได้มีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความ โดยโจทก์ยอมชำระเงินให้แก่ผู้นั้นและโจทก์ถูกบังคับคดีแล้ว ดังนี้ โจทก์ชอบที่จะใช้สิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัยได้ การที่โจทก์จะยังมิได้ชำระค่าเสียหายให้แก่บุคคลภายนอกหรือบุคคลภายนอกมิได้เข้ามาเรียกร้องต่อจำเลย ก็หาทำให้สิทธิเรียกร้องของโจทก์ตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปไม่ และศาลย่อมกำหนดค่าเสียหายในส่วนนี้เป็นเงินซึ่งไม่เกินกว่าจำนวนที่จำเลยจะต้องรับผิดต่อโจทก์ตามกรมธรรม์ประกันภัยนั้นได้
แม้เงื่อนไขตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับพิพาทกำหนดไว้ว่าผู้เอาประกันภัยจะต้องไม่ตกลงยินยอมเสนอหรือให้สัญญาว่าจะชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลใดโดยไม่ได้รับความยินยอมจากบริษัท เว้นแต่บริษัทมิได้จัดการต่อการเรียกร้องนั้นก็ตาม แต่คดีนี้จำเลยผู้รับประกันภัยได้ปฏิเสธความรับผิดตามกรมธรรม์ประกันภัยโดยสิ้นเชิงมาตั้งแต่ต้นก่อนที่โจทก์เรียกร้องจากจำเลย โดยจำเลยอ้างว่าได้ยกเลิกกรมธรรม์ไปแล้วตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุวินาศภัยรถยนต์ชนกัน ดังนั้น การที่โจทก์ได้ตกลงชดใช้ค่าเสียหายแก่บุคคลภายนอกอันเนื่องมาจากเหตุที่โจทก์ถูกบุคคลภายนอกฟ้องจึงหาเป็นการผิดเงื่อนไขข้อกำหนดตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวไม่
ตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับพิพาท จำเลยได้ระบุเรื่องความรับผิดต่อทรัพย์สินว่า บริษัทจะใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของผู้เอาประกันภัย ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมายเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก เนื่องจากอุบัติเหตุอันเกิดจากการใช้รถยนต์ในระหว่างระยะเวลาประกันภัยความรับผิดของบริษัทจะมีไม่เกินจำนวนเงินจำกัดความรับผิดที่ระบุไว้ในตารางแล้ว ดังนี้เมื่อเจ้าของรถยนต์บรรทุกซึ่งเป็นบุคคลภายนอกที่ถูกรถโจทก์ผู้เอาประกันภัยชนได้รับความเสียหาย และได้ฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากโจทก์จนได้มีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความ โดยโจทก์ยอมชำระเงินให้แก่ผู้นั้นและโจทก์ถูกบังคับคดีแล้ว ดังนี้ โจทก์ชอบที่จะใช้สิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัยได้ การที่โจทก์จะยังมิได้ชำระค่าเสียหายให้แก่บุคคลภายนอกหรือบุคคลภายนอกมิได้เข้ามาเรียกร้องต่อจำเลย ก็หาทำให้สิทธิเรียกร้องของโจทก์ตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปไม่ และศาลย่อมกำหนดค่าเสียหายในส่วนนี้เป็นเงินซึ่งไม่เกินกว่าจำนวนที่จำเลยจะต้องรับผิดต่อโจทก์ตามกรมธรรม์ประกันภัยนั้นได้
แม้เงื่อนไขตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับพิพาทกำหนดไว้ว่าผู้เอาประกันภัยจะต้องไม่ตกลงยินยอมเสนอหรือให้สัญญาว่าจะชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลใดโดยไม่ได้รับความยินยอมจากบริษัท เว้นแต่บริษัทมิได้จัดการต่อการเรียกร้องนั้นก็ตาม แต่คดีนี้จำเลยผู้รับประกันภัยได้ปฏิเสธความรับผิดตามกรมธรรม์ประกันภัยโดยสิ้นเชิงมาตั้งแต่ต้นก่อนที่โจทก์เรียกร้องจากจำเลย โดยจำเลยอ้างว่าได้ยกเลิกกรมธรรม์ไปแล้วตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุวินาศภัยรถยนต์ชนกัน ดังนั้น การที่โจทก์ได้ตกลงชดใช้ค่าเสียหายแก่บุคคลภายนอกอันเนื่องมาจากเหตุที่โจทก์ถูกบุคคลภายนอกฟ้องจึงหาเป็นการผิดเงื่อนไขข้อกำหนดตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7222/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความประกันภัย: การฟ้องภายในอายุความและแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องไม่ทำให้ขาดอายุความ
โจทก์ฟ้องคดีภายในกำหนดอายุความแล้ว อายุความจึงสะดุดหยุดลง การที่โจทก์แก้ไขเพิ่มเติมฟ้องโดยเรียกค่าเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอกตามกรมธรรม์ประกันภัยตามหลักฐานของสิทธิเรียกร้องที่มีอยู่เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลา2 ปี แล้ว ไม่ทำให้คดีของโจทก์ในส่วนที่แก้ไขเพิ่มเติมฟ้องนั้น ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 193/14(2)
ตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับพิพาท จำเลยได้ระบุเรื่องความรับผิดต่อทรัพย์สินว่า บริษัทจะใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของผู้เอาประกันภัย ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมายเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก เนื่องจากอุบัติเหตุอันเกิดจากการใช้รถยนต์ในระหว่างระยะเวลาประกันภัยความรับผิดของบริษัทจะมีไม่เกินจำนวนเงินจำกัดความรับผิดที่ระบุไว้ในตารางแล้ว ดังนี้เมื่อเจ้าของรถยนต์บรรทุกซึ่งเป็นบุคคลภายนอกที่ถูกรถโจทก์ผู้เอาประกันภัยชนได้รับความเสียหาย และได้ฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากโจทก์จนได้มีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความ โดยโจทก์ยอมชำระเงินให้แก่ผู้นั้นและโจทก์ถูกบังคับคดีแล้ว ดังนี้ โจทก์ชอบที่จะใช้สิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัยได้ การที่โจทก์จะยังมิได้ชำระค่าเสียหายให้แก่บุคคลภายนอกหรือบุคคลภายนอกมิได้เข้ามาเรียกร้องต่อจำเลย ก็หาทำให้สิทธิเรียกร้องของโจทก์ตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปไม่ และศาลย่อมกำหนดค่าเสียหายในส่วนนี้เป็นเงินซึ่งไม่เกินกว่าจำนวนที่จำเลยจะต้องรับผิดต่อโจทก์ตามกรมธรรม์ประกันภัยนั้นได้
แม้เงื่อนไขตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับพิพาทกำหนดไว้ว่าผู้เอาประกันภัยจะต้องไม่ตกลงยินยอมเสนอหรือให้สัญญาว่าจะชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลใดโดยไม่ได้รับความยินยอมจากบริษัท เว้นแต่บริษัทมิได้จัดการต่อการเรียกร้องนั้นก็ตาม แต่คดีนี้จำเลยผู้รับประกันภัยได้ปฏิเสธความรับผิดตามกรมธรรม์ประกันภัยโดยสิ้นเชิงมาตั้งแต่ต้นก่อนที่โจทก์เรียกร้องจากจำเลย โดยจำเลยอ้างว่าได้ยกเลิกกรมธรรม์ไปแล้วตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุวินาศภัยรถยนต์ชนกัน ดังนั้น การที่โจทก์ได้ตกลงชดใช้ค่าเสียหายแก่บุคคลภายนอกอันเนื่องมาจากเหตุที่โจทก์ถูกบุคคลภายนอกฟ้องจึงหาเป็นการผิดเงื่อนไขข้อกำหนดตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวไม่
ตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับพิพาท จำเลยได้ระบุเรื่องความรับผิดต่อทรัพย์สินว่า บริษัทจะใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของผู้เอาประกันภัย ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมายเพื่อความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก เนื่องจากอุบัติเหตุอันเกิดจากการใช้รถยนต์ในระหว่างระยะเวลาประกันภัยความรับผิดของบริษัทจะมีไม่เกินจำนวนเงินจำกัดความรับผิดที่ระบุไว้ในตารางแล้ว ดังนี้เมื่อเจ้าของรถยนต์บรรทุกซึ่งเป็นบุคคลภายนอกที่ถูกรถโจทก์ผู้เอาประกันภัยชนได้รับความเสียหาย และได้ฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากโจทก์จนได้มีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความ โดยโจทก์ยอมชำระเงินให้แก่ผู้นั้นและโจทก์ถูกบังคับคดีแล้ว ดังนี้ โจทก์ชอบที่จะใช้สิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัยได้ การที่โจทก์จะยังมิได้ชำระค่าเสียหายให้แก่บุคคลภายนอกหรือบุคคลภายนอกมิได้เข้ามาเรียกร้องต่อจำเลย ก็หาทำให้สิทธิเรียกร้องของโจทก์ตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปไม่ และศาลย่อมกำหนดค่าเสียหายในส่วนนี้เป็นเงินซึ่งไม่เกินกว่าจำนวนที่จำเลยจะต้องรับผิดต่อโจทก์ตามกรมธรรม์ประกันภัยนั้นได้
แม้เงื่อนไขตามกรมธรรม์ประกันภัยฉบับพิพาทกำหนดไว้ว่าผู้เอาประกันภัยจะต้องไม่ตกลงยินยอมเสนอหรือให้สัญญาว่าจะชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลใดโดยไม่ได้รับความยินยอมจากบริษัท เว้นแต่บริษัทมิได้จัดการต่อการเรียกร้องนั้นก็ตาม แต่คดีนี้จำเลยผู้รับประกันภัยได้ปฏิเสธความรับผิดตามกรมธรรม์ประกันภัยโดยสิ้นเชิงมาตั้งแต่ต้นก่อนที่โจทก์เรียกร้องจากจำเลย โดยจำเลยอ้างว่าได้ยกเลิกกรมธรรม์ไปแล้วตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุวินาศภัยรถยนต์ชนกัน ดังนั้น การที่โจทก์ได้ตกลงชดใช้ค่าเสียหายแก่บุคคลภายนอกอันเนื่องมาจากเหตุที่โจทก์ถูกบุคคลภายนอกฟ้องจึงหาเป็นการผิดเงื่อนไขข้อกำหนดตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7079/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขคำฟ้อง, ผลกระทบต่อการดำเนินคดี, และการบังคับคดีตามคำพิพากษาเดิม
วัตถุประสงค์ของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 179 ที่ให้โจทก์หรือจำเลยจะแก้ไขข้อหา ข้อต่อสู้ ข้ออ้าง หรือข้อเถียง อันกล่าวไว้ในคำฟ้องหรือคำให้การที่เสนอต่อศาลแต่แรกได้นั้น ก็เพื่อให้โอกาสแก่โจทก์หรือจำเลยแก้ไขข้อบกพร่องผิดพลาดที่มีอยู่ในคำฟ้องหรือคำให้การเพื่อให้มีความสมบูรณ์ คำฟ้องของโจทก์คดีนี้แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์และคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นแล้ว เป็นคำฟ้องที่บริบูรณ์ คำฟ้องของโจทก์เมื่ออ่านแล้วก็สามารถเข้าใจในคำฟ้องได้ดีอยู่แล้ว แม้ศาลชั้นต้นจะมีคำสั่งอนุญาตให้โจทก์แก้ฟ้องที่เป็นเพียงรายละเอียดได้หรือไม่ ก็ไม่ทำให้ข้อเท็จจริงหรือในที่สุดผลของคดีจะเปลี่ยนแปลงไปการที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่อนุญาตให้โจทก์แก้ไขคำฟ้องและให้ยกคำร้องเสียนั้นชอบแล้ว
จำเลยที่ 1 มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินแทนในส่วนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ครึ่งหนึ่ง จำเลยที่ 1 จึงมีฐานะเป็นตัวแทนของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับที่ดินของโจทก์ และโจทก์อยู่ในฐานะเป็นตัวการซึ่งมิได้เปิดเผยชื่อ การที่จำเลยที่ 1 ทำที่ดินไปขายฝากแก่สามีจำเลยที่ 2 ก็ต้องถือว่าโจทก์ยอมให้จำเลยที่ 1 ทำการออกหน้าเป็นตัวการในการขายฝากโจทก์จึงหาอาจจะทำให้เสื่อมเสียถึงสิทธิของสามีจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกอันเขามีต่อจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นตัวแทน และสามีจำเลยที่ 2 ขวนขวายได้มาแต่ก่อนที่จะรู้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไม่ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 806 การขายฝากที่จำเลยที่ 1 ทำไว้แก่สามีจำเลยที่ 2 จึงมีผลผูกพันกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนของโจทก์ด้วย
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการขายฝากที่ดินพิพาท เป็นการฟ้องร้องให้ได้ทรัพย์พิพาทคืนมาเป็นของโจทก์เป็นคดีมีทุนทรัพย์ แต่เมื่อศาลชั้นต้นสั่งว่า คดีพอวินิจฉัยได้จึงงดสืบพยานแล้วพิพากษาไปโดยข้อกฎหมาย เป็นการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อกฎหมายซึ่งทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 24 การที่โจทก์อุทธรณ์คำพิพากษาโดยขอให้ศาลชั้นต้นรับคำร้องขอแก้ไขคำฟ้องและสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไป จึงเป็นการอุทธรณ์ตามมาตรา 227 ซึ่งตาราง 1 ข้อ 2 ข.ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กำหนดให้เสียค่าขึ้นศาลเพียง 200 บาท แต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์อย่างคดีมีทุนทรัพย์จำนวน 200,000 บาท จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่โจทก์ และแม้ศาลอุทธรณ์พิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาใหม่ และจำเลยที่ 2 ฎีกาขอให้ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 และให้บังคับคดีไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง ก็เห็นได้ว่าเป็นคำขอให้จำเลยที่ 2 ชนะคดีในประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ดังข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นอันเป็นข้อกฎหมายนั่นเอง จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
จำเลยที่ 1 มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินแทนในส่วนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ครึ่งหนึ่ง จำเลยที่ 1 จึงมีฐานะเป็นตัวแทนของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับที่ดินของโจทก์ และโจทก์อยู่ในฐานะเป็นตัวการซึ่งมิได้เปิดเผยชื่อ การที่จำเลยที่ 1 ทำที่ดินไปขายฝากแก่สามีจำเลยที่ 2 ก็ต้องถือว่าโจทก์ยอมให้จำเลยที่ 1 ทำการออกหน้าเป็นตัวการในการขายฝากโจทก์จึงหาอาจจะทำให้เสื่อมเสียถึงสิทธิของสามีจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกอันเขามีต่อจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นตัวแทน และสามีจำเลยที่ 2 ขวนขวายได้มาแต่ก่อนที่จะรู้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไม่ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 806 การขายฝากที่จำเลยที่ 1 ทำไว้แก่สามีจำเลยที่ 2 จึงมีผลผูกพันกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนของโจทก์ด้วย
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการขายฝากที่ดินพิพาท เป็นการฟ้องร้องให้ได้ทรัพย์พิพาทคืนมาเป็นของโจทก์เป็นคดีมีทุนทรัพย์ แต่เมื่อศาลชั้นต้นสั่งว่า คดีพอวินิจฉัยได้จึงงดสืบพยานแล้วพิพากษาไปโดยข้อกฎหมาย เป็นการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อกฎหมายซึ่งทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 24 การที่โจทก์อุทธรณ์คำพิพากษาโดยขอให้ศาลชั้นต้นรับคำร้องขอแก้ไขคำฟ้องและสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไป จึงเป็นการอุทธรณ์ตามมาตรา 227 ซึ่งตาราง 1 ข้อ 2 ข.ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กำหนดให้เสียค่าขึ้นศาลเพียง 200 บาท แต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์อย่างคดีมีทุนทรัพย์จำนวน 200,000 บาท จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่โจทก์ และแม้ศาลอุทธรณ์พิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาใหม่ และจำเลยที่ 2 ฎีกาขอให้ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 และให้บังคับคดีไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง ก็เห็นได้ว่าเป็นคำขอให้จำเลยที่ 2 ชนะคดีในประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ดังข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นอันเป็นข้อกฎหมายนั่นเอง จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7079/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขคำฟ้อง, ผลผูกพันจากการขายฝาก, และค่าขึ้นศาลในคดีแพ่ง
วัตถุประสงค์ของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 179 ที่ให้โจทก์หรือจำเลยจะแก้ไขข้อหา ข้อต่อสู้ ข้ออ้าง หรือข้อเถียง อันกล่าวไว้ในคำฟ้องหรือคำให้การที่เสนอต่อศาลแต่แรกได้นั้น ก็เพื่อให้โอกาสแก่โจทก์หรือจำเลยแก้ไขข้อบกพร่องผิดพลาดที่มีอยู่ในคำฟ้องหรือคำให้การเพื่อให้มีความสมบูรณ์ คำฟ้องของโจทก์คดีนี้แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์และคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นแล้ว เป็นคำฟ้องที่บริบูรณ์ คำฟ้องของโจทก์เมื่ออ่านแล้วก็สามารถเข้าใจในคำฟ้องได้ดีอยู่แล้ว แม้ศาลชั้นต้นจะมีคำสั่งอนุญาตให้โจทก์แก้ฟ้องที่เป็นเพียงรายละเอียดได้หรือไม่ ก็ไม่ทำให้ข้อเท็จจริงหรือในที่สุดผลของคดีจะเปลี่ยนแปลงไปการที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่อนุญาตให้โจทก์แก้ไขคำฟ้องและให้ยกคำร้องเสียนั้นชอบแล้ว
จำเลยที่ 1 มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินแทนในส่วนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ครึ่งหนึ่ง จำเลยที่ 1 จึงมีฐานะเป็นตัวแทนของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับที่ดินของโจทก์ และโจทก์อยู่ในฐานะเป็นตัวการซึ่งมิได้เปิดเผยชื่อ การที่จำเลยที่ 1 ทำที่ดินไปขายฝากแก่สามีจำเลยที่ 2 ก็ต้องถือว่าโจทก์ยอมให้จำเลยที่ 1 ทำการออกหน้าเป็นตัวการในการขายฝากโจทก์จึงหาอาจจะทำให้เสื่อมเสียถึงสิทธิของสามีจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกอันเขามีต่อจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นตัวแทน และสามีจำเลยที่ 2 ขวนขวายได้มาแต่ก่อนที่จะรู้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไม่ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 806 การขายฝากที่จำเลยที่ 1 ทำไว้แก่สามีจำเลยที่ 2 จึงมีผลผูกพันกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนของโจทก์ด้วย
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการขายฝากที่ดินพิพาท เป็นการฟ้องร้องให้ได้ทรัพย์พิพาทคืนมาเป็นของโจทก์เป็นคดีมีทุนทรัพย์ แต่เมื่อศาลชั้นต้นสั่งว่า คดีพอวินิจฉัยได้จึงงดสืบพยานแล้วพิพากษาไปโดยข้อกฎหมาย เป็นการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อกฎหมายซึ่งทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 24 การที่โจทก์อุทธรณ์คำพิพากษาโดยขอให้ศาลชั้นต้นรับคำร้องขอแก้ไขคำฟ้องและสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไป จึงเป็นการอุทธรณ์ตามมาตรา 227 ซึ่งตาราง 1 ข้อ 2 ข.ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กำหนดให้เสียค่าขึ้นศาลเพียง 200 บาท แต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์อย่างคดีมีทุนทรัพย์จำนวน 200,000 บาท จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่โจทก์ และแม้ศาลอุทธรณ์พิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาใหม่ และจำเลยที่ 2 ฎีกาขอให้ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 และให้บังคับคดีไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง ก็เห็นได้ว่าเป็นคำขอให้จำเลยที่ 2 ชนะคดีในประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ดังข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นอันเป็นข้อกฎหมายนั่นเอง จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
จำเลยที่ 1 มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินแทนในส่วนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ครึ่งหนึ่ง จำเลยที่ 1 จึงมีฐานะเป็นตัวแทนของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับที่ดินของโจทก์ และโจทก์อยู่ในฐานะเป็นตัวการซึ่งมิได้เปิดเผยชื่อ การที่จำเลยที่ 1 ทำที่ดินไปขายฝากแก่สามีจำเลยที่ 2 ก็ต้องถือว่าโจทก์ยอมให้จำเลยที่ 1 ทำการออกหน้าเป็นตัวการในการขายฝากโจทก์จึงหาอาจจะทำให้เสื่อมเสียถึงสิทธิของสามีจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกอันเขามีต่อจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นตัวแทน และสามีจำเลยที่ 2 ขวนขวายได้มาแต่ก่อนที่จะรู้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไม่ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 806 การขายฝากที่จำเลยที่ 1 ทำไว้แก่สามีจำเลยที่ 2 จึงมีผลผูกพันกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนของโจทก์ด้วย
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการขายฝากที่ดินพิพาท เป็นการฟ้องร้องให้ได้ทรัพย์พิพาทคืนมาเป็นของโจทก์เป็นคดีมีทุนทรัพย์ แต่เมื่อศาลชั้นต้นสั่งว่า คดีพอวินิจฉัยได้จึงงดสืบพยานแล้วพิพากษาไปโดยข้อกฎหมาย เป็นการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อกฎหมายซึ่งทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 24 การที่โจทก์อุทธรณ์คำพิพากษาโดยขอให้ศาลชั้นต้นรับคำร้องขอแก้ไขคำฟ้องและสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไป จึงเป็นการอุทธรณ์ตามมาตรา 227 ซึ่งตาราง 1 ข้อ 2 ข.ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กำหนดให้เสียค่าขึ้นศาลเพียง 200 บาท แต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์อย่างคดีมีทุนทรัพย์จำนวน 200,000 บาท จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่โจทก์ และแม้ศาลอุทธรณ์พิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาใหม่ และจำเลยที่ 2 ฎีกาขอให้ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 และให้บังคับคดีไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง ก็เห็นได้ว่าเป็นคำขอให้จำเลยที่ 2 ชนะคดีในประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ดังข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นอันเป็นข้อกฎหมายนั่นเอง จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7079/2540 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขคำฟ้อง, ตัวแทน, การขายฝาก, และค่าขึ้นศาล: ผลกระทบต่อการพิจารณาคดี
วัตถุประสงค์ของ ป.วิ.พ.มาตรา 179 ที่ให้โจทก์หรือจำเลยจะแก้ไขข้อหา ข้อต่อสู้ ข้ออ้าง หรือข้อเถียง อันกล่าวไว้ในคำฟ้องหรือคำให้การที่เสนอต่อศาลแต่แรกได้นั้น ก็เพื่อให้โอกาสแก่โจทก์หรือจำเลยแก้ไขข้อบกพร่องผิดพลาดที่มีอยู่ในคำฟ้องหรือคำให้การเพื่อให้มีความสมบูรณ์ คำฟ้องของโจทก์คดีนี้ แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์และคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นแล้ว เป็นคำฟ้องที่บริบูรณ์ คำฟ้องของโจทก์เมื่ออ่านแล้วก็สามารถเข้าใจในคำฟ้องได้ดีอยู่แล้ว แม้ศาลชั้นต้นจะมีคำสั่งอนุญาตให้โจทก์แก้ฟ้องที่เป็นเพียงรายละเอียดได้หรือไม่ ก็ไม่ทำให้ข้อเท็จจริงหรือในที่สุดผลของคดีจะเปลี่ยนแปลงไปการที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่อนุญาตให้โจทก์แก้ไขคำฟ้องและให้ยกคำร้องเสียนั้นชอบแล้ว
จำเลยที่ 1 มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินแทนในส่วนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ครึ่งหนึ่ง จำเลยที่ 1 จึงมีฐานะเป็นตัวแทนของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับที่ดินของโจทก์ และโจทก์อยู่ในฐานะเป็นตัวการซึ่งมิได้เปิดเผยชื่อ การที่จำเลยที่ 1 นำที่ดินไปขายฝากแก่สามีจำเลยที่ 2 ก็ต้องถือว่าโจทก์ยอมให้จำเลยที่ 1 ทำการออกหน้าเป็นตัวการในการขายฝาก โจทก์จึงหาอาจจะทำให้เสื่อมเสียถึงสิทธิของสามีจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกอันเขามีต่อจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นตัวแทน และสามีจำเลยที่ 2 ขวนขวายได้มาแต่ก่อนที่จะรู้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไม่ ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 806 การขายฝากที่จำเลยที่ 1 ทำไว้แก่สามีจำเลยที่ 2 จึงมีผลผูกพันกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนของโจทก์ด้วย
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการขายฝากที่ดินพิพาท เป็นการฟ้องร้องให้ได้ทรัพย์พิพาทคืนมาเป็นของโจทก์เป็นคดีมีทุนทรัพย์ แต่เมื่อศาลชั้นต้นสั่งว่า คดีพอวินิจฉัยได้ จึงงดสืบพยานแล้วพิพากษาไปโดยข้อกฎหมาย เป็นการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อกฎหมายซึ่งทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่องตาม ป.วิ.พ.มาตรา 24 การที่โจทก์อุทธรณ์คำพิพากษาโดยขอให้ศาลชั้นต้นรับคำร้องขอแก้ไขคำฟ้องและสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไป จึงเป็นการอุทธรณ์ตามมาตรา 227 ซึ่งตาราง 1 ข้อ 2 ข. ท้าย ป.วิ.พ.กำหนดให้เสียค่าขึ้นศาลเพียง 200 บาทแต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์อย่างคดีมีทุนทรัพย์จำนวน 200,000 บาท จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่โจทก์ และแม้ศาลอุทธรณ์พิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาใหม่ และจำเลยที่ 2 ฎีกาขอให้ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 และให้บังคับคดีไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง ก็เห็นได้ว่าเป็นคำขอให้จำเลยที่ 2 ชนะคดีในประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ดังข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นอันเป็นข้อกฎหมายนั่นเอง จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
จำเลยที่ 1 มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินแทนในส่วนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ครึ่งหนึ่ง จำเลยที่ 1 จึงมีฐานะเป็นตัวแทนของโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับที่ดินของโจทก์ และโจทก์อยู่ในฐานะเป็นตัวการซึ่งมิได้เปิดเผยชื่อ การที่จำเลยที่ 1 นำที่ดินไปขายฝากแก่สามีจำเลยที่ 2 ก็ต้องถือว่าโจทก์ยอมให้จำเลยที่ 1 ทำการออกหน้าเป็นตัวการในการขายฝาก โจทก์จึงหาอาจจะทำให้เสื่อมเสียถึงสิทธิของสามีจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกอันเขามีต่อจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นตัวแทน และสามีจำเลยที่ 2 ขวนขวายได้มาแต่ก่อนที่จะรู้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไม่ ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 806 การขายฝากที่จำเลยที่ 1 ทำไว้แก่สามีจำเลยที่ 2 จึงมีผลผูกพันกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนของโจทก์ด้วย
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการขายฝากที่ดินพิพาท เป็นการฟ้องร้องให้ได้ทรัพย์พิพาทคืนมาเป็นของโจทก์เป็นคดีมีทุนทรัพย์ แต่เมื่อศาลชั้นต้นสั่งว่า คดีพอวินิจฉัยได้ จึงงดสืบพยานแล้วพิพากษาไปโดยข้อกฎหมาย เป็นการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อกฎหมายซึ่งทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่องตาม ป.วิ.พ.มาตรา 24 การที่โจทก์อุทธรณ์คำพิพากษาโดยขอให้ศาลชั้นต้นรับคำร้องขอแก้ไขคำฟ้องและสืบพยานโจทก์จำเลยต่อไป จึงเป็นการอุทธรณ์ตามมาตรา 227 ซึ่งตาราง 1 ข้อ 2 ข. ท้าย ป.วิ.พ.กำหนดให้เสียค่าขึ้นศาลเพียง 200 บาทแต่โจทก์เสียค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์อย่างคดีมีทุนทรัพย์จำนวน 200,000 บาท จึงต้องคืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่โจทก์ และแม้ศาลอุทธรณ์พิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาใหม่ และจำเลยที่ 2 ฎีกาขอให้ศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 และให้บังคับคดีไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นที่ให้ยกฟ้อง ก็เห็นได้ว่าเป็นคำขอให้จำเลยที่ 2 ชนะคดีในประเด็นอำนาจฟ้องของโจทก์ดังข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นอันเป็นข้อกฎหมายนั่นเอง จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6366/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขคำฟ้องต้องชัดเจนและระบุรายละเอียด หากไม่ชัดเจนศาลไม่รับพิจารณา
คำร้องขอแก้ไขคำฟ้องของโจทก์กล่าวว่า หลังจากจำเลยยื่นคำให้การแล้ว โจทก์ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงปรากฏว่าจำเลยนำที่ดินพิพาทซึ่งเป็นของโจทก์ไปออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์แล้วนำไปจดทะเบียนจำนองไว้แก่สหกรณ์การเกษตร และเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดินในเวลาต่อมาโดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมอันเป็นการออกเอกสารสิทธิทับที่ดินของโจทก์โดยไม่ชอบ โจทก์จึงขอแก้ไขคำฟ้องโดยการเพิ่มเติมข้อเท็จจริงดังกล่าวลงในคำฟ้องข้อ 1 และข้อ 2 กับขอเพิ่มเติมคำขอท้ายฟ้องว่าให้จำเลยจัดการแก้ไขรายการจดทะเบียนในโฉนดที่ดินพิพาทให้ปลอดจากการจำนอง แล้วจดทะเบียนโอนให้โจทก์ โดยโจทก์มิได้ระบุรายละเอียดว่าโจทก์จะขอเพิ่มเติมข้อเท็จจริงลงในคำฟ้องข้อ 1 หรือข้อ2 ตรงไหน เป็นคำร้องที่ไม่แจ้งชัด ไม่ชอบที่จะรับไว้พิจารณา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4969/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าขึ้นศาลคำสั่งชี้ขาดเบื้องต้น: การอุทธรณ์คำสั่งศาลไม่ใช่คดีมีทุนทรัพย์
ศาลชั้นต้นเห็นว่าคดีพอวินิจฉัยได้จึงให้งบสืบพยานโจทก์และจำเลยแล้ววินิจฉัยว่า โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องพิพากษายกฟ้อง เป็นการวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมาย อันทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 24การที่โจทก์อุทธรณ์ขอให้สืบพยานโจทก์จำเลยต่อไปจึงเป็นการอุทธรณ์คำสั่งตามมาตรา 227 ต้องเสียค่าขึ้นศาลเพียง 200 บาทตามตาราง 1 ข้อ 2 ข. ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมิใช่เสียตามทุนทรัพย์ที่พิพาท ศาลอุทธรณ์จดรายงานกระบวนพิจารณาสั่งให้ศาลชั้นต้นเรียกเก็บค่าขึ้นศาลจากโจทก์ตามทุนทรัพย์โดยไม่ชอบและเป็นเหตุให้โจทก์สำคัญผิดว่าโจทก์ต้องเสียค่าขึ้นศาลเพิ่มตามทุนทรัพย์ที่พิพาท โจทก์จึงยื่นคำร้องขอลดจำนวนทุนทรัพย์ที่เรียกร้องลง ดังนั้น การที่ศาลอุทธรณ์มีคำสั่งว่าโจทก์จะยื่นคำร้องขอลดจำนวนทุนทรัพย์ที่เรียกร้องในชั้นอุทธรณ์มิได้ ให้ยกคำร้องนั้นจึงเป็นการไม่ชอบเช่นกันปัญหานี้เป็นปัญหาอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้เอง