คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
พระธรรมนูญศาลยุติธรรม ม. 14 (5)

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 11 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7255/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เขตอำนาจศาลในคดีล้มละลาย: การฟ้องต้องยื่นต่อศาลที่มีภูมิลำเนาหรือธุรกิจของลูกหนี้
เมื่อมูลหนี้ที่โจทก์นำมาฟ้องจำเลยทั้งเจ็ด มิใช่หนี้ร่วมที่จำเลยทั้งเจ็ดต้องร่วมรับผิดต่อโจทก์ หากแต่เป็นหนี้ตามคำพิพากษาซึ่งจำเลยแต่ละคนจะต้องรับผิดต่อโจทก์มูลความแห่งคดีที่จำเลยทั้งเจ็ดจะต้องรับผิดต่อโจทก์ตามคำพิพากษา จึงเป็นการชำระหนี้ที่อาจแบ่งแยกจากกันได้ หาได้เกี่ยวข้องกันไม่ ดังนี้ โจทก์จะเสนอคำฟ้องจำเลยทั้งเจ็ดรวมมาในคดีเดียวกันมิได้
การที่ศาลชั้นต้นรับคำฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 4 ที่ 6 และที่ 7 ไว้พิจารณาโดยขัดต่อพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 150 ศาลชั้นต้นย่อมมีอำนาจสั่งเพิกถอนคำสั่งรับคำฟ้องจำเลยดังกล่าวอันเป็นกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบนั้นเสีย และมีคำสั่งใหม่เป็นไม่รับคำฟ้องจำเลยดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 27 ประกอบด้วยพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 153 และเมื่อความปรากฏต่อศาลชั้นต้นก่อนศาลชั้นต้นนัดสืบพยานโจทก์ การที่ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งให้เพิกถอนคำสั่งที่รับฟ้องเป็นไม่รับคำฟ้องสำหรับจำเลยที่ 1 ที่ 4 ที่ 6 และที่ 7 ถือไม่ได้ว่าศาลชั้นต้นได้ใช้ดุลพินิจยอมรับคดีสำหรับจำเลยดังกล่าว ซึ่งอยู่นอกเขตศาลชั้นต้นไว้พิจารณาพิพากษาตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 14(5)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7255/2540

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เขตอำนาจศาลคดีล้มละลาย: การฟ้องจำเลยหลายคนที่มีภูมิลำเนาต่างเขต
เมื่อมูลหนี้ที่โจทก์นำมาฟ้องจำเลยทั้งเจ็ด มิใช่หนี้ร่วมที่จำเลยทั้งเจ็ดต้องร่วมรับผิดต่อโจทก์ หากแต่เป็นหนี้ตามคำพิพากษาซึ่งจำเลยแต่ละคนจะต้องรับผิดต่อโจทก์มูลความแห่งคดีที่จำเลยทั้งเจ็ดจะต้องรับผิดต่อโจทก์ตามคำพิพากษา จึงเป็นการชำระหนี้ที่อาจแบ่งแยกจากกันได้ หาได้เกี่ยวข้องกันไม่ ดังนี้ โจทก์จะเสนอคำฟ้องจำเลยทั้งเจ็ดรวมมาในคดีเดียวกันมิได้
การที่ศาลชั้นต้นรับคำฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 4 ที่ 6 และที่ 7 ไว้พิจารณาโดยขัดต่อพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 150 ศาลชั้นต้นย่อมมีอำนาจสั่งเพิกถอนคำสั่งรับคำฟ้องจำเลยดังกล่าวอันเป็นกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบนั้นเสีย และมีคำสั่งใหม่เป็นไม่รับคำฟ้องจำเลยดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 27 ประกอบด้วยพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 153 และเมื่อความปรากฏต่อศาลชั้นต้นก่อนศาลชั้นต้นนัดสืบพยานโจทก์ การที่ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งให้เพิกถอนคำสั่งที่รับฟ้องเป็นไม่รับคำฟ้องสำหรับจำเลยที่ 1 ที่ 4 ที่ 6 และที่ 7 ถือไม่ได้ว่าศาลชั้นต้นได้ใช้ดุลพินิจยอมรับคดีสำหรับจำเลยดังกล่าว ซึ่งอยู่นอกเขตศาลชั้นต้นไว้พิจารณาพิพากษาตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 14(5)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7255/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เขตอำนาจศาลคดีล้มละลาย: การฟ้องต้องยื่นต่อศาลที่มีภูมิลำเนาหรือสถานที่ประกอบธุรกิจของลูกหนี้
เมื่อมูลหนี้ที่โจทก์นำมาฟ้องจำเลยทั้งเจ็ด มิใช่หนี้ร่วมที่จำเลยทั้งเจ็ดต้องร่วมรับผิดต่อโจทก์ หากแต่เป็นหนี้ตามคำพิพากษาซึ่งจำเลยแต่ละคนจะต้องรับผิดต่อโจทก์ มูลความแห่งคดีที่จำเลยทั้งเจ็ดจะต้องรับผิดต่อโจทก์ตามคำพิพากษาจึงเป็นการชำระหนี้ที่อาจแบ่งแยกจากกันได้ หาได้เกี่ยวข้องกันไม่ ดังนี้ โจทก์จะเสนอคำฟ้องจำเลยทั้งเจ็ดรวมมาในคดีเดียวกันมิได้
การที่ศาลชั้นต้นรับคำฟ้องจำเลยที่ 1 ที่ 4 ที่ 6 และที่ 7ไว้พิจารณาโดยขัดต่อ พ.ร.บ.ล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 150 ศาลชั้นต้นย่อมมีอำนาจสั่งเพิกถอนคำสั่งรับคำฟ้องจำเลยดังกล่าวอันเป็นกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบนั้นเสีย และมีคำสั่งใหม่เป็นไม่รับคำฟ้องจำเลยดังกล่าวได้ตามป.วิ.พ.มาตรา 27 ประกอบด้วย พ.ร.บ.ล้มละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 153และเมื่อความปรากฏต่อศาลชั้นต้นก่อนศาลชั้นต้นนัดสืบพยานโจทก์ การที่ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งให้เพิกถอนคำสั่งที่รับฟ้องเป็นไม่รับคำฟ้องสำหรับจำเลยที่ 1 ที่ 4 ที่ 6และที่ 7 ถือไม่ได้ว่าศาลชั้นต้นได้ใช้ดุลพินิจยอมรับคดีสำหรับจำเลยดังกล่าวซึ่งอยู่นอกเขตศาลชั้นต้นไว้พิจารณาพิพากษาตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรมมาตรา 14 (5)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6530/2538

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ผลผูกพันข้อตกลงการเสนอคดีต่อศาลแพ่งหลัง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม ป.วิ.พ. และดุลพินิจศาลในการวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้น
แม้ข้อตกลงตามสัญญาเช่าซื้อที่ว่า หากมีข้อพิพาทเกิดขึ้นเกี่ยวกับสัญญานี้ให้เสนอคดีต่อศาลแพ่ง จะไม่มีผลผูกพันคู่สัญญาอีกต่อไป เพราะได้มีการประกาศใช้ พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 12)พ.ศ.2534 ซึ่งเป็นผลให้มาตรา 7 แห่ง ป.วิ.พ.เดิม ถูกยกเลิกไปตั้งแต่วันที่ 28สิงหาคม 2534 แต่การที่ศาลแพ่งได้รับฟ้องของโจทก์ออกหมายเรียกส่งสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลยทั้งสอง และได้ดำเนินกระบวนพิจารณาต่อมาจนกระทั่งเสร็จการพิจารณา ย่อมถือได้ว่าศาลแพ่งได้ใช้ดุลพินิจยอมรับคดีนี้ไว้พิจารณาพิพากษาตามที่พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 14 (5) ให้อำนาจไว้แล้ว
การที่ศาลชั้นต้นจะวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นตาม ป.วิ.พ.มาตรา 24ไปทีเดียวหรือจะรอวินิจฉัยในคำพิพากษานั้น เป็นดุลพินิจของศาลชั้นต้น ทั้งข้อกฎหมายที่จำเลยขอให้วินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นนั้น แม้จะวินิจฉัยชี้ขาดก็ไม่เป็นคุณแก่จำเลย ดังนั้นที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งว่ายังไม่เห็นสมควรชี้ขาดในชั้นนี้ ให้รอไว้สั่งเมื่อมีคำพิพากษาจึงชอบด้วยกระบวนพิจารณาความแล้ว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6287/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจศาลแพ่งพิจารณาคดีนอกเขต: การใช้ดุลพินิจตามมาตรา 14(5) พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 14(5) บัญญัติว่าบรรดาคดีที่เกิดขึ้นนอกเขตศาลแพ่งนั้น จะยื่นฟ้องต่อศาลแพ่งก็ได้ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลพินิจของศาลแพ่งที่จะไม่ยอมรับพิจารณาพิพากษาคดีใดคดีหนึ่งที่ยื่นฟ้องเช่นนั้นได้คดีนี้ศาลแพ่งรับฟ้องและดำเนินกระบวนพิจารณาสืบพยานโจทก์จำเลยจนเสร็จแสดงให้เห็นว่า ศาลแพ่งใช้ดุลพินิจยอมรับพิจารณาพิพากษาคดีนี้ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรมมาตรา 14(5) แล้ว ศาลแพ่งจึงมีอำนาจพิจารณาพิพากษา

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6287/2538

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจศาลแพ่งในคดีนอกเขต: การใช้ดุลพินิจรับฟ้องตามมาตรา 14(5) พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรมมาตรา14(5)บัญญัติว่าบรรดาคดีที่เกิดขึ้นนอกเขตศาลแพ่งนั้นจะยื่นฟ้องต่อศาลแพ่งก็ได้ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลพินิจของศาลแพ่งที่จะไม่ยอมรับพิจารณาพิพากษาคดีใดคดีหนึ่งที่ยื่นฟ้องเช่นนั้นได้คดีนี้ศาลแพ่งรับฟ้องและดำเนินกระบวนพิจารณาสืบพยานโจทก์จำเลยจนเสร็จแสดงให้เห็นว่าศาลแพ่งใช้ดุลพินิจยอมรับพิจารณาพิพากษาคดีนี้ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรมมาตรา14(5)แล้วศาลแพ่งจึงมีอำนาจพิจารณาพิพากษา

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6287/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เขตอำนาจศาล: ศาลแพ่งมีอำนาจพิจารณาคดีนอกเขตได้ตามที่กฎหมายบัญญัติ หากศาลใช้ดุลพินิจรับฟ้อง
ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรมมาตรา14(5)บัญญัติว่าบรรดาคดีที่เกิดขึ้นนอกเขตศาลแพ่งนั้นจะยื่นฟ้องต่อศาลแพ่งก็ได้ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลพินิจของศาลแพ่งที่จะไม่ยอมรับพิจารณาพิพากษาคดีใดคดีหนึ่งที่ยื่นฟ้องเช่นนั้นได้คดีนี้ศาลแพ่งรับฟ้องและดำเนินกระบวนพิจารณาสืบพยานโจทก์จำเลยจนเสร็จแสดงให้เห็นว่าศาลแพ่งใช้ดุลพินิจยอมรับพิจารณาพิพากษาคดีนี้ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรมมาตรา14(5)แล้วศาลแพ่งจึงมีอำนาจพิจารณาพิพากษา

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6287/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจศาลแพ่งรับฟ้องคดีนอกเขตศาล: การใช้ดุลพินิจตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 14 (5) บัญญัติว่าบรรดาคดีที่เกิดขึ้นนอกเขตศาลแพ่งนั้น จะยื่นฟ้องต่อศาลแพ่งก็ได้ ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลพินิจของศาลแพ่งที่จะไม่ยอมรับพิจารณาพิพากษาคดีใดคดีหนึ่งที่ยื่นฟ้องเช่นนั้นได้คดีนี้ศาลแพ่งรับฟ้องและดำเนินกระบวนพิจารณาสืบพยานโจทก์จำเลยจนเสร็จแสดงให้เห็นว่า ศาลแพ่งใช้ดุลพินิจยอมรับพิจารณาพิพากษาคดีนี้ตามพระธรรมนูญ-ศาลยุติธรรม มาตรา 14 (5) แล้ว ศาลแพ่งจึงมีอำนาจพิจารณาพิพากษา

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3591/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องร่วมและการเริ่มนับอายุความคดีภาษีอากร กรณีโอนทรัพย์สินหลีกเลี่ยงหนี้
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทั้งสี่ร่วมกันทำนิติกรรมโอนขายหุ้นและที่ดินทำให้โจทก์ไม่สามารถยึดหุ้นและที่ดินของจำเลยที่ 1 มาชำระหนี้ค่าภาษีอากรแก่โจทก์อันเป็นการทำให้โจทก์เสียเปรียบ เท่ากับเป็นการกล่าวหาว่าจำเลยที่ 2 ถึงที่ 4ทำนิติกรรมร่วมกับจำเลยที่ 1 เพื่อช่วยให้จำเลยที่ 1 ไม่ต้องถูกยึดหุ้นและที่ดินมาชำระหนี้แก่โจทก์ ถือได้ว่าจำเลยทั้งสี่มีส่วนได้เสียในมูลความแห่งคดีตาม ป.วิ.พ.มาตรา 59 วรรคหนึ่ง จึงชอบที่โจทก์จะฟ้องจำเลยทั้งสี่ร่วมกันมาในคดีเดียวกันได้
ศาลแพ่งได้ประทับรับฟ้องคดีไว้แล้วรวมทั้งรับคำให้การจำเลยทั้งสี่ตลอดจนสืบพยานทั้งสองฝ่ายจนสิ้นกระบวนความ ย่อมแสดงให้เห็นว่าศาลแพ่งใช้ดุลพินิจยอมรับพิจารณาพิพากษาคดีนี้แล้วตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 14 (5)
โจทก์เป็นนิติบุคคลประเภทกรม มีอธิบดีเป็นผู้แทนรับผิดชอบงานราชการและเป็นผู้มีอำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์ แม้ ส.และ พ.เจ้าพนักงานของโจทก์จะทราบเรื่องที่จำเลยที่ 1 โอนขายหุ้นและที่ดินให้แก่จำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 ในเดือนมกราคม 2530 แต่บุคคลทั้งสองไม่ใช่ผู้แทนโจทก์ผู้มีอำนาจฟ้องคดี จึงยังไม่เริ่มนับอายุความ เมื่อปรากฏว่าอธิบดีของโจทก์ทราบเหตุที่จะขอให้เพิกถอนการโอนไม่เกิน1 ปี คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
จำเลยทั้งสี่ไม่ได้ให้การว่า ประมวลรัษฎากร มาตรา 12กำหนดช่องทางวิธีดำเนินการของโจทก์เกี่ยวกับภาษีอากรค้าง ให้สิทธิโจทก์ยึดทรัพย์จำเลยได้ หาใช่จำเลยเป็นหนี้ที่โจทก์มีอำนาจฟ้องร้องเรียกให้ชำระค่าภาษีอากรหรือฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการโอนเช่นคดีนี้ ข้อที่จำเลยทั้งสี่ฎีกาจึงเป็นข้อที่ไม่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3591/2538

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเพิกถอนการโอนหุ้นและที่ดินเพื่อหลีกเลี่ยงหนี้สิน ความรับผิดของกรรมการบริษัท และอายุความ
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่2ถึงที่4ทำนิติกรรมร่วมกับจำเลยที่1เพื่อช่วยให้จำเลยที่1ไม่ต้องถูกยึดหุ้นและที่ดินมาชำระหนี้ค่าภาษีอากรแก่โจทก์แม้จำเลยทั้งสี่ต่างเป็นนิติบุคคลดำเนินกิจการตามวัตถุประสงค์ของตนและสัญญาโอนหุ้นและที่ดินเป็นคนละฉบับก็เป็นเรื่องหลักฐานทางทะเบียนเท่านั้นถือได้ว่าจำเลยทั้งสี่มีส่วนได้เสียร่วมกันในมูลความแห่งคดีตามป.วิ.พ.มาตรา59วรรคหนึ่ง แม้คดีจะอยู่นอกเขตอำนาจศาลแพ่งโดยศาลแพ่งไม่เคยมีคำสั่งอนุญาตให้โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสี่ได้แต่ศาลแพ่งได้ประทับรับฟ้องคดีนี้ทั้งรับคำให้การจำเลยและสืบพยานทั้งสองฝ่ายจนสิ้นกระบวนความแสดงว่าศาลแพ่งใช้ดุลพินิจยอมรับพิจารณาพิพากษาคดีนี้แล้วตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรมมาตรา14(5) เมื่อจำเลยที่1ได้รับแจ้งการประเมินภาษีจากโจทก์และไม่ชำระภายในกำหนดถือว่าเป็นภาษีอากรค้างแม้จำเลยที่1จะอุทธรณ์การประเมินและฟ้องขอให้เพิกถอนการประเมินต่อศาลก็ตามการอุทธรณ์และการฟ้องก็ไม่เป็นการทุเลาการเสียภาษีเมื่อจำเลยที่1ไม่ชำระหนี้ภายในกำหนดจึงตกอยู่ในฐานะลูกหนี้ของโจทก์ตามจำนวนที่แจ้งการประเมินไปเมื่อจำเลยที่1ได้โอนหุ้นและที่ดินไปหลังจากได้รับแจ้งการประเมินแล้วโดยไม่มีเงินหรือทรัพย์สินเหลือพอจะชำระหนี้แก่โจทก์ได้ถือว่าจำเลยที่1ได้ทำนิติกรรมโดยรู้อยู่ว่าเป็นทางให้โจทก์เสียเปรียบและการที่จำเลยทั้งสี่มีสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกันทั้งยังเป็นบริษัทในเครือเดียวกันย่อมจะต้องรู้ถึงการทำนิติกรรมอันเป็นทางให้โจทก์เสียเปรียบด้วย โจทก์เป็นนิติบุคคลประเภทกรมมีอธิบดีเป็นผู้แทนและมีอำนาจฟ้องคดีแทนแม้นาย ส. และนาย พ. เจ้าพนักงานของโจทก์จะทราบเรื่องก่อนฟ้องเกิน1ปีแต่บุคคลทั้งสองก็ไม่ใช่ผู้แทนโจทก์ผู้มีอำนาจฟ้องคดีจึงยังไม่เริ่มนับอายุความ
of 2