คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
ป.พ.พ. ม. 456

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,139 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6450/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาซื้อขายที่ดินช่วงเวลาห้ามโอนเป็นโมฆะ แม้ส่งมอบการครอบครองก็ไม่ทำให้ได้สิทธิครอบครอง
ขณะที่โจทก์กับจำเลยทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกันนั้นยังอยู่ในระยะเวลาการห้ามโอนตามกฎหมายนิติกรรมการซื้อขายที่ดินระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงตกเป็นโมฆะเพราะฝ่าฝืนต่อกฎหมายและในกำหนดเวลาห้ามโอนนี้ย่อมไม่อาจส่งมอบการครอบครองแก่กันได้การส่งมอบการครอบครองในระยะเวลาการห้ามโอนตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวก็ถือเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายเช่นกันดังนี้แม้จะฟังว่าจำเลยส่งมอบการครอบครองให้แก่โจทก์แล้วโจทก์ก็ไม่ได้สิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทแต่อย่างใด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6450/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาซื้อขายที่ดินช่วงห้ามโอน: โมฆะและไร้สิทธิครอบครอง
ขณะที่โจทก์กับจำเลยทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกันนั้น ยังอยู่ในระยะเวลาการห้ามโอนตามกฎหมาย นิติกรรมการซื้อขายที่ดินระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงตกเป็นโมฆะ เพราะฝ่าฝืนต่อกฎหมาย และในกำหนดเวลาห้ามโอนนี้ย่อมไม่อาจส่งมอบการครอบครองแก่กันได้ การส่งมอบการครอบครองในระยะเวลาการห้ามโอนตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว ก็ถือเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายเช่นกัน ดังนี้ แม้จะฟังว่าจำเลยส่งมอบการครอบครองให้แก่โจทก์แล้ว โจทก์ก็ไม่ได้สิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทแต่อย่างใด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6450/2538

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาซื้อขายที่ดินช่วงห้ามโอนเป็นโมฆะ แม้มีการส่งมอบการครอบครองก็ไม่ทำให้เกิดสิทธิ
ขณะที่โจทก์กับจำเลยทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกันนั้นยังอยู่ในระยะเวลาการห้ามโอนตามกฎหมายนิติกรรมซื้อขายที่ดินระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงตกเป็นโมฆะเพราะฝ่าฝืนต่อกฎหมายและในกำหนดเวลาห้ามโอนนี้ย่อมไม่อาจส่งมอบการครอบครองแก่กันได้การส่งมอบการครอบครองในระยะเวลาการห้ามโอนตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวก็ถือเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายเช่นกันดังนี้แม้จะฟังว่าจำเลยส่งมอบการครอบครองให้แก่โจทก์แล้วโจทก์ก็ไม่ได้ครอบครองในที่ดินพิพาทแต่อย่างใด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6450/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ นิติกรรมซื้อขายที่ดินช่วงห้ามโอนเป็นโมฆะ แม้มีการส่งมอบการครอบครองก็ไม่ทำให้เกิดสิทธิ
ขณะที่โจทก์กับจำเลยทำสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกันนั้นยังอยู่ในระยะเวลาการห้ามโอนตามกฎหมาย นิติกรรมซื้อขายที่ดินระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงตกเป็นโมฆะ เพราะฝ่าฝืนต่อกฎหมาย และในกำหนดเวลาห้ามโอนนี้ย่อมไม่อาจส่งมอบการครอบครองแก่กันได้การส่งมอบการครอบครองในระยะเวลาการห้ามโอนตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว ก็ถือเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายเช่นกัน ดังนี้แม้จะฟังว่าจำเลยส่งมอบการครอบครองให้แก่โจทก์แล้ว โจทก์ก็ไม่ได้ครอบครองในที่ดินพิพาทแต่อย่างใด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5912/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาซื้อขายที่ดินย้อนหลัง: ความเกี่ยวโยงระหว่างคดีแพ่งและอาญาฐานโกงเจ้าหนี้
ประเด็นสำคัญในคดีแพ่งที่โจทก์ขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทระหว่างจำเลยทั้งสองซึ่งจะเป็นประเด็นที่ทำให้แพ้หรือชนะคดีนั้นมีอยู่ว่า จำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 2 ได้สมคบกันทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินพิพาทลงวันที่ย้อนหลังไปเพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยที่ 1 ขายที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 2 ก่อนขายให้โจทก์จริงหรือไม่ ถ้าเป็นการทำสัญญาย้อนหลังไปจริง จำเลยทั้งสองก็จะแพ้คดีแพ่ง ซึ่งเป็นประเด็นเดียวกันกับคดีอาญาที่โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสองว่าสมคบกันทำนิติกรรมโดยไม่สุจริตอันเป็นความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ เพราะในคดีอาญาดังกล่าวถ้าจำเลยทั้งสองสมคบกันทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินพิพาทฉบับดังกล่าว โดยเป็นการทำสัญญาย้อนหลังไปเพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยที่ 1 ขายที่ดินพิพาทให้จำเลยที่ 2 ก่อนขายให้โจทก์ การกระทำของจำเลยทั้งสองก็อาจจะเป็นความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ได้ จึงเป็นคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
คดีอาญาที่โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสองในข้อหาโกงเจ้าหนี้ ศาลวินิจฉัยว่าฟ้องโจทก์ขาดสาระสำคัญไม่ครบองค์ประกอบแห่งความผิดเพราะไม่ได้บรรยายในฟ้องว่าจำเลยทั้งสองกระทำไปโดยรู้อยู่แล้วว่าโจทก์ได้ใช้หรือจะใช้สิทธิเรียกร้องทางศาลให้ชำระหนี้ และตามคำบรรยายฟ้องการกระทำของจำเลยทั้งสองไม่เป็นความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ โดยมิได้ชี้ขาดว่าจำเลยทั้งสองสมคบกันทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินพิพาทลงวันที่ย้อนหลังไปเพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยที่ 1 ขายที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 2 ก่อนขายให้โจทก์หรือไม่ ในการพิพากษาคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาดังกล่าว ศาลย่อมมีอำนาจฟังข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าจำเลยทั้งสองสมคบกันทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินพิพาทลงวันที่ย้อนหลังหรือไม่ตามที่คู่ความนำสืบได้ ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 46

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5912/2538

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การสมคบกันทำสัญญาซื้อขายย้อนหลังเพื่อหลีกเลี่ยงการชำระหนี้ และผลกระทบต่อการเพิกถอนการจดทะเบียนสิทธิ
ประเด็นสำคัญในคดีแพ่งที่โจทก์ขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทระหว่างจำเลยทั้งสองซึ่งจะเป็นประเด็นที่ทำให้แพ้หรือชนะคดีนั้นมีอยู่ว่าจำเลยที่1และจำเลยที่2ได้สมคบกันทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินพิพาทลงวันที่ย้อนหลังไปเพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยที่1ขายที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่2ก่อนขายให้โจทก์จริงหรือไม่ถ้าเป็นการทำสัญญาย้อนหลังไปจริงจำเลยทั้งสองก็จะแพ้คดีแพ่งซึ่งเป็นประเด็นเดียวกันกับคดีอาญาที่โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสองว่าสมคบกันทำนิติกรรมโดยไม่สุจริตอันเป็นความผิดฐานโกงเจ้าหนี้เพราะในคดีอาญาดังกล่าวถ้าจำเลยทั้งสองสมคบกันทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินพิพาทฉบับดังกล่าวโดยเป็นการทำสัญญาย้อนหลังไปเพื่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยที่1ขายที่ดินพิพาทให้จำเลยที่2ก่อนขายให้โจทก์การกระทำของจำเลยทั้งสองก็อาจจะเป็นความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ได้จึงเป็นคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา คดีอาญาที่โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสองในข้อหาโกงเจ้าหนี้ศาลวินิจฉัยว่าฟ้องโจทก์ขาดสาระสำคัญไม่ครบองค์ประกอบแห่งความผิดเพราะไม่ได้บรรยายในฟ้องว่าจำเลยทั้งสองกระทำไปโดยรู้อยู่แล้วว่าโจทก์ได้ใช้หรือจะใช้สิทธิเรียกร้องทางศาลให้ชำระหนี้และตามคำบรรยายฟ้องการกระทำของจำเลยทั้งสองไม่เป็นความผิดฐานโกงเจ้าหนี้โดยมิได้ชี้ขาดว่าจำเลยทั้งสองสมคบกันทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินพิพาทลงวันที่ย้อนหลังไปเพื่อแสดงให้จำเลยที่1ขายที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่2ก่อนขายให้โจทก์หรือไม่ในการพิพากษาคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาดังกล่าวศาลย่อมมีอำนาจฟังข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าจำเลยทั้งสองสมคบกันทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินพิพาทลงวันที่ย้อนหลังหรือไม่ตามที่คู่ความนำสืบได้ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา46

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5473/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ นิติกรรมโมฆะ: สิทธิเรียกร้องทรัพย์สินพิจารณาจากลาภมิควรได้
นิติกรรมที่เป็นโมฆะนั้น กฎหมายมิได้บัญญัติถึงการให้คู่กรณีกลับคืนสู่ฐานะเดิม คู่กรณีจะมีสิทธิเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งนิติกรรมหรือสัญญาอย่างใดเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาตามลักษณะลาภมิควรได้อีกชั้นหนึ่ง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5473/2538

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ โมฆะของสัญญาซื้อขาย: สิทธิเรียกร้องนอกเหนือจากคืนสู่ฐานะเดิม พิจารณาตามลาภมิควรได้
นิติกรรมที่เป็นโมฆะนั้นกฎหมายมิได้บัญญัติถึงการให้คู่กรณีกลับคืนสู่ฐานะเดิมคู่กรณีจะมีสิทธิเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งนิติกรรมหรือสัญญาอย่างใดเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาตามลักษณะลาภมิควรได้อีกชั้นหนึ่ง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5317/2538

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาจะขายฝากมีผลบังคับใช้ได้หากมีเจตนาชัดเจน แม้จะยังไม่ได้จดทะเบียน และศาลสามารถบังคับคดีได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
สัญญาพิพาทมีข้อความระบุไว้ชัดตั้งแต่ชื่อของสัญญาตลอดจนข้อสัญญาทุกข้อว่าเป็นสัญญาจะขายฝาก เพียงแต่ไม่มีกำหนดเวลาว่าจะไปทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เมื่อใดเท่านั้น จึงไม่อาจถือได้ว่าเป็นสัญญาขายฝากเพราะตามสัญญาได้ระบุความรับผิดของทั้งสองฝ่ายไว้ในกรณีไม่ไปทำหนังสือและจดทะเบียนตามกำหนด แสดงถึงเจตนาของคู่สัญญาว่ามิได้มีเจตนาจะทำสัญญาขายฝาก หากแต่ต้องการให้เป็นเพียงสัญญาจะขายฝากซึ่งจะต้องได้มีการทำหนังสือจดทะเบียนกันให้ถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง จึงกำหนดหน้าที่ความรับผิดของคู่สัญญาไว้ ส่วนที่กำหนดเวลาไถ่คืนไว้ในสัญญานี้ด้วยก็เพื่อให้เป็นการแน่นอนว่า ถ้าได้ทำหนังสือจดทะเบียนโดยถูกต้องแล้วกำหนดเวลาไถ่คืนต้องเป็นไปตามนั้นทั้งโฉนดที่ดินที่จะขายฝากอยู่ที่บุคคลภายนอก จึงจำเป็นอยู่เองที่คู่กรณีจะต้องทำเป็นสัญญาจะขายฝากไว้ก่อน เมื่อได้โฉนดที่ดินมาแล้วจึงไปทำสัญญากันในภายหลัง ดังนั้นเมื่อสัญญาพิพาทมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อจำเลยฝ่ายที่ต้องรับผิดเป็นสำคัญแล้ว โจทก์ก็ฟ้องร้องให้บังคับคดีได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 วรรคสอง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5317/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาจะขายฝาก: เจตนาคู่สัญญาและผลบังคับคดี แม้ไม่มีกำหนดเวลาจดทะเบียน
สัญญาพิพาทมีข้อความระบุไว้ชัดตั้งแต่ชื่อของสัญญาตลอดจนข้อสัญญาทุกข้อว่าเป็นสัญญาจะขายฝาก เพียงแต่ไม่มีกำหนดเวลาว่าจะไปทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เมื่อใดเท่านั้น จึงไม่อาจถือได้ว่าเป็นสัญญาขายฝากเพราะตามสัญญาได้ระบุความรับผิดของทั้งสองฝ่ายไว้ในกรณีไม่ไปทำหนังสือและจดทะเบียนตามกำหนด แสดงถึงเจตนาของคู่สัญญาว่ามิได้มีเจตนาจะทำสัญญาขายฝากหากแต่ต้องการให้เป็นเพียงสัญญาจะขายฝากซึ่งจะต้องได้มีการทำหนังสือจดทะเบียนกันให้ถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง จึงกำหนดหน้าที่ความรับผิดของคู่สัญญาไว้ ส่วนที่กำหนดเวลาไถ่คืนไว้ในสัญญานี้ด้วยก็เพื่อให้เป็นการแน่นอนว่า ถ้าได้ทำหนังสือจดทะเบียนโดยถูกต้องแล้วกำหนดเวลาไถ่คืนต้องเป็นไปตามนั้น ทั้งโฉนดที่ดินที่จะขายฝากอยู่ที่บุคคล-ภายนอก จึงจำเป็นอยู่เองที่คู่กรณีจะต้องทำเป็นสัญญาจะขายฝากไว้ก่อน เมื่อได้โฉนด-ที่ดินมาแล้วจึงไปทำสัญญากันในภายหลัง ดังนั้นเมื่อสัญญาพิพาทมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อจำเลยฝ่ายที่ต้องรับผิดเป็นสำคัญแล้ว โจทก์ก็ฟ้องร้องให้บังคับคดีได้ตามป.พ.พ.มาตรา 456 วรรคสอง
of 114